91
การประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร ส่วนตาบลหนองแสง อาเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี พัทธนันท์ ประสารกก ปัญหาพิเศษนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา กรกฎาคม 2556 ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยบูรพา

2555 25 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54930146.pdf · 2018. 9. 18. · พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร

    ส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี

    พัทธนันท์ ประสารกก

    ปัญหาพิเศษนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

    วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา กรกฎาคม 2556

    ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยบูรพา

  • ประกาศคุณูปการ การศึกษาเร่ืองการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ส าเร็จลงได้ด้วย ความกรุณาจากหลายท่านที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ให้ความช่วยเหลืออย่างดียิ่ง โดยเฉพาะ อาจารยส์ุปราณี ธรรมพิทักษ์ อาจารย์ชิตพล ชัยมะดัน และอาจารยว์ัลลภ ศัพท์พันธุ์ อาจารย์ที่ปรึกษาในการจัดท าปัญหาพิเศษที่ให้กรอบแนวคิด แนวทางในการศึกษา ค าแนะน า ได้ช่วยเหลือเสนอแนะ และแก้ไขปัญหาในทุก ๆ ด้าน ของการท าปัญหาพิเศษ ส่งผลให้การศึกษาส าเร็จลุล่วงไปด้วยดีซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาคร้ังนี้เป็นย่างดียิ่งผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบคุณอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณคณาจารย์ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณาจารย์อื่น ๆทุกท่านที่ให้กรุณาประสิทธิประสาทวิชา อ านวยความสะดวกในการศึกษาจนผู้ศึกษามีความรู้น ามาใช้ในการท าปัญหาพิเศษคร้ังนี้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณประชาชนในเขตต าบลหนองแสง ทุกท่านที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ในการให้ข้อมูลตอบแบบสอบถามในคร้ังนี้ ผลการศึกษาที่ได้จะน าไปเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในเขตต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ต่อไป สุดท้ายนี้ ขอมอบคุณความดีทั้งหมดของปัญหาพิเศษเล่มนี้ แด่บิดา มารดา สามี ลูก ๆ ที่เป็นก าลังใจและผู้มีพระคุณทุกท่านที่ท าให้มีความส าเร็จในวันนี้

    พัทธนันท์ ประสารกก

  • 54930146: สาขาวิชา: การบริหารทั่วไป; รป.ม. (การบริหารทั่วไป) ค าส าคัญ: การประเมินผลโครงการ/ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด/ กิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) พัทธนันท์ ประสารกกการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี (THE EVALUATION OF DRUG PREVENTION AND RESOLUTIUN PROJECT FOR THE ACTIVITY of DRUG COMBATING COORDINATORS (25 TA SAPPAROD) IN FISCAL YEAR 2012 OF NONG SAENG SUB-DISTRICT ADMINISTRATIVE ORGANIZATION, PRACHANTAKHAM DISTRICT PRACHIN BURI PROVINCE). อาจารย์ผู้ควบคุมปัญหาพิเศษ: วัลลภ ศัพท์พันธุ์, ปร.ดง., 81 หน้า. ปี พ.ศ. 2556. การศึกษาเรื่องการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกจิกรรมผูป้ระสานงานพลังแผน่ดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบรหิารส่วนต าบล หนองแสง อ าเภอประจันตคาม จงัหวัดปราจีนบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลและศึกษาปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะในการด าเนินการโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผูป้ระสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบรหิารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจนัตคาม จังหวัดปราจนีบุรี โดยศึกษาจากกลุ่มประชากรคือผู้เกี่ยวข้องในการด าเนนิการโครงการได้แก่ผู้บริหารและเจ้าหน้าทีผู่้รับผิดชอบโครงการ จ านวน 7 คน ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน หมูบ่้านละ 25 คน จ านวน 6 หมู่บ้าน รวมทัง้สิ้น 157 คนโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์้อมูลด้วย ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ระดับความเหมาะสม/ สอดคล้องการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลงัแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบรหิารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจนัตคาม จังหวัดปราจนีบุร ีโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้นพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคอื ด้านสภาวะแวดล้อม รองลงมาคือ ด้านปจัจัยน าเข้า และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุดคือด้านผลผลิต ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ พบว่า ด้านผลผลิต (Product) ใหด้ าเนินการโครงการอย่างต่อเนื่อง จริงจัง เข้าถึงชุมชนให้มากขึน้ มีมาตรการในการจับกุมผูค้้าและผูเ้สพ ที่เข้มงวด ควรเปิดโอกาสใหแ้ต่ละครอบครัวในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมป้องกนัและแก้ไข ด้านกระบวนการ (Process) ให้มีการฝึกอบรมอบรมด้านบทบาทหน้าที่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชน เช่น วิธีการด าเนินงาน งบประมาณ รวมถึงแนะน าวิธีการที่จะช่วยในการสอดส่องดูแล เยาวชนในหมูบ่้าน ด้านปจัจัยน าเข้า (Input) ควรมีเบี้ยเลี้ยงให้กับผูป้ฏบิัติงานและควรก าหนดตั้งจดุตรวจให้มากขึน้และสุดท้ายด้านสภาวะแวดล้อม (Context) ให้ม ีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องทุกป ี

  • 54930146: MAJOR: GENERAL ADMINISTRATION; M.PA. (GENERAL ADMINISTRATION) KEYWORDS: PROJECT EVALUATION/ DRUG PREVENTION AND RESOLUTION PROJECT/ ACTIVITY OF DRUG COMBATING COORDINATOR (25 TA SAPPAROD) PUTTANUN PRASANKOK: THE EVALUATION OF DRUG PREVENTION AND RESOLUTIUN PROJECT FOR THE ACTIVITY of DRUG COMBATING COORDINATORS (25 TA SAPPAROD) IN FISCAL YEAR 2012 OF NONG SAENG SUB-DISTRICT ADMINISTRATIVE ORGANIZATION, PRACHANTAKHAM DISTRICT PRACHIN BURI PROVINCE. ADVISOR: VALLOP SUPPAN, PhD., 81 P., YEAR 2013. This study aims to evaluate and to examine problems and suggestions for operation of drug prevention and resolution project for the activity of drug combating coordinators (25 Ta Sapparod) of fiscal year 2012 of Nong Saeng Sub-district Administrative Organization, Prachantakham District, Prachin Buri Province. The population is consisted of 157 participants including 7 project managers and 25 drug combating coordinators from each village (6 villages). Questionnaire is used as data collecting tool, and statistics used for data analysis are frequency, percentage, mean, and standard deviation. The findings show that appropriateness/ accordance of the project is rated high. When considering the mean of each aspect, the mean of context is the highest followed by those of input and of product. The problem is found in the aspect of product. The suggestions are that the project should be held constantly and seriously, and it should get closer to the community. The measure for arresting the seller and user should be stricter. Participation of the families in the community should be called. For the aspect of process, training on roles and publication of operation method, budget management, and monitoring method should be conducted. For the aspect of input, there should be allowance provided for operators; also, there should be more inspecting stations. For the aspect of context, the practice should be conducted constantly and annually.

  • สารบัญ

    หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ................................................................................................................... ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ .............................................................................................................. จ สารบัญ ..................................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง ........................................................................................................................... ซ สารบัญภาพ .............................................................................................................................. ญ บทที่ 1 บทน า .................................................................................................................................. 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา.................................................................... 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย ..................................................................................... 3 กรอบแนวคิดในการวิจัย ........................................................................................... 3 ขอบเขตการวิจัย ........................................................................................................ 4 นิยามศัพท์เฉพาะ ....................................................................................................... 6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ....................................................................................... 7 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ............................................................................. 8 ทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมินผล ................................................................................... 8 แนวคิดรูปแบบการประเมินผลโครงการ ................................................................ 9 แนวคิดเกี่ยวกับโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 กรณีศกึษากิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ............ 17 ข้อมูลทั่วไปขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง .............................................. 21 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง .................................................................................................... 24 3 วิธีด าเนินการวิจัย ................................................................................................................ 34 วิธีการวิจัย ................................................................................................................. 34 วิธีการศึกษา .............................................................................................................. 34 ประชากร .................................................................................................................. 35 เคร่ืองมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล .......................................................................... 35 การทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ ............................................................................. 36

  • สารบัญ (ต่อ)

    บทที่ หน้า การเก็บรวบรวมข้อมูล .............................................................................................. 37 การวิเคราะห์ข้อมูล .................................................................................................... 37 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล................................................................................. 38

    4 ผลการวิจัย ......................................................................................................................... 39 ตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มประชากร ............................................. 36 ตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมินผลการด าเนินงานโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงาน พลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอ ประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ในประเด็นสภาวะแวดล้อม (Context) ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product) .............................................. 42 ตอนที่ 3 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของประชากร ........................................ 47 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ................................................................................... 49 สรุปผลการวิจัย ......................................................................................................... 49 อภิปรายผลการวิจัย ................................................................................................... 52 ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................. 54 บรรณานุกรม ............................................................................................................................. 57 ภาคผนวก .................................................................................................................................. 60 ภาคผนวก ก รายละเอียดโครงการ ............................................................................ 61

    ภาคผนวก ข ภาพแสดงการด าเนินการโครงการ ....................................................... 65 ภาคผนวก ค แบบสอบถาม ....................................................................................... 72

    ภาคผนวก ง ผลค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม .................................................... 79 ประวัติย่อของผู้วิจัย ................................................................................................................... 81

  • สารบัญตาราง

    ตารางที่ หน้า 1 แผนงานในการด าเนินกิจกรรม ..................................................................................... 20 2 จ านวนและร้อยละของกลุ่มประชากร จ าแนกตามเพศ .................................................. 39 3 จ านวนและร้อยละของกลุ่มประชากร จ าแนกตามอายุ .................................................. 40 4 จ านวนและร้อยละของกลุ่มประชากร จ าแนกตามระดับการศึกษา ............................... 40 5 จ านวนและร้อยละของกลุ่มประชากร จ าแนกตามอาชีพ ............................................... 41 6 จ านวนและร้อยละของกลุ่มประชากร จ าแนกตามรายได้ต่อเดือน ................................ 41 7 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความเหมาะสม/ สอดคล้อง การประเมินผล โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ใน ส่วนของกิจกรรม ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร ส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ด้านสภาวะแวดล้อม

    (Context) ........................................................................................................................ 42 8 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความเหมาะสม/ สอดคล้อง การประเมินผล โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ใน ส่วนของกิจกรรม ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร ส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ด้านปัจจัยน าเข้า (Input) ............................................................................................................................ 43 9 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความเหมาะสม/ สอดคล้อง การประเมินผล โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ใน ส่วนของกิจกรรม ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร ส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ด้านกระบวนการ (Process) ......................................................................................................................... 45 10 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความเหมาะสม/ สอดคล้อง การประเมินผล โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ใน ส่วนของกิจกรรม ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร ส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ด้านผลผลิต (Product) ..................................................................................................................... 46

  • สารบัญตาราง (ต่อ)

    ตารางที่ หน้า 11 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความเหมาะสม/ สอดคล้อง การประเมินผล โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ใน ส่วนของกิจกรรม ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร ส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ในภาพรวม ..................... 47

  • สารบัญภาพ

    ภาพที่ หน้า 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย.................................................................................................. 4 2 พื้นที่องค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง ...................................................................... 5 3 รูปแบบการประเมิน ของ Tyler, s Model ......................................................................... 14 4 ความสัมพันธ์ของการตัดสินใจ และประเภทของการประเมินแบบ CIPP Model ........... 17

  • 1

    บทที ่1 บทน า

    ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา รัฐบาลภายใต้การบริหารราชการแผ่นดินของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 23-25 สงิหาคม พ.ศ. 2554 โดยในด้านของ ยาเสพติด ได้มีการบรรจุไว้ในนโยบายของรัฐบาล มีการก าหนดให้เป็นวาระแห่งชาติเนื่องจากปัจจุบันสถานการณ์ยาเสพติดนับว่าเป็นปัญหาส าคัญและมีแนวโน้มที่จะขยายตัวมีความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มอายุลดลงรวมทั้งผู้เสพติดรายใหม่ที่เข้าสู่วงจรปัญหา ในขณะที่ยังมีผู้เสพ ผู้ติดส่วนหนึ่งเป็นกลุ่มผู้ติดรุนแรงเร่ิมมีอาการทางจิตและประสาท ก่อผลกระทบสร้างความเดือดร้อนต่อสังคมอย่างมาก ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับปัญหาพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจและสังคมยังคงเป็นเงื่อนไขผลักดันให้เด็กและเยาวชนตกเป็นกลุ่มเสี่ยงและเข้าสู่วงจรปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะความอ่อนแอของสถาบันสังคมและครอบครัว ปัญหาความยากจน ปัญหาความไม่เป็นระเบียบและการปล่อยปละละเลยต่อการปฏิบัติตามกฎหมายของสถานบันเทิง สถานบริการ หอพักและแหล่งมั่วสุมต่าง ๆ จึงจ าเป็นต้องควบคุมและจัดระเบียบเพื่อป้องปรามมิให้พื้นที่เสี่ยงดังกล่าวเป็นแหล่งแพร่ระบาดของยาเสพติด ควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนและแก้ไขพฤติกรรมเด็กและเยาวชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดป้องกันมิให้เด็กเยาวชนโดยทั่วไป ซึ่งเป็นคนกลุ่มใหญ่มิให้ตกเป็นกลุ่มเสี่ยงและเข้าสู่วงจรปัญหา (ศูนย์อ านวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ, 2554) ส านักนายกรัฐมนตรีได้ก าหนดแนวทางการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์”พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด”และสาระส าคัญสถานการณ์ยาเสติดและความหนาแน่นของปัญหายาเสพติดระดับจังหวัด อ าเภอ ให้หน่วยงานต่าง ๆ รับผิดชอบด าเนินการ จังหวัดปราจีนบุรีได้พิจารณาเห็นว่าแนวทางการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดและกลยุทธ์การด าเนินงานของรัฐบาลเป็นวาระแห่งชาติที่จะต้องด าเนินการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและน้อมน ากระแส พระราชด ารัสของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนารถในเร่ืองยาเสพติดมาปฏิบัติให้ส าเร็จลุล่วงโดยใช้ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเป็นยุทธศาสตร์หลัก ก าหนดกลยุทธ์ส าคัญที่ด าเนินการคือ 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง เพื่อให้เป็นสิ่งที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยึดเป็นหลัก ในการขับเคลื่อนงานยาเสพติด โดยได้ก าหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ไว้ 4 ด้าน ได้แก่ ระดับ ความรุนแรงของปัญหายาเสพติดในภาพรวมและระดับพื้นที่ลดลง จ านวนผู้เสพ/ ผู้ติดยาเสพติดใน

  • 2

    ระดับประเทศและระดับพื้นที่ลดลง จ านวนหมู่บ้าน/ ชุมชนที่ประสบปัญหายาเสพติดลดลง ความพึงพอใจและความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อการด าเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน ยาเสพติดของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจึงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการโครงการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด องค์การบริหารส่วนต าบล เป็นองค์กรหนึ่งที่ใกล้ชิดประชาชนครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นหน่วยการปกครองส าคัญของรัฐในการส่งผ่านนโยบายของรัฐ ทั้งในแง่ของนโยบาย การน านโยบายไปปฏิบัติ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) เป็นหนึ่งในมาตรการการปฏิบัติภายใต้ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด เป็นโครงการที่รัฐบาลก าหนดเป็นนโยบายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด าเนินการในพื้นที่ร่วมกับกลุ่มพลังมวลชนอาสาสมัคร ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น าธรรมชาติและองค์กรภาคประชาชนช่วยกันสร้างพลังแผ่นดิน โดยมุ่งเน้นให้ตรวจสอบ คัดกรอง จ าแนกผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดซึ่งเป็นผู้ป่วยโรคสมอง ติดยา ชักชวน จูงใจ น าส่งผู้เสพผู้ติดยาแบบสมัครใจเข้ารับการบ าบัดรักษา รวมถึงการจัดระเบียบสังคม การบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเคร่งครัดการลดพื้นที่เสี่ยงและสถานที่เสี่ยงต่อ การแพร่ระบาดยาเสพติด องค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง จัดตั้ง/ ฟื้นฟู ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) โดยมีขั้นตอนในการด าเนินการดังนี้ 1. ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ซึ่งเลือกจากกลุ่มพลังมวลชน อาสาสมัคร ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น าธรรมชาติและองค์กรภาคประชาชน ต ารวจ ผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ ประชุมเพื่อก าหนดแผนด าเนินงาน รวมถึงชี้แจงวัตถุประสงค์ แนวทางปฏิบัติ รวบรวมประเด็นและแนวทางแก้ไขปัญหาอันอาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติ 2. ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) จัดให้มีการประชุมเพื่อติดตาม ผลการด าเนินงานเดือนละ 1 คร้ัง นับแต ่เดือนกุมภาพันธ์-กันยายน พ.ศ. 2555 แผนด าเนินงานตามโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ก าหนดระยะเวลาด าเนินงานระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-กันยายน พ.ศ. 2555 จ านวน 8 คร้ัง ครอบคลุม 6 หมู่บ้าน ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบ ซึ่งในการด าเนินการโครงการดังกล่าวนี้ไม่มีการประเมินผลโครงการที่เป็นรูปธรรม จะมีเพียง การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปีในภาพรวมเท่านั้น ประกอบกับเมื่อสิ้นสุดระยะเวลา การด าเนินโครงการมักมีค าถามเกิดขึ้นเสมอว่าการจัดท าโครงการต่าง ๆ เข้าถึงความต้องการของ

  • 3

    ประชาชนทุกกลุ่มหรือไม่และมีปัญหาอุปสรรคใดบ้างในการด าเนินโครงการ จากสภาพปัญหาดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ผู้ศึกษาในฐานะที่มีบุตรเป็นเด็กและเยาวชนที่อาศัยอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง จึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรม ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี เพื่อน าผลศึกษาที่ได้น าเสนอผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสงไปใช้ในการบริหารจัดการโครงการให้มีประสิทธิภาพต่อไป

    วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 2. เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการด าเนินการโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด)

    กรอบแนวคิดในการวิจัย การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี โดยผู้วิจัยน ากรอบแนวความคิดรูปแบบการประเมินผลที่เรียกว่า “CIPP Model” ของ Danial (1983 อ้างถึงใน วันทนา งามสุภาพ, 2553, หน้า 40) แสดงได้ดังต่อไปนี้

  • 4

    การประเมินด้าน บริบทหรือสภาวะ

    แวดล้อม (Context Evaluation)

    การประเมินด้าน ปัจจัยน าเข้า

    (Input Evaluation)

    การประเมิน ด้านกระบวนการ

    (Process Evaluation)

    การประเมิน ด้านผลผลิต

    (Product Evaluation)

    ความสอดคล้องของสภาพแวดล้อม

    ภายในและภายนอกโครงการ

    ความสอดคล้อง และความเพียงพอ ของปัจจัยน าเข้า

    ความเหมาะสม และสอดคล้อง ของกระบวนการ

    ผลผลิตของโครงการตามวัตถุประสงค์

    ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

    ขอบเขตการวิจัย 1. การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี

    การประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหาร

    ส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี

  • 5

    ภาพที่ 2 พื้นที่องค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง 2. ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้เกี่ยวข้องในการด าเนินการโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ได้แก่ 2.1 ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ จ านวน 7 คน 2.2 ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน หมู่บ้านละ 25 คน จ านวน 6 หมู่บ้าน รวมทั้งสิ้น 150 คน 2.3 ระยะเวลาการศึกษาเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556

  • 6

    นิยามศัพท์เฉพาะ การประเมินผลโครงการ หมายถึง การศึกษาผลการด าเนินการใน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม 2) ด้านปัจจัยน าเข้า 3) ด้านกระบวนการ และ 4) ด้านผลผลิตของโครงการในการส ารวจความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง คือ ผู้บริหาร ผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation) หมายถึง การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของสภาวะแวดล้อม วัตถุประสงค์ของโครงการ การแก้ไขปัญหา และความต้องการของประชาชน การประเมินด้านปัจจัยน าเข้า (Input Evaluation) หมายถึง การประเมินความเหมาะสมและความเพียงพอของปัจจัยน าเข้า เช่น บุคลากร งบประมาณ วัสดุและอุปกรณ์ ระยะเวลา สถานที่ในการต้ังด่านตรวจตราและเฝ้าระวังในพื้นที่ การประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation) หมายถึง การประเมินถึง ความเหมาะสมของกระบวนการด าเนินการโครงการ เช่น การประชาสัมพันธ์ การให้ข้อมูลข่าวสารกับประชาชนและผู้ปฏิบัติงาน การก าหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ การตรวจสารเสพติดกลุ่มเสี่ยง การประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) หมายถึง การพิจารณาผลส าเร็จของโครงการตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ ความเหมาะสม ระดับการมีส่วนร่วมรวมถึงข้อเสนอแนะในการด าเนินการโครงการเพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการโครงการให้มีประสิทธิภาพต่อไป โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด หมายถึง การแก้ไขปัญหายาเสพติดเพื่อลดระดับความรุนแรงของปัญหายาเสพติดในภาพรวมและระดับพื้นที่ลดลง มีจ านวนผู้เสพ/ ผู้ติดยาเสพติดและจ านวนหมู่บ้าน/ ชุมชนที่ประสบปัญหายาเสพติดลดลง ประชาชนมี ความพึงพอใจ มีส่วนร่วมต่อการด าเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านยาเสพติด กิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) หมายถึง กิจกรรมในมาตรการ การปฏิบัติภายใต้ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด เป็นโครงการที่รัฐบาลก าหนดเป็นนโยบายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด าเนินการในพื้นที่ร่วมกับกลุ่มพลังมวลชนอาสาสมัคร ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น าธรรมชาติและองค์กรภาคประชาชนช่วยกันสร้างพลังแผ่นดิน โดยมุ่งเน้นให้ตรวจสอบ คัดกรอง จ าแนกผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดซึ่งเป็นผู้ป่วยโรคสมอง ติดยา ชักชวน จูงใจ น าส่ง ผู้เสพผู้ติดยาแบบสมัครใจเข้ารับการบ าบัดรักษา รวมถึงการจัดระเบียบสังคม การบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเคร่งครัดการลดพื้นที่เสี่ยงและสถานที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดยาเสพติด เพศ หมายถึง เพศชาย และเพศหญิง อายุ หมายถึง จ านวนเต็มตามปี หลังวันเกิด

  • 7

    ระดับการศึกษา หมายถึง จ านวนเต็มปีสูงสุดที่ได้รับการศึกษาได้ เช่น ประถมศึกษา/มัธยมศึกษาตอนต้น/ มัธยมศกึษาตอนปลาย/ ปวช./ ปวส./ ปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี อาชีพ หมายถึง ปัจจุบันท่านประกอบอาชีพอะไร เกษตรกรรม/ รับจ้าง/ ค้าขาย/ ประกอบธุรกิจส่วนตัว/ พนักงานบริษัทเอกชน/ นักการเมืองท้องถิ่น/ รับราชการ รายได้ต่อเดือน หมายถึง ค่าตอบแทนที่ได้รับจากการท างานโดยแบ่งเป็นช่วง ๆ ไม่เกิน 5,000 บาท และมากกว่า 5,000 บาทขึ้นไป

    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบถึงผลการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี 2. ทราบถึงปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการด าเนินการโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ในส่วนของกิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) 3. ผลการศึกษาที่ได้จะน าไปเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง และผู้ที่เกี่ยวข้องได้น าไปใช้ในการก าหนดนโยบาย แผนงานและโครงการต่าง ๆ ใน การแก้ไขปัญหายาเสพติดให้มีประสิทธิภาพต่อไป

  • 8

    บทที ่2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    การศึกษาเร่ืองการประเมินผลโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 กรณีศึกษากิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) ขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง อ าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ผู้วิจัยได้ ท าการตรวจสอบเอกสาร แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมินผล 2. แนวคิดรูปแบบการประเมินผลโครงการ 3. แนวคิดเกี่ยวกับโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 กรณีศึกษากิจกรรมผู้ประสานงานพลังแผ่นดิน (25 ตาสับปะรด) 4. ข้อมูลทั่วไปขององค์การบริหารส่วนต าบลหนองแสง 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    ทฤษฎีเก่ียวกับการประเมินผล ความหมายของการประเมินผล Rossi and Freeman (1982 อ้างถึงใน สัมพันธ์ ด าทุ่งหงส์, 2553, หน้า 23) ได้ให้ความหมายของการประเมินผล หมายถึง การประยุกต์ใช้กระบวนการทางวิจัยทางสังคมศาสตร์อย่างเป็นระบบเพื่อประเมินกรอบความคิด รูปแบบการด าเนินงานและประโยชน์ของแผนงานในการเข้าแทรกแซงทางสังคม กล่าวคือ การวิจัยประเมินผลเกี่ยวข้องกับการใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เพื่อวินิจฉัยและปรับปรุงการวางแผนประสิทธิผลและประสิทธิภาพของแผนงาน สมหวัง พิริยานุวัฒน์ (2537, หน้า 153) การประเมินผล หมายถึง กระบวนการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศเกี่ยวกับความก้าวหน้าของโครงการและความส าเร็จของโครงการ อันเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงคุณค่าของโครงการ กล่าวคือ เป็นเคร่ืองแสดงว่าโครงการได้ด าเนินไปแล้วได้ผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการมากน้อยเพียงใด ตลอดจนในอนาคตควรจะด าเนินการอย่างไร ซึ่งเป็นการพิจารณาคุณค่าโดยใช้ผลงานในอดีตและพิจารณาถึงศักยภาพและทางเลือกในการด าเนินงานในอนาคตต่อไปด้วย พลับพลึง เพิ่มทรัพย์ (2550, หน้า 18) การประเมิน หมายถึง การใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์หรือการใช้เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์ พิจารณา ค้นหาและตรวจสอบเพื่อ

  • 9

    วัดค่าของกิจการหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อก าหนดคุณค่า คุณภาพความถูกต้องโดยใช้เกณฑ์ (Criteria) เป็นหลักเพื่อที่จะรู้ว่าองค์การหรือหน่วยงานนั้นใช้ทรัพยากรเพื่อด าเนินการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพและประสทิธิผลเพียงใด ถ้าไม่ได้ผลตามแนวทางดังกล่าว การแก้ไขปรับปรุงจะต้องมีขึ้นโดยน าเอาผลที่วัดได้มาพิจารณาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับแผนที่ก าหนดไว้จึงจะท าให้รู้ได้ว่าสิ่งที่แผนต้องการกับผลที่เกิดขึ้นจริงนั้นตรงกันหรือแตกต่างกันเพียงใด ด้วยเหตุผลอะไรบ้างเป็นเหตุผลจากปัจจัยภายนอกหรือภายในของแผนอย่างไร ส าหรับ การแก้ไขปรับปรุงนั้นจะเป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่จะต้องคอยดูแลป้องกันปัญหาดังกล่าว จีระศักดิ์ บุตรด้วง (2551, หน้า 8) การประเมินผล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ เพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจในการด าเนินงานโดยเปรียบเทียบ ผลการปฏิบัติกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้เพื่อตรวจสอบว่าการด าเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินงานนั้น ๆ ประเวช ผ้าเจริญ (2552, หน้า 12) การประเมินผล หมายถึง การประเมินผลการด าเนินโครงการเพื่อค้นหาข้อมูลที่เป็นระบบ ระเบียบเป็นแบบแผนเพื่อน าข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจโดยเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจจัดท าโครงการในระยะต่อไปหรือล้มเลิกโครงการ อัญชลี บุญอินทร์ (2553, หน้า 9) การประเมินผล หมายถึง กระบวนการใน การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินโครงการว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่รวมถึงศึกษาข้อจ ากัดหรือปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคต่อ การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนั้นผลของการประเมินจะเป็นข้อมูลเปรียบเทียบหา ความแตกต่างระหว่างผลที่เกิดขึ้นจริงกับผลที่คาดหวังไว้ล่วงหน้า ทั้งนี้เพื่อประโยชนใ์น การตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ เช่น ควรพัฒนาปรับปรุงโครงการควรด าเนินการต่อไป ควรขยายโครงการหรือยุติโครงการ สรุป จากความหมายของการประเมินผลดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่า การประเมินผล หมายถึง กระบวนการวัดค่าของกิจกรรมใด ๆ เพื่อเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทั้งในการปฏิบัติและหลังจากการปฏิบัติงานแล้วเสร็จโดยอาศัยหลักทางวิทยาศาสตร์

    แนวคิดรูปแบบการประเมินผลโครงการ 1. รูปแบบการประเมินของครอนบาช (Cronbach, Goal & Side Effect Attainment Model) ครอนบาช เสนอแนวคิดว่า การประเมินเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ในโครงการและใช้ข้อมูลที่ค้นพบเพื่อการตัดสินผลของแผนหรือโครงการ ครอนบาค

  • 10

    ความเชื่อว่า การประเมินสามารถวัดได้หลายด้าน เช่น วัดความรู้ความสามารถทั่วไป วัดเจตคติและการติดตามผลหลังกิจกรรมการเรียนการสอนจบสิ้นลง จุดมุ่งหมายส าคัญของการประเมินตามแนวคิดของครอนบาช มี 3 ประการ ดังนี้ เยาวดี รางชัยกุล (2542, หน้า 113) 1.1 เพื่อปรับปรุงรายวิชา (Course Improvement) เพื่อตัดสินว่าอุปกรณ์ที่ใช้ใน การเรียนการสอนและวิธีการใดที่เหมาะสม และมีส่วนใดที่ต้องด าเนินการแก้ไขให้ดีขึ้น 1.2 เพือ่การตัดสินใจเกี่ยวกับตัวบุคคล (Decision about Individual) เช่น การตัดสินใจในการวางแผน การคัดเลือก รวมทั้งการแจ้งให้ผู้รับผิดชอบในโครงการรับทราบถึงข้อดีข้อเสียของโครงการ 1.3 เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับกฎระเบียบในการบริหาร (Administrative Regulation) ได้แก่ การพิจารณาว่าระบบการศึกษาและบุคลากรครูของโรงเรียนนั้น ๆ เหมาะสมหรือมีประสิทธิภาพดีหรือไม่ นอกจากนี้ครอนบาช (Cronbach, 1970) มีความเห็นว่า การประเมินผลโครงการนั้น ควรท าการทดสอบทั้งในส่วนของจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้และผลพลอยได้อ่ืน ๆ (Side Effect) และในที่นีค้รอนบาช (Cronbach) ได้เสนอแนวทางในการประเมินไว้ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การศึกษากระบวนการ (Process Studies) เป็นการศึกษาสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน โดยการสังเกตผลการใช้สื่อการซักถามนักเรียนขณะด าเนินการสอน แล้วน าเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. การวัดศักยภาพของนักเรียน (Efficiency Measurement) โดยให้ความส าคัญต่อ การสอบ เพื่อวัดสมรรถภาพของนักเรียนระหว่างการเรียนมากกว่าการสอนประจ าภาคหรือ สอบปลายปี 3. การวัดทัศนคติ (Attitude Measurement) โดยการเรียนรู้ การสัมภาษณ์ การตอบแบบสอบถาม เป็นต้น 4. การติดตามผล (Follow-Up Studies) เป็นการติดตามผลการท างานรวมทั้งการให้บุคคลเรียนอยู่ในระดับพื้นฐานที่ผ่านมาแล้วได้ประเมินถึงข้อดี ข้อเสียของวิชาต่าง ๆ เพื่อให้ เกิดการพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ การประเมินโครงการของครอนบาช ต้องท าการวัดหลาย ๆ ด้าน (Multidimensional Studies) ทั้งในส่วนของจุดมุ่งหมายและผลกระทบอ่ืน รวมทั้งการติดตามผลการเรียนการสอน แต่ละรายวิชาด้วย 2. รูปแบบการประเมินของสคริฟเวน (Scriven,s Judgermental Model Emphasizing Extrinsic, Criterid) สคริฟเวนเสนอแนวคิดว่า การประเมินไม่ควรเน้นจุดมุ่งหมายของการประเมิน

  • 11

    เท่านั้นแต่ควรประเมินองค์ประกอบอื่น ๆ ของโครงการ ลักษณะส าคัญของรูปแบบการประเมินตามแนวคิดของสคริฟเวนสรุปได้ 9 ประการ ดังนี้ (เยาวดี รางชัยกุล, 2542, หน้า 131) 1. จุดมุ่งหมายของการประเมิน ซึ่งมี 2 ประการ คือ 1.1 การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation) เป็นการประเมินผลในระหว่างก าลังด าเนินโครงการ เพื่อปรับปรุงโครงการให้ดีขึ้น โดยน า Feedback ที่มีประโยชน์เสนอต่อผู้ประเมินผลโครงการ 1.2 การประเมินสรุป (Summative Evaluation) เป็นการประเมินเมื่อโครงการเสร็จสิ้นลง เพื่อศึกษาคุณค่าของโครงการและน าลักษณะที่ดีของโครงการไปใช้ในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน 2. วิธีการประเมิน มี 2 ระดับกว้าง ๆ ดังนี ้ 2.1 การประเมินคุณค่าภายใน (Intrinsic Evaluation) การประเมินคุณค่าของเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เกณฑ์การให้คะแนนและทัศนคติของผู้อ่ืนที่มีต่อเคร่ืองมือนั้น 2.2 การประเมินคุณค่าปฏิบัติการ (Pay-Off Evaluation) คือ การพิจารณาตัดสินคุณค่าจากผลที่เกิดขึ้นจากการใช้เคร่ืองมือนั้นต่อนักเรียน 3. การประเมินผลจุดมุ่งหมาย (Mediated Evaluation) การประเมินคุณค่าของเคร่ืองมือ ที่ใช้ในการประเมินผลโครงการนั้น ต้องอาศัยเกณฑ์ซึ่งผู้ประเมินผลเป็นผู้สร้างขึ้น โดยอาศัยกิจกรรม 3 อย่างคือ 3.1 ตรวจสอบและปรับปรุงจุดมุ่งหมายหรือเกณฑ์ที่ตั้งไว้อย่างสม่ าเสมอ หากผลที่ เกิดขึ้นแตกต่างจากเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่หากผลที่ได้ดีกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ควรปรับปรุงเกณฑ์ที่ตั้งไว้ให้ดีขึ้นตามไปด้วย 3.2 สร้างคลังข้อสอบให้ครอบคลุมกิจกรรมทั้งหลายของโครงการ 3.3 หาเกณฑ์ภายนอกมาตัดสินจุดมุ่งหมาย เน้ือหาของโครงการและเคร่ืองมือทดสอบ เพื่อวิเคราะห์ความคงที่เพราะเกณฑ์ที่ก าหนดขึ้นเองอาจไม่มีความเที่ยงพอ 4. การประเมินผลเปรียบเทียบและการประเมินผลไม่เปรียบเทียบ (Comparative VS No Comparative Evaluation) Scriven (1972) เห็นว่าการประเมินผลเปรียบเทียบท าได้ง่ายกว่าการประเมินผล ไม่เปรียบเทียบ และเสียค่าใช้จ่ายในการหามาตรวัดความสมบูรณ์สูง จากแนวคิดนี้ท าให้สคริฟเวนเชื่อว่าการศึกษากลุ่มย่อย (Micro Studies) ด้วยวิธีการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มมีประโยชน์มากกว่าการศึกษาประชากรทั้งหมด (Gross Studies) ซึ่งสามารถจ ากัดอิทธิพลแทรกแซงในการวัดผล (Measurement Interference Effect) และท าได้ง่ายและบ่อยกว่าการศึกษาแนวคิดของครอนบาช

  • 12

    5. คุณค่าและเงินทุนในการลงทุน (Value and Cost) การประเมินผลจะสมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อพิจารณาคุณค่าและเงินทุนในการลงทุน และควรพิจารณาในเร่ืองเหล่านี้ประกอบ 5.1 ประโยชน์ในการใช้ (Range of Utility) ควรพิจารณาด้วยว่าสิ่งที่ได้ลงทุนไปนั้นมีประโยชน์คุ้มค่าแก่การใช้สอยหรือไม่ 5.2 ขวัญหรือก าลังใจ (Moral Consideration) ผลของโครงการจะส่งผลต่อขวัญหรือก าลังใจในการท างานของผู้ร่วมโครงการ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีประโยชน์มากในการด าเนินงานของโครงการ 5.3 ทุน (Cost) เป็นเร่ืองที่ผู้ประเมินผลโครงการควรให้ความส าคัญ 6. การประเมินไม่ผูกพันกับจุดมุ่งหมาย (Goal-Free Evaluation) สคริฟเวน เป็นคนแรกที่เร่ิมน าความคิดเกี่ยวกับ การประเมินโดยไม่ผูกพันกับจุดมุ่งหมายที่ก าหนดไว้มาใช้ เขาคิดว่าวิธีการศึกษา และการประเมินผลผลิตที่เกิดขึ้นก็สามารถศึกษาทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้ ซึ่งการประเมินแบบนี้ผู้ประเมินไม่จ าเป็นต้องทราบข้อมูลอะไรจากผู้ด าเนินโครงการ ท าให้ไม่เกิดความขัดแย้งทางด้านความคิดและประหยัดเวลาได้อีกด้วย 7. รูปแบบจ าลองวิถีแห่งการเปรียบเทียบ (Pathway Comparison Model) การประเมินในรอบแรก ๆ จะเป็นการประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการ ส่วนในรอบสุดท้ายจะเป็นการสรุปรายการทั้ง 9 ข้อ ดังนี้ 7.1 ค้นหาลักษณะและธรรมชาติของโครงการที่จะประเมินนั้น 7.2 ท าให้ธรรมชาติของผลสรุปที่ต้องการจากการประเมินนั้นชัดเจน 7.3 ประเมินความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของตัวแปรต้นและตัวแปรตามในโครงการ 7.4 ตรวจสอบความสัมพันธ์ต่อเนื่องของโครงการอย่างละเอียด 7.5 ตัดสินและประเมินค่าเกณฑ์ของคุณความดีและปรัชญาที่ขัดแย้งกันในโครงการ 7.6 ประเมินค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของโครงการ 7.7 พิจารณาและประเมินก าลังของคู่ต่อสู้ที่ส าคัญของโครงการ 7.8 พิจารณาส่วนประกอบของโครงการ และส ารวจความต้องการเพื่อตัดสินศักยภาพของโครงการ 7.9 สรุปคุณค่าของโครงการ 8. วิธีการปฏิบัติการเฉพาะกิจ (Modus Operation Method) เป็นการประเมินผลที่มีประโยชน์ในกรณีที่ไม่สามารถท าการทดลองได้เป็นการพิจารณาว่า สิ่งที่พยายามประเมินอยู่นั้น คือต้นเหตุของผลที่ต้องการให้เกิดขึ้น ผู้ประเมินควรพยายามหาความสัมพันธ์ของเหตุผลและผลผลิต

  • 13

    8.1 ตรวจสอบสาเหตุที่มีอยู่อาจเป็นไปได้ว่า คือสาเหตุของผลที่เกิดขึ้น ถ้ามีเพียงสาเหตุเดียวถือว่าสาเหตุน้ันคือสาเหตุที่แท้จริง 8.2 ถ้ามีสาเหตุหลาย ๆ อย่างที่เป็นไปได้ว่าเป็นสาเหตุที่แท้จริงควรตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงเหตุผลและผลที่แท้จริง หากไม่มีเหตุใดเลยที่ท าให้เกิดความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่สมบูรณ์ได้นั้น แสดงว่ายังหาสาเหตุที่แท้จริงไม่พบ 8.3 ถ้าตรวจสอบว่ามีเพียงเหตุผลเดียวเท่านั้น ที่มีความสัมพันธ์กับเหตุและผลที่แท้จริงได้ สาเหตุนั้นอาจเป็นสาเหตุร่วมของผลที่เกิดขึ้น 8.4 ถ้ามีสาเหตุหลายอย่างที่ต่างก็มีความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่สมบูรณ์กับ ผลที่เกิดขึ้น สาเหตุเหล่านั้นอาจเป็นสาเหตุร่วมที่ท าให้เกิดผลดังกล่าว 9. การประเมินคุณค่าของการประเมิน (Meta-Evaluation) ในการประเมินคุณค่าของ การประเมินนั้น ผู้ประเมินจะต้องหาเกณฑ์เร่ิมแรก (Initial Criterion) ที่แท้จริงที่ผู้รับผิดชอบของโครงการต้องการจะรู้อย่างแท้จริง ซึ่งเป็นสิ่งแรกที่ผู้ท าการประเมินผลจะต้องค้นหาได้ก่อนที่จะด าเนินการใด ๆ ในการล าดับต่อไป 3. Tyler (1942, อ้างถึงใน สัมพันธ์ ด าทุ่งหงษ์, 2553, หน้า 31) เป็นผู้เสนอแนวคิด การประเมินโครงการโดยมีความเชื่อว่า ความส าเร็จของโครงการสามารถพิจารณาได้จากผลลัพธ์ของแผนงานโครงการตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้น การก าหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน รัดกุม จะช่วยเป็นแนวทางที่ดีในการประเมินในปี ค.ศ. 1942 ไทเลอร์ได้พัฒนาแบบจ าลองนี้เพื่อการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่เกดิจากการเรียนการสอนในโรงเรียน รูปแบบดังกล่าวประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังน้ี 1. ค้นหาจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของโครงการที่จะประเมิน 2. น าจุดมุ่งหมายแยกเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3. จัดเน้ือหาและโปรแกรมของโครงการประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมนั้น ๆ 4. ท าการทดสอบก่อนเร่ิมโครงการ (Pre-Test) ด้วยเคร่ืองมือที่น่าเชื่อถือ 5. ด าเนินการตามแผนที่ก าหนดไว้ 6. ท าการทดสอบอีกคร้ัง หลังจากเสร็จสิ้นโครงการแล้ว (Post-Test) 7. ประเมินประสิทธิภาพของโครงการ โดยการเปรียบเทียบคะแนนจากผลการทดสอบก่อนเร่ิมโครงการและหลังเสร็จสิ้นโครงการ (Pre-Test และ Post-Test) ความสัมพันธ์ของ 7 ขั้นตอน ปรากฏดังภาพที่ 3

  • 14

    รูปแบบการประเมินของไทเลอร์

    ถ้า X2 X1

    หยุด ภาพที่ 3 รูปแบบการประเมิน ของ Tyler, s Model (สมหวัง พิริยานุวัฒน์, 2537, หน้า 157)

    จุดมุ่งหมาย (Goat)

    วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective)

    การจัดเนื้อหาและโปรแกรม

    การด าเนินการ

    การประเมินโครงการ

    (Pre-Test) X1

    (Post-Test) X2

    ยกเลิกหรือปรับปรุง

    เลือกน าผลไปใช้

  • 15

    4. Stufflebeam (1971, อ้างถึงใน อัญชลี บุญอินทร�