29
ภาคผนวก

ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

90

ภาคผนวก

Page 2: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

91

ภาคผนวก ก แบบฟอร์มการบันทึกข้อมูลปริมาณรถเข้า-ออก

Page 3: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

92

ปริมาณรถยนต์ท่ีเข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

ประเภทรถ หมายเลข 1 คือประเภทรถเล็ก ได้แก่ รถกระบะ รถเก๋ง รถตู้ ประเภทรถ หมายเลข 2 คือประเภทรถใหญ่ ได้แก่ รถบัส รถบรรทุก

ตารางที่ 1 แบบฟอร์มส าหรับเก็บข้อมูลประเภทรถในแต่ละช่วงเวลา คันที่ ทะเบียนรถ ประเภทรถ หัวจ่ายท่ี เวลาเติม เวลาเติมเสร็จ เวลาจ่ายเงิน เวลาออก

1 2 3 4 5 6 7 8 9

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Page 4: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

93

ตารางที่ 2 เวลาเฉลี่ยของรถเล็กในการเข้ารับบริการจนจบขบวนการ

คันที่ ทะเบียนรถ ประเภทรถ เวลาเข้า เวรารอเติม (นาที)

เวลาเติม เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ เวลารอจ่ายเงิน

(นาที) เวลาจ่ายเงิน

เวลารอออก (นาที)

เวลาออก เวลาจ่าย+ออก

(นาที) เวลาเฉลี่ย(นาที)

1 2244 1 15.33 2 15.35 4 15.39 1 15.40 1 15.41 2 1

2 5439 1 15.36 2 15.38 5 15.43 0 15.43 1 15.44 1 0.5

3 2828 1 15.39 1 15.4 4 15.44 1 15.45 1 15.46 2 1

4 7838 1 15.35 3 15.38 4 15.42 1 15.43 1 15.44 2 1

5 4120 1 15.39 3 15.42 5 15.47 1 15.48 0 15.48 1 0.5

6 6200 1 15.52 3 15.55 4 15.59 1 16.00 1 16.01 2 1

7 7193 1 15.56 1 15.57 7 16.04 1 16.05 1 16.06 2 1

8 5843 1 16.05 2 16.07 5 16.12 1 16.13 1 16.14 2 1

9 1560 1 16.07 3 16.10 4 16.14 1 16.15 0 16.15 1 0.5

10 3315 1 16.06 1 16.07 5 16.12 1 16.13 0 16.13 1 0.5

11 5755 1 16.08 2 16.10 5 16.15 1 16.16 1 16.17 2 1

12 5575 1 16.10 2 16.12 6 16.18 1 16.19 1 16.20 2 1

13 6512 1 16.13 4 16.17 4 16.21 1 16.22 0 16.22 1 0.5

14 1867 1 16.25 4 16.29 5 16.34 1 16.35 1 16.36 2 1

15 6640 1 16.26 4 16.3 5 16.35 1 16.36 1 16.37 2 1

16 9587 1 16.29 5 16.34 5 16.39 1 16.4 0 16.4 1 0.5

17 6861 1 16.32 3 16.35 4 16.39 1 16.4 1 16.41 2 1

93

Page 5: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

94

ตารางที่ 2 (ต่อ)

คันที่ ทะเบียนรถ ประเภทรถ เวลาเข้า เวลารอเติม(นาที)

เวลาเติม เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ เวลารอจ่ายเงิน

(นาที) เวลาจ่ายเงิน

เวลารอออก(นาที)

เวลาออก เวลาจ่าย+ออก

(นาที) เวลาเฉลี่ย(นาที)

18 6861 1 16.33 2 16.35 6 16.41 1 16.42 1 16.43 2 1

19 5486 1 16.31 3 16.34 5 16.39 1 16.4 0 16.40 1 0.5

20 1576 1 16.32 3 16.35 5 16.40 2 16.42 2 16.44 4 2

21 8852 1 16.41 3 16.44 4 16.48 1 16.49 1 16.50 2 1

22 926 1 16.44 3 16.47 5 16.52 1 16.53 0 16.53 1 0.5

23 2792 1 16.49 4 16.53 4 16.57 1 16.58 1 16.59 2 1

24 603 1 16.51 1 16.52 6 16.58 1 16.59 0 16.59 1 0.5

25 2610 1 16.52 4 16.56 4 17.00 1 17.01 1 17.02 2 1

26 4325 1 16.56 1 16.57 5 17.02 2 17.04 2 17.06 4 2

27 4937 1 17.00 2 17.02 4 17.06 1 17.07 1 17.08 2 1

28 5477 1 17.07 3 17.10 4 17.14 2 17.16 2 17.18 4 2

29 7973 1 17.03 3 17.06 4 17.10 1 17.11 1 17.12 2 1

30 6868 1 17.03 4 17.07 5 17.12 2 17.14 2 17.16 4 2

94

Page 6: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

95

ตารางที่ 3 เวลาเฉลี่ยของรถใหญ่ในการเข้ารับบริการจนจบขบวนการ คันที่ ทะเบียนรถ ประเภทรถ เวลาเข้า

เวรารอเติม(นาที)

เวลาเติม เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ เวลารอจ่ายเงิน

(นาที) เวลา

จ่ายเงิน เวลารอออก(นาที)

เวลาออก เวลาจ่าย+ออก

(นาที) เวลาเฉลี่ย(นาที)

1 705903 2 15.03 3 15.06 10 15.16 2 15.18 2 15.2 4 2

2 701101 2 15.15 2 15.17 10 15.27 1 15.28 1 15.29 2 1

3 713710 2 15.08 3 15.11 12 15.23 1 15.24 1 15.25 2 1

4 798764 2 15.19 3 15.22 11 15.33 1 15.34 1 15.35 2 1

5 701002 2 15.2 3 15.23 11 15.34 1 15.35 1 15.36 2 1

6 799526 2 15.22 2 15.24 10 15.34 1 15.35 0 15.35 1 0.5

7 791778 2 15.23 3 15.26 11 15.37 1 15.38 0 15.38 1 0.5

8 791780 2 15.30 2 15.32 10 15.42 1 15.43 1 15.44 2 1

9 704862 2 15.29 3 15.32 10 15.42 2 15.44 2 15.46 4 2

10 795985 2 15.31 3 15.34 10 15.44 1 15.45 0 15.45 1 0.5

11 71252 2 15.45 1 15.46 8 15.54 1 15.55 0 15.55 1 0.5

12 10172 2 15.41 2 15.43 12 15.55 1 15.56 1 15.57 2 1

13 719296 2 15.42 3 15.45 12 15.57 1 15.58 1 15.59 2 1

14 851326 2 15.47 2 15.49 10 15.59 1 16.00 0 16.00 1 0.5

15 716274 2 15.49 2 15.51 10 16.01 1 16.02 1 16.03 2 1

16 702752 2 15.39 3 15.42 10 15.52 1 15.53 1 15.54 2 1

17 701640 2 15.49 3 15.52 8 16.00 1 16.01 1 16.02 2 1

95

Page 7: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

96

ตารางที่ 3 (ต่อ)

คันที่ ทะเบียนรถ ประเภทรถ เวลาเข้า เวรารอเติม(นาที)

เวลาเติม เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ เวลารอจ่ายเงิน

(นาที) เวลา

จ่ายเงิน เวลารอออก(นาที)

เวลาออก เวลาจ่าย+ออก

(นาที) เวลาเฉลี่ย(นาที)

18 6971 2 16.03 5 16.08 10 16.18 1 16.19 0 16.19 1 0.5

19 103737 2 16.15 2 16.17 11 16.28 1 16.29 1 16.30 2 1

20 717526 2 16.02 4 16.06 8 16.14 1 16.15 1 16.16 2 1

21 7768 2 16.08 3 16.11 10 16.21 1 16.22 0 16.22 1 0.5

22 799529 2 16.14 1 16.15 8 16.23 1 16.24 1 16.25 2 1

23 602074 2 16.16 1 16.17 15 16.32 1 16.33 1 16.34 2 1

24 707625 2 16.17 4 16.21 8 16.29 1 16.30 1 16.31 2 1

25 717990 2 16.22 3 16.25 10 16.35 1 16.36 0 16.36 1 0.5

26 799523 2 16.24 2 16.26 8 16.34 1 16.35 1 16.36 2 1

27 791767 2 16.29 6 16.35 10 16.45 1 16.46 1 16.47 2 1

28 799522 2 16.28 6 16.34 8 16.42 1 16.43 1 16.44 2 1

29 103097 2 16.34 4 16.38 10 16.48 1 16.49 1 16.50 2 1

30 709257 2 16.30 3 16.33 8 16.41 2 16.43 2 16.45 4 2

96

Page 8: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

97

รายงานแสดงรายละเอียดใบก ากับภาษีอย่างย่อ ประจ าวันที่: 1/11/2555 วันที่พิมพ์:12/12/2555 15:41:48

ตารางที่ 4 ตัวอย่างมูลค่าของการเติมของรถแต่ละประเภท

ล าดับที ่ วันท่ี- เวลา มูลค่าสินค้า ภาษี รวม 1 1/11/2555 0:11 882.28 61.76 944.04 2 1/11/2555 0:15 1,353.48 94.74 1,448.22 3 1/11/2555 0:17 1,243.90 87.07 1,330.97 4 1/11/2555 0:18 1,562.32 109.36 1,671.68 5 1/11/2555 0:19 1,215.32 85.07 1,300.39 6 1/11/2555 0:20 1,393.23 97.53 1,490.76 7 1/11/2555 0:20 596.42 41.75 638.17 8 1/11/2555 0:27 1,246.49 87.25 1,333.74 9 1/11/2555 0:29 1,426.33 99.84 1,526.17

10 1/11/2555 0:31 1,233.33 86.33 1,319.66 11 1/11/2555 0:39 752.37 52.67 805.04 12 1/11/2555 0:41 1,199.47 83.96 1,283.43 13 1/11/2555 1:05 1,007.64 70.54 1,078.18 14 1/11/2555 1:54 1,367.95 95.76 1,463.71 15 1/11/2555 1:55 9,336.45 653.55 9,990.00 16 1/11/2555 4:22 1,407.70 98.54 1,506.24 17 1/11/2555 4:23 1,335.86 93.51 1,429.37 18 1/11/2555 4:23 1,052.97 73.71 1,126.68 19 1/11/2555 4:24 1,423.43 99.64 1,523.07 20 1/11/2555 4:25 1,468.10 102.77 1,570.87

Page 9: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

98

ตารางที่ 5 ปริมาณรถเล็กที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี (ระหว่างเวลา 9.00 น. - 11.00 น.)

ประเภทรถ หมายเลข 1 คือประเภทรถเล็ก ได้แก่ รถกระบะ รถเก๋ง รถตู้ คันที ่

เวลาเข้า

ประเภทรถ

เวลงรอเติม(นาที)

เวลาเติม

เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ

จ่ายเงิน+ออก(นาที)

เวลาออก

1 7.00 1 4 7.04 4 7.08 2 7.10 2 7.00 1 5 7.05 5 7.10 3 7.13 3 7.02 1 8 7.10 4 7.14 2 7.16 4 7.02 1 11 7.13 4 7.17 3 7.20 5 7.03 1 14 7.17 5 7.22 2 7.24 6 7.11 1 10 7.21 4 7.25 2 7.27 7 7.18 1 7 7.25 7 7.32 3 7.35 8 7.19 1 8 7.27 5 7.32 3 7.35 9 7.26 1 10 7.36 4 7.40 2 7.42 10 7.29 1 6 7.35 5 7.40 2 7.42 11 7.37 1 5 7.42 5 7.47 3 7.50 12 7.37 1 6 7.43 6 7.49 3 7.52 13 7.48 1 7 7.55 4 7.59 2 8.01 14 7.39 1 14 7.53 5 7.58 2 8.00 15 7.48 1 14 8.02 5 8.07 2 8.09 16 7.47 1 14 8.01 5 8.06 2 8.08 17 8.00 1 10 8.10 4 8.14 2 8.15 18 8.04 1 5 8.09 6 8.15 3 8.18 19 8.12 1 3 8.15 5 8.20 2 8.22 20 8.15 1 3 8.18 5 8.23 2 8.25

Page 10: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

99

ตารางที่ 5 (ต่อ)

คันที ่

เวลาเข้า ประเภทรถ

เวลงรอเติม(นาที)

เวลาเติม เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ

จ่ายเงิน+ออก(นาที)

เวลาออก

21 8.15 1 8 8.23 4 8.27 3 8.30 22 8.18 1 7 8.25 5 8.30 3 8.33 23 8.20 1 11 8.31 4 8.35 2 8.37 24 8.27 1 7 8.34 6 8.40 2 8.42 25 8.29 1 9 8.38 4 8.42 3 8.45 26 8.38 1 5 8.43 5 8.48 2 8.50 27 8.37 1 9 8.46 4 8.50 2 8.52 28 8.39 1 12 8.51 4 8.55 2 8.57 29 8.42 1 11 8.53 4 8.57 2 8.59 30 8.46 1 11 8.57 5 9.02 2 9.04

รวม 254

142

70

ค่าเฉลี่ย 8 5 2

ค่า Min 3 4 2

ค่า Max 14 7 3

Page 11: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

100

ตารางที่ 6 ปริมาณรถใหญ่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี (ระหว่างเวลา 9.00 น. - 11.00 น.)

ประเภทรถ หมายเลข 2 คือประเภทรถใหญ่ ได้แก่ รถบัส รถบรรทุก คันที ่

ทะเบียนรถ

ประเภทรถ

เวลาเข้า

เวลารอเติม(นาที)

เวลาเติม เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ

จ่ายเงิน+ออก (นาที)

เวลาจ่ายเงิน

1 705903 2 9.00 5 9.05 15 9.20 2 9.22 2 701101 2 9.00 10 9.10 13 9.23 2 9.25 3 713710 2 9.01 10 9.11 19 9.30 2 9.32 4 798764 2 9.02 10 9.12 13 9.25 4 9.29 5 701002 2 9.03 10 9.13 21 9.34 3 9.37 6 799526 2 9.04 11 9.15 15 9.30 3 9.33 7 791778 2 9.05 12 9.17 17 9.34 3 9.37 8 791780 2 9.06 12 9.18 17 9.35 3 9.38 9 704862 2 9.08 12 9.20 15 9.35 3 9.38 10 795985 2 9.10 11 9.21 12 9.33 2 9.35 11 71252 2 9.10 13 9.23 14 9.37 3 9.40 12 10172 2 9.11 12 9.23 13 9.36 3 9.39 13 719296 2 9.12 12 9.24 13 9.37 3 9.40 14 851326 2 9.20 8 9.28 11 9.39 3 9.42 15 716274 2 9.21 9 9.30 12 9.42 3 9.45 16 702752 2 9.21 14 9.35 12 9.47 3 9.50 17 701640 2 9.21 11 9.32 13 9.45 3 9.48 18 6971 2 9.22 18 9.40 8 9.48 3 9.51 19 103737 2 9.23 12 9.35 14 9.49 2 9.51 20 717526 2 9.23 14 9.37 12 9.49 3 9.52

Page 12: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

101

ตารางที่ 6 (ต่อ)

คันที ่

ทะเบียนรถ

ประเภทรถ

เวลาเข้า

เวลารอเติม(นาที)

เวลาเติม เวลาเติม(นาที)

เวลาเติมเสร็จ

จ่ายเงิน+ออก (นาที)

เวลาจ่ายเงิน

21 7768 2 9.24 16 9.40 10 9.50 2 9.52 22 799529 2 9.30 15 9.45 10 9.55 2 9.57 23 602074 2 9.34 13 9.47 18 10.05 3 10.08 24 707625 2 9.35 16 9.51 19 10.10 3 10.13 25 717990 2 9.37 17 9.54 19 10.13 2 10.15 26 799523 2 9.40 15 9.55 20 10.15 3 10.18 27 791767 2 9.45 13 9.58 16 10.14 3 10.17 28 7717 2 9.47 17 10.04 10 10.14 3 10.17 29 4662 2 9.50 13 10.03 12 10.15 3 10.18 30 5787 2 9.55 18 10.13 15 10.28 2 10.30

รวม 379

428

82

ค่าฉลี่ย 19 12 4

ค่า Min 5 8 2

ค่า Max 18 21 4

Page 13: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

102

ภาคผนวก ข การวิเคราะห์เงินลงทุน

Page 14: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

103

1. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV) หมายถึง ผลต่างระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิตลอดอายุของโครงการกับเงินลงทุนเร่ิมแรก ณ อัตราผลตอบแทนที่ต้องการหรือต้นทุนของเงินทุนของโครงการ

มูลค่าปัจจุบัน (NPV) = มูลค่าปัจจุบันเงินสดรับ - มูลค่าปัจจุบันเงินสดจ่าย

เกณฑ์ในการตัดสินใจ - มูลค่าปัจจุบัน (NPV) มีค่าเป็น บวก จะยอมรับโครงการ - มูลค่าปัจจุบัน (NPV) มีค่าเป็น ลบ จะปฏิเสธรับโครงการ 2. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Present Value: PV)

C = Cost t = ระยะเวลา (ปีที่ 1-5)

จากตาราง มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทน = ผลตอบแทนในแต่ละปี x DF ในแต่ละปี มูลค่าปัจจุบันของต้นทุนค่าใช้จ่าย = ต้นทุนค่าใช้จ่ายในแต่ละปี x DF ในแต่ละปี

3. อัตราผลตอบแทนจากโครงการ (Internal Rate of Return: IRR) อัตราผลตอบแทนจากโครงการ (IRR) คือ อัตราผลตอบแทนที่ท าให้มูลค่าปัจจุบันของเงินสดรับสุทธิตลอดอายุโครงการมีค่าเท่ากับเงินสดจ่ายสุทธิลงทุนเร่ิมแรก หลักเกณฑ์ กิจการจะตอบรับโครงการลงทุน ถ้าอัตราผลตอบแทนจากโครงการ (IRR) มีค่ามากกว่าอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ (r) นั่นคือ ตอบรับโครงการลงทุนเมื่อ IRR > r วิธี IRR ใช้หลักเกณฑ์การเปรียบเทียบมูลค่าของเงิน 2 ประเภท คือ มูลค่าปัจจุบันของเงินสดรับสุทธิตลอดอายุโครงการกับเงินสดจ่ายสุทธิลงทุนเร่ิมแรก ณ จุดเวลาเดียวกัน ก าหนดให้

C0 เป็นเงินสดจ่ายสุทธิ งวดที่ 0 หรือเงินสดจ่ายสุทธิลงทุนเร่ิมแรก R1 , R2 , R3 , … .,Rn เป็นเงินสดรับสุทธิ ในงวดที่ 1,2,3, … , n ตามล าดับ P1 , P2 , P3 , … ., Pn เป็นมูลค่าปัจจุบันของเงินสดรับสุทธิ R1 , R2 , R3 , … ., Rn ตามล าดับ

เน่ืองจากการหามูลค่าปัจจุบันของเงินจ านวนหน่ึงในอนาคต ก็คือ การหาค่าของเงินจ านวนนั้นในอนาคตย้อนกลับมายังจุด ณ เวลาปัจจุบันซึ่งเปรียบเสมือนกับการหาเงินต้น P เมื่อทราบเงินรวม S ในการค านวณเร่ืองเงินรวม เงินต้นและดอกเบี้ย ดังนั้น การหามูลค่าปัจจุบันของเงินในอนาคตซึ่งคิดผลตอบแทนแบบทบต้น จึงสามารถค านวณได้โดยสูตร P = S (l+i)-n โดยที่ i คือ

PV =DF x 𝐶𝑡

Page 15: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

104

อัตราผลตอบแทนทบต้นต่องวด ซึ่งใช้เป็นอัตราคิดลด (discount rate) ค่าของเงิน และ n เป็นจ านวนงวด ดังนั้น มูลค่าปัจจุบันของเงินสดรับสุทธิ R1 ซึ่งมีอัตราคิดลดเท่ากับ i จึงค านวณได้จาก P 1 = R 1 (l+i) -1 และเน่ืองจากอัตราคิดลด i คืออัตราผลตอบแทนจากโครงการ (IRR) ดังนั้น จากแผนภาพ จะได้

C0 = P1 + P2 + P3 + … + Pn หรือ C0 = R1 (1 + IRR) -1 + R2 (1 + IRR) -2 + R3 (1 + IRR) -3 + … + Rn (1 + IRR) -n

4. อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit Cost ratio หรือ B/C ratio) เป็นการ วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างมูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทน กับมูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุนและค่าใช้จ่ายในโครงการ ถ้า B/C ratio มีค่ามากกว่า 1 แสดงว่าโครงการให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากับที่ลงทุนไป แต่ถ้าค่าน้อยกว่า 1 แสดงว่า ผลตอบแทนที่ได้รับจากโครงการไม่คุ้มกับเงินลงทุนที่เสียไป

B/C Ratio = มูลค่าปัจจุบนัของผลตอบแทน มูลค่าปัจจุบันของค่าใช้จ่าย

5. ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period = PB) เป็นวิธีหาว่าต้องใช้เวลานานเท่าไรจึงจะได้เงินรายได้เท่ากับเงินลงทุนที่จ่ายไป วิธีนี้เป็นการวัดอย่างง่ายใช้ได้รวดเร็วแต่ก็วัดอย่างคร่าว ๆ เพื่อหาความปลอดภัยของการลงทุนไม่อาจหาได้ว่าการลงทุนนั้นจะได้ก าไรมากน้อยเพียงใด ค านวณดังนี้

งวดระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนครั้งแรก

รายได้ต่อปี

6. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Present Value: PV)

C = Cost t = ระยะเวลา เช่น ปีที่ 1-5

มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทน = ผลตอบแทนในแต่ละปี x DF ในแต่ละปี มูลค่าปัจจุบันของต้นทุนค่าใช้จ่าย = ต้นทุนค่าใช้จ่ายในแต่ละปี x DF ในแต่ละปี

PV =DF x 𝐶𝑡

Page 16: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

105

ภาคผนวก ค การสร้างโมเดลด้วยโปรแกรม Arena 14

Page 17: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

106

การสร้างแบบจ าลองด้วยโปรแกรม Arena 14

ภาพที่ 1 ส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Arena 14

1. ส่วนที่ 1 Project bar ส่วนน้ีใช้ส าหรับมองหาหน่วยประกอบต่าง ๆ ซึ่งแต่ละหน่วยประกอบจะเรียนกว่า โมดูล (Module) โดยตัวหน่วยโมดูลนี้มีไว้ใช้ส าหรับสร้างแบบจ าลองสถานการณ์ โดยคุณลักษณะของหน่วยโมดูลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.1 หน่วยโครงสร้าง (Flowchart Module) เป็นหน่วยโมดูลที่ใช้ส าหรับจ าลองโครงสร้างขั้นตอนการท างานของระบบ 1.2 หน่วยตารางจัดการข้อมูล (Spreadsheet Module) เป็นหน่วยโมดูลที่ใช้ส าหรับจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่สามารถน ามาค านวณได้ หรือ ประมวลผลในตัวแบบจ าลอง 1.1 หน่วยโครงสร้าง (Flowchart Module)

1.1.1 Create Module เป็นหน่วยโครงสร้างใช้ส าหรับเร่ิมต้นสร้างวัตถุที่เราสนใจ (Entity) เข้ามาในแบบจ าลอง เช่น ชิ้นงานเข้ามาในระบบ โดยวัตถุที่เราสนใจจะถูกสร้างขึ้นโดยอาศัยแบบแผนตารางการมาถึงของวัตถุหรือช่วงเวลาระหว่างการมาถึงของวัตถุ เป็นข้อมูลใส่เข้าไปในหน่วยโครงสร้าง

Page 18: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

107

ภาพที่ 2 รูปแบบการ Create Module

1.1.2 Assign Module เป็นหน่วยโครงสร้างใช้ส าหรับก าหนดหน้าที่ให้ค่าตัวแปร (Variables),คุณสมบัติประจ าตัว (Attribute), ชนิดของวัตถุ (Entity Type), ภาพของวัตถุ (Entity Picture) หรือตัวแปรระบบอื่น ๆ (Other) โดยการก าหนดหน้าที่สามารถทได้หลายหน้าที่ในหน่วยโมดูลเดียวกัน หลังจากก าหนดหน้าที่ต่าง ๆ ให้วัตถุแล้ว ทุกวัตถุที่ผ่านออกจากโมดูลนี้จะมีทางออกทางเดียว

ภาพที่ 3 รูปแบบการ Assign Module

Page 19: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

108

1.1.3 Record Module เป็นหน่วยโครงสร้างส าหรับรวบรวมข้อมูลทางสถิติในแบบจ าลอง เช่น เก็บข้อมูลวัตถุที่เข้าสู่โมดูลนี้ บันทึกเวลาที่วัตถุอยู่ในระบบ บันทึกค่าช่วงเวลาห่างของวัตถุที่มาถึงโมดูล

ภาพที่ 4 รูปแบบการ Record Module ของรถแต่ละประเภท

1.1.4 Process Module เป็นหน่วยโครงสร้างที่ใช้แสดงกิจกรรม โดยกิจกรรมนั้นอาจหมายถึง การให้บริการลูกค้า ซึ่งกิจกรรมเหล่านั้นอาจจะต้องการใช้ทรัพยากรมากว่าหนึ่งตัว (Resource) หรือไม่ต้องการใช้ทรัพยากรเพื่อจัดการกับกิจกรรมนั้นก็ได้

Page 20: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

109

ภาพที่ 5 รูปแบบการ Process Module

1.1.5 Dispose Module เป็นหน่วยโครงสร้างที่ใช้จบการท างานของวัตถุที่สนใจ (Entity) วัตถุจะออกจากระบบแบบจ าลอง ณ จุดนี้และแสดงถึงการเสร็จสินการเก็บข้อมูลทางสถิติพื้นฐานของวัตถุตัวนั้น

ภาพท่ี 6 รูปแบบการ Dispose Module

1.2 หน่วยตารางจัดการข้อมูล (Spreadsheet Module) 1.2.1 Entity Spreadsheet Module เป็นหน่วยข้อมูลวัตถุ ใช้ส าหรับข้อมูลเร่ิมต้น

ให้วัตถุ เช่น ก าหนดวัตถุเคลื่อนไหว, ก าหนดข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนให้วัตถุ, ก าหนดต้นทุนในการเก็บรักษา เป็นต้น โดยหน่วยข้อมูล Entity จะถูกสร้างมาโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการสร้างหน่วย

Page 21: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

110

โมดูลโครงสร้าง Create ดังนั้นถ้าไม่มีการแก้ไขข้อมูลในโมดูล Entity นี้ ค่าต้นทุนต่าง ๆ บนโมดูล Entity จะมีค่าเป็น 0 และเมื่อมีการรันแบบจ าลองจะปรากฏ วัตถุรูปกระดาษ (Picture Report) เป็นภาพวัตถุเคลื่อนไหวอยู่ในระบบแบบจ าลอง

ภาพที่ 7 การก าหนดค่าหน่วยข้อมูล Entity Spreadsheet Module

1.2.2 Queue Spreadsheet Module เป็นหน่วยข้อมูลแถวคอย ใช้ส าหรับใส่ลักษณะการเลือกวัตถุจากแถวคอยเข้ารับบริการ โดยโมดูลนี้จะปรากฏขึ้นโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการสร้างหน่วยโครงสร้าง Process Module ด้วยปฏิบัติการ Size Delay Release หรือ Size Delay หรือเมื่อมีการสร้างหน่วยโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับแถวคอย

Page 22: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

111

ภาพที่ 8 การก าหนด Queue Spreadsheet

1.2.3 Resource Spreadsheet Module เป็นหน่วยข้อมูลทรัพยากร ใช้ส าหรับใส่

ข้อมูลให้กับทรัพยากร เช่น จ านวนของทรัพยากร ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น

ภาพที่ 9 ตารางการก าหนดเวลาท างานน าเข้า Resource Spreadsheet Module

1.2.4 Schedule Spreadsheet Module เป็นหน่วยข้อมูลแสดงตารางก าหนดเวลา

ให้กับทรัพยากรหรือวัตถุ โดยถ้าหน่วยข้อมูลนี้ท าหน้าที่ก าหนดตารางเวลาท างานให้กับทรัพยากร หน่วยข้อมูลนี้จะถูกเชื่อมโยงกับหน่วยโมดูลข้อมูลทรัพยากร Resource Spreadsheet Module แต่ถ้า

Page 23: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

112

หน่วยข้อมูลนี้ท าหน้าที่ก าหนดตารางการมาถึงให้กับวัตถุ หน่วยข้อมูลนี้จะถูกเชื่อมโยงกับโมดูล Create โดยกรณีประเภทของทรัพยากรเป็นแบบก าลังการผลิตไม่คงที่ โปรแกรม Arena จะอนุญาตให้ผู้สร้าง สร้างตารางก าหนดเวลาท างานให้ทรัพยากรได้ใน Schedule Spreadsheet Module เพราะบางคร้ังทรัพยากรไม่สามารถท างานได้ตลอดเวลา

ภาพที่ 10 การก าหนด ค่าการน าเข้าข้อมูลแบบ Schedule Spreadsheet

2. ส่วนที่ 2 Flowchart view เป็นส่วนที่ใช้แสดงการเชื่อมต่อของหน่วยโครงสร้าง (Flowchart Module) โดยส่วนนี้ใช้ส าหรับสร้างแบบจ าลองเพ่อแสดงกระบวนการท างานทั้งหมดของระบบ นอกจากนี้ส่วน Flowchart View ยังมีไว้ส าหรับสร้างภาพการเคลื่อนไหว (Animation) ให้กับระบบจ าลองสถานการณ์อีกด้วย

Page 24: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

113

ภาพที่ 11 โครงสร้างแบบจ าลองแสดงขบวนการท างานของระบบ

3. ส่วนที่ 3 Spreadsheet view เป็นส่วนที่ใช้ส าหรับใส่และแสดงข้อมูลต่าง ๆ ที่จ าเป็น

ส าหรับสร้างแบบจ าลอง ซึ่งแต่ละหน่วยตารางจัดการข้อมูล (Spreadsheet Module) ที่ถูกสร้างนี้ จะมีความสัมพันธ์กับหน่วยโครงสร้างเสมอ

Page 25: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

114

การก าหนดการรันโปรแกรม หลังจากสร้างแบบจ าลองโดยใช้โปรแกรม Arena เรียบร้อยแล้ว ให้บันทึกแบบจ าลอง แล้วก าหนดรูปแบบการรันโปรแกรม โดยไปที่ แถบเคร่ืองมือ Run >Setup > เลือกแถบ Replication Parameters จะปรากฏหน้าต่าง

ภาพที่ 12 การก าหนดขอบเขตการ Run Program

Page 26: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

115

รายงานผลลัพธ์จากโปรแกรม Arena โปรแกรม Arena จะรายงานผลลัพธ์แบ่งตามประเภทของชนิดทางสถิติ เมื่อการรันเสร็จสิ้น จะปรากฏรายงานผลลัพธ์ทางสถิติที่ต้องการ การอ่านรายงานจะรายงานตามรูปแบบที่ก าหนดใน Run Setup

ภาพที่ 13 รูปแบบรายงานจากการก าหนดจากการ Run Program โดยรายงานต่าง ๆ ที่ก าหนดส่วนมากจะก าหนดรูปแบบรายงานดังนี้

1. รายงานวัตถุ (Entity Report) รายงานค่าทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ (Entity) ซึ่งประกอบด้วย

Time(เวลา) Value Add Time (VA Time) คือมูลค่าเพิ่มเวลาเฉลี่ยต่อวัตถุ ซึ่งเกิดจากเวลาที่วัตถุท ากิจกรรมอันท าให้เกิดมูลค่า Non Value Add Time (NVA Time) คือ มูลค่าไม่เพิ่มเวลาโดยเฉลี่ยต่อวัตถุ ซึ่งเกิดจากวัตถุท ากิจกรรมอันท าให้ไม่เกิดมูลค่าเพิ่ม Wait Time คือ เวลาคอยรวมโดยเฉลี่ยต่อวัตถุ ซึ่งเกิดจากการที่วัตถุรอคอยก่อนเข้ารับบริการ ณ หน่วยงานต่าง ๆ และเกิดจากเวลาที่วัตถุท ากิจกรรมอันท าให้เกิดการรอคอย

Page 27: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

116

Total Time คือ เวลารวมทั้งหมดที่วัตถุอยู่ในระบบโดยเฉลี่ยต่อวัตถุ

ภาพที่ 14 การรายผลแบบ Entity Report

2. รายงานแถวคอย (Queue Report) รายงานค่าทางสถิติที่เกี่ยวข้องกระบวนการด าเนินงานที่มีการรอคอย เพื่อใช้ทรัพยากรและอุปกรณ์ล าเลียงในการด าเนินกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย

Waiting Time คือ เวลารอคอยเฉลี่ยต่อวัตถุของแต่ละหน่วยโมดูล ที่ท าให้เกิดจากการรอคอยก่อนเข้าหน่วยโมดูล ซึ่งจะมีผลลัพธ์เป็นหน่วยเวลาแยกออกมาในแต่ละโมดูล (หน่วยบริการ) Number of Waiting คือ จ านวนวัตถุที่คอยเฉลี่ยก่อนเข้าหน่วยโมดูลในแต่ละหน่วยบริการ ซึ่งจะมีผลลัพธ์เป็นจ านวนวัตถุแยกออกมาในแต่ละโมดูล (หน่วยบริการ)

Page 28: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

117

ภาพที่ 15 การรายผลแบบ Queues Report

3. รายงานทรัพยากร (Resource Report) เป็นรายงานการใช้ทรัพยากรทั้งหมดของระบบ ซึ่งประกอบด้วย

Number Busy คือ จ านวนหน่วยเฉลี่ยของทรัพยากรก าลังท างาน Number Scheduled คือ จ านวนหน่วยเฉลี่ยของทรัพยากรถูกก าหนดตารางเวลา Instantaneous Utilization คือ ค่าอรรถประโยชน์ของทรัพยากร แสดงสัดส่วนเฉลี่ย

เวลาในการท างานของทรัพยากรต่อเวลาที่ระบบมีทั้งหมด ผลลัพธ์นี้ใช้ในกรณีก าลังการผลิตคงที่ Scheduled Utilization คือ สัดส่วนเฉลี่ยเวลาในการท างานของทรัพยากรต่อเวลา ที่

ทรัพยากรตัวนั้นมีทั้งหมด ผลลัพธ์นี้จะใช้ในกรณีที่ทรัพยากรตัวนั้น มีก าลังการผลิตไม่คงที่ขึ้นกับตารางก าหนดเวลา แต่ในกรณีที่ทรัพยากรตัวนั้นมีก าลังการผลิตคงที่ ผลลัพธ์ที่ได้จาก Scheduled Utilization จะมีค่าเท่ากับผลลัพธ์ที่ได้จาก Instantaneous Utilization

Total Number Seized คือ จ านวนคร้ังที่ทรัพยากรถูกจองเรียกใช้

Page 29: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54920008/appendix.pdf · 92 ปริมาณรถยนต์ที่เข้าเติมก๊าซเอ็นจีวี

118

ภาพที่ 16 การรายผลแบบ Resources Report