308

AW cover eng CV · à¤Ã×͸¹Ò¤ÒáÊÔ¡Ãä·ÂÁØ‹§ÁÑè¹ã¹¡ÒÃãËŒºÃÔ¡Òà ¡ÒÃà§Ô¹¤Ø³ÀÒ¾·ÕèÊÒÁÒöµÍºÊ¹Í§ ¤ÇÒÁ¾Ö§¾Íã¨ÊÙ§ÊØ´áÅÐÊÌҧ»ÃÐʺ¡Òó

  • Upload
    others

  • View
    17

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • à¤Ã×͸¹Ò¤ÒáÊÔ¡Ãä·Â ÁØ‹§ÁÑè¹ã¹¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒáÒÃà§Ô¹¤Ø³ÀÒ¾ ·ÕèÊÒÁÒöµÍºÊ¹Í§

    ¤ÇÒÁ¾Ö§¾Íã¨ÊÙ§ÊØ´ áÅÐÊÌҧ»ÃÐʺ¡Òó·Õ è´Õ㹡ÒÃ㪌ºÃÔ¡Ò÷ҧ¡ÒÃà§Ô¹á¡‹ÅÙ¡¤ŒÒ·Ø¡¤¹ ́ ŒÇ»³Ô¸Ò¹

    “ ºÃÔ¡Ò÷ءÃдѺ»ÃзѺã ̈”

    Convenience

    CustomerCentricity

    Qualit

    y

    Trust

    • Signature • Small and Micro Business • Medium

    Busin

    ess

    Multi-Corporate Business • Large Corporate Business •

    M

    iddle Inco

    me

    • M

    ass •

  • ·Õ踹ҤÒÃÁØ‹§ËÇѧ

    ¤Ø ³ ¤‹ Ò

    À Ò Ã ¡Ô ̈ÇÔÊÑ·Ñȹ

  • ·Õ踹ҤÒÃÁØ‹§ËÇѧ

    ¤Ø ³ ¤‹ Ò

    À Ò Ã ¡Ô ̈ÇÔÊÑ·Ñȹ

    ภารกิจ เครือธนาคารกสิกรไทย มุ่งมั่นในการเป็นกลุ่มธุรกิจทางการเงินไทยที่แข็งแกร่ง สามารถตอบสนองความตอ้งการของลกูคา้ดว้ยบรกิารดา้นการเงนิทีห่ลากหลาย ครบถว้น ในคณุภาพมาตรฐานสากล โดยผสมผสานการใช้เทคโนโลยีและทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุผลที่ดีและเป็นธรรม ต่อลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน และประเทศไทย

    วิสัยทัศน์เครอืธนาคารกสกิรไทย มุง่มัน่เปน็กลุม่ธรุกจิทางการเงนิทีม่ัน่คงทีส่ดุ ทีร่เิริม่ในสิง่ใหม ่ และกระทำทกุวถิทีางเพือ่เปน็กลุม่ธรุกจิทางการเงนิไทยทีใ่หบ้รกิารอยา่งดทีีส่ดุแกล่กูคา้

    คุณค่าที่ธนาคารมุ่งหวัง• ให้ความสำคัญสูงสุดต่อการสร้างความพอใจของลูกค้า • เชื่อมั่นในการทำงานร่วมกัน • อุทิศตนต่องานอย่างมืออาชีพโดยมีคุณธรรม • ยึดมั่นในหลักการ ระเบียบวินัยการปฏิบัติงานที่ดี • พร้อมตอบสนองในทุกสถานการณ์

  • ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ (งบการเงินรวม) ณ วันที่ หรือ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550 2549 2548 2547

    ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นสามัญ

    ต่อหุ้น (บาท) - กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 6.41 6.28 5.74 5.87 6.49 - ราคาตามบัญชี 47.49 41.87 37.04 32.91 28.07 - เงินปันผล 2.00 2.00 1.75 1.25 1.00

    ราคาหุ้น (บาท) 1) - ราคาสูงสุด 64.00 91.50 73.50 70.50 66.50 - ราคาต่ำสุด 38.50 78.00 49.75 50.00 41.50 - ราคาปิด 45.00 87.00 61.50 70.00 52.50

    จำนวนหุ้นสามัญคงเหลือ - จำนวนเฉลี่ย (พันหุ้น) 2,393,122 2,387,438 2,381,474 2,371,366 2,362,467 - ณ สิ้นปี (พันหุ้น) 2,393,260 2,388,202 2,382,147 2,373,294 2,363,625

    มูลค่าตลาด (Market capitalization) (ล้านบาท) 107,697 207,774 146,502 166,131 124,090

    วัดมูลค่า (บาท)

    ราคาตลาดต่อกำไรต่อหุ้น (PER) 7.02 13.84 10.72 11.92 8.09 ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี (PBV) 0.95 2.08 1.66 2.13 1.87 อัตราผลตอบแทนเงินปันผล (คำนวณจากราคาปิด) 4.44% 2.30% 2.85% 1.79% 1.90%อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อกำไรสุทธิ 32.33% 31.88% 30.55% 21.36% 15.45%

    ผลการดำเนินงาน (ล้านบาท)

    รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล 60,130 55,516 51,810 38,065 32,999 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 17,694 18,085 17,197 7,283 7,033 รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ 42,436 37,431 34,613 30,782 25,966 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ 2) 7,834 5,887 5,419 3,662 2,761 รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย 22,646 18,897 14,155 12,302 12,149 ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย 35,071 29,029 25,561 21,426 19,847 รายได้รวม 3) 65,082 56,328 48,768 43,084 38,115 กำไรสุทธิ 15,333 15,005 13,664 13,930 15,340

    วัดผลการดำเนินงาน

    ผลตอบแทนสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้สุทธิ 3.97% 4.13% 4.10% 3.84% 3.20%ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิบวกรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย 53.89% 51.54% 52.41% 49.73% 52.07%กำไรสุทธิต่อสินทรัพย์เฉลี่ย (ROA) 1.33% 1.55% 1.54% 1.68% 1.86%กำไรสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (ROE) 14.35% 15.94% 16.43% 19.29% 25.98%จำนวนพนักงาน 13,560 12,320 11,219 10,303 10,110

    ข้อมูลเกี่ยวกับงบดุล (ล้านบาท)

    เงินให้สินเชื่อ 904,008 762,505 677,207 626,946 592,588 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ4) 29,772 25,852 32,993 37,439 46,346 เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพสุทธิ (NPL net)5) 15,712 17,600 27,282 N/A N/Aเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ (NPL gross) 33,686 34,980 46,495 56,217 72,809 สินทรัพย์รวม 1,303,554 994,518 935,509 837,309 824,974 เงินฝาก 967,950 783,822 746,260 690,337 705,570 หนี้สินรวม 1,189,892 894,522 847,271 759,193 758,308 ส่วนของผู้ถือหุ้น 6) 113,662 99,995 88,238 78,114 66,348 สินทรัพย์เฉลี่ย 1,149,036 965,014 886,409 831,142 823,130 สินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้เฉลี่ย 1,067,946 907,383 844,867 802,289 811,832 ส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย 6) 106,829 94,117 83,176 72,231 59,057 สินทรัพย์เสี่ยง 949,832 769,952 687,638 653,636 611,104

    วัดคุณภาพงบดุล

    เงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาก 93.39% 97.28% 90.75% 90.82% 83.99%ส่วนของผู้ถือหุ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง 11.97% 12.99% 12.83% 11.95% 10.86%อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์เสี่ยง 1.61% 1.95% 1.99% 2.13% 2.51%อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 9.84% 10.74% 10.46% 9.53% 7.98%อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น 15.05% 14.62% 14.74% 14.47% 13.13%เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพสุทธิ (NPL net) ต่อเงินให้สินเชื่อ 7) 1.47% 2.29% 4.14% N/A N/Aเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ (NPL gross) ต่อเงินให้สินเชื่อ 8) 3.09% 4.45% 6.85% 8.88% 12.30%ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อเงินให้สินเชื่อ 3.29% 3.39% 4.87% 5.97% 7.82%ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ 88.38% 73.91% 70.96% 66.60% 63.65%เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพหลังหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ล้านบาท) 3,914 9,128 13,502 18,778 26,463

    1) กระดานในประเทศ / ราคาหุ้นสูงสุด - ต่ำสุดเป็นราคาระหว่างปี

    5) เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพสุทธิ หมายถึง เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพหักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพทั้งหมด

    2) รวมขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้

    6) ไม่รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

    3) รายได้รวม = รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ + รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย

    7) เงินให้สินเชื่อ ได้แก่ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกค้าทั่วไปและเงินให้สินเชื่อแก่สถาบันการเงิน หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ

    4) รวมค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้

    8) เงินให้สินเชื่อ ได้แก่ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกค้าทั่วไปและเงินให้สินเชื่อแก่สถาบันการเงิน

  • สารบัญ รายงานคณะกรรมการธนาคาร 7

    รายงานของฝ่ายจัดการ 9 คำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ 11

    1. ภาพรวม 2. ผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงิน 3. การดำเนินงานด้านธุรกิจหลัก 4. การดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกลุ่มธุรกิจ 5. การลงทุนของธนาคารในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

    การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง 57 1. ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง 2. การบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ ของธนาคาร

    รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน 79 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 80 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 81 งบการเงิน 82 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 91 สถิติฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน 193

    รายงานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ 199 รายงานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและกำหนดอัตราค่าตอบแทน 200 การกำกับดูแลกิจการ 201

    1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

    นโยบายการจ่ายเงินปันผล 232 การดำเนินกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 233 ปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุน 243

    ผังโครงสร้าง 246 คณะกรรมการ 248 คณะกรรมการและผู้บริหาร 250 การดำรงตำแหน่งของกรรมการและผู้บริหารในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง 264 รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหุ้นธนาคารของกรรมการและผู้บริหารในปี 2551 265 คณะเจ้าหน้าที่บริหาร 266 การลงทุนของ บมจ. ธนาคารกสิกรไทยในบริษัทอื่น 270

    ข้อมูลอ้างอิง 273 โครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 274 รางวัลเกียรติคุณ 275

    สรุปตำแหน่งรายการตามแบบ 56-2 301

    รายงานของฝ่ายจัดการ

    รายงานทางการเงิน

    การกำกับดูแลกิจการ

    โครงสร้าง

    ข้อมูลอื่นๆ

    เครือธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกสิกรไทย 279

    1. สาขาในประเทศ 2. สำนักงานแลกเปลี่ยนเงิน 3. ศูนย์บริการซิกเนเจอร์ 4. K-WePlan Center 5. ศูนย์ธุรกิจลูกค้าบรรษัท 6. ศูนย์บริการธุรกิจต่างประเทศ 7. ศูนย์ธุรกิจลูกค้าผู้ประกอบการ 8. สาขาและสำนักงานผู้แทนในต่างประเทศ

    บริษัทการเงินในเครือธนาคารกสิกรไทย 300

  • รายงานคณะกรรมการธนาคาร

    7

    ในปี 2551 เครือธนาคารกสิกรไทยยังคงมุ่งมั่นสู่ความ เป็นเลิศทางการเงิน ด้วยการดำเนินธุรกิจตามยุทธศาสตร์ที่ มุ่งเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง คัดสรรผลิตภัณฑ์และบริการทาง การเงนิทีม่คีณุภาพ มคีวามหลากหลายและครบวงจร เพือ่สรา้งความพงึพอใจและมอบประสบการณท์ีด่แีกล่กูคา้ทกุกลุม่ ผลประกอบการของเครือธนาคารกสิกรไทยในปี 2551 จึงเป็นที่น่าพอใจและสอดคล้องกับความคาดหวังของตลาด ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจโลกโดยรวมจะเริ่มชะลอตัวลง

    ตลอดปทีีผ่า่นมา เครอืธนาคารกสกิรไทยไดพ้ฒันาผลติภณัฑ์และบริการใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งได้ขยายและพัฒนาช่องทางการให้บริการทางการเงินที่ทันสมัย อาทิ การเพิ่มสาขาทัว่ประเทศจำนวน 58 สาขา เพิม่เครือ่งเอทเีอม็จำนวน 1,305 เครือ่ง ทำให้ธนาคารมีสาขาและเครื่องเอทีเอ็มรวมทั้งสิ้น 662 สาขา และ 5,102 เครือ่งตามลำดบั อกีทัง้ยงัเพิม่การใหบ้รกิาร ATM SIM ซึ่งเป็นบริการที่ธนาคารร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายในการทำธุรกรรมต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ นอกจากนั้น เครือธนาคารกสิกรไทยยังได้จัดทำโครงการต่าง ๆเพื่อให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน พร้อมทั้งมอบองค์ความรู้ที่นอกเหนือจากบริการทางการเงินทั่วไป ซึ่งจะเป็นประโยชนแ์ละสรา้งความสำเรจ็อยา่งยัง่ยนืสำหรบัลกูคา้ผูป้ระกอบการและลูกค้าบุคคล ภายใต้ปรัชญาในการดำเนินธุรกิจ K Now อนัประกอบดว้ย โครงการ K SME Care โครงการ K Home Smiles Club โครงการ KBank Card และโครงการ K Beautiful Life เปน็ตน้

    ดว้ยเจตนารมณข์องเครอืธนาคารกสกิรไทย ทีจ่ะเพิม่ศกัยภาพ

    ในการแข่งขันและความสามารถในการสร้างรายได้อย่างยั่งยืน โครงการสำคญัทางยทุธศาสตร ์“K-Transformation” จึงได้จัดทำอยา่งตอ่เนือ่งมาตลอดระยะเวลา 2 ปทีีผ่า่นมา โดยมโีครงการหลัก 2 โครงการ ซึง่คอ่นขา้งสำเรจ็สมบรูณ ์คอืโครงการงานรูจ้กัลกูคา้เพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาด ซึ่งได้พัฒนาเครื่องมือบริหาร

    กจิกรรมทางการตลาด เพือ่สง่เสรมิการขายไปยงักลุม่ลกูคา้เปา้หมาย ช่วยให้สามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการแก่ลูกค้าได้อย่างตรงใจ และโครงการงานระบบบัญชีการเงินสารสนเทศ ซึ่งได้พัฒนาระบบการบริหารจัดการทางการเงิน การจัดทำรายงานและงานบญัชใีหม ่เพือ่ยกระดบัการบรหิารจดัการขอ้มลูจากสว่นกลาง และรวบรวมขอ้มลูการเงนิของเครอืธนาคารกสกิรไทยไวโ้ดยอตัโนมตั ิสว่นอกี 2 โครงการหลกักม็คีวามคบืหนา้เปน็ทีน่า่พอใจในระดบัหนึง่ คือโครงการงานช่องทางการขายและบริการและโครงการงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมุ่งเน้นการสร้างความสามารถ ในการขายและใหบ้รกิาร การสรา้งประสบการณท์ีด่ ีมคีวามสอดคลอ้งกันในทุกช่องทางที่ลูกค้าติดต่อธนาคาร และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถตอบสนองความต้องการทางธุรกิจและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ตลอดจนคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว

    เครือธนาคารกสิกรไทย ยังคงยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจ

    ภายใตห้ลกัการกำกบัดแูลกจิการทีด่ ีและความรบัผดิชอบตอ่สงัคมตลอดมา จนเป็นที่ประจักษ์แก่สถาบันชั้นนำต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ที่ให้การยอมรับและมอบรางวัลเกียรติคุณต่าง ๆ แกเ่ครอืธนาคารกสกิรไทย ความสำเรจ็และความภาคภมูใิจเหลา่นี้ลว้นเปน็พลงัและกำลงัใจใหเ้รามุง่มัน่ทุม่เททัง้กำลงักาย สตปิญัญา และความรู ้เพือ่ปฏบิตังิานอยา่งเตม็ความสามารถและเปีย่มดว้ยประสทิธภิาพ เพือ่ใหส้มกบัทีเ่ราไดร้บัความไวว้างใจและการสนบัสนนุอยา่งดยีิง่ ทัง้จากลกูคา้และผูถ้อืหุน้อยา่งตอ่เนือ่งเสมอมา ในนามของคณะกรรมการ และพนกังานในเครอืธนาคารกสกิรไทย จงึขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้

    (นายบรรยงค์ ล่ำซำ) ประธานกรรมการ

  • รายงานของฝ่ายจัดการรายงาน

    ประจำป

    ี2551

    รายงานทางการเงิน การกำกับดูแลกิจการ

    8

    รายงานของฝ่ายจัดการ

    • รายงานของฝ่ายจัดการ

    • คำอธิบายและการวิเคราะห์

    ของฝ่ายจัดการ

    • การบริหารความเสี่ยงและ

    ปัจจัยความเสี่ยง

    รายงานของฝ่ายจัดการ

  • รายงาน

    ประจำป

    ี2551

    โครงสร้าง ข้อมูลอื่นๆ เครือธนาคารกสิกรไทย

    9

    ธนาคารยังคงให้ความสำคัญกับการตอบสนองความต้องการของแต่ละกลุ่มลูกค้าด้วยผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินที่ครบวงจรอยา่งมคีณุภาพโดยยดึถอืความตอ้งการของลกูคา้เปน็ศนูยก์ลาง(CustomerCentricity)โดยการสรา้ง“KNow”ซึง่เปน็องคค์วามรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับบริการทางการเงินภายใต้ปรัชญา“เครือธนาคารกสิกรไทยสำหรับชีวิตวันนี้...และตลอดไป”อีกทั้งธนาคารยังมี

    จุดมุ่งหมายที่จะเป็นผู้ที่ให้บริการที่ดีที่สุด(TheBest)ของทั้ง

    6ประเภทธรุกจิในเครอืธนาคารกสกิรไทยภายใตแ้บรนดห์นึง่เดยีว(1Brand6Companies)ในชื่อ“เครือธนาคารกสิกรไทย”(KASIKORNBANKGROUP)ด้วย

    ด้านผลการดำเนินงานของธนาคารในปี2551นั้นธนาคารและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิจำนวน15,333ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปี2550จำนวน328ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ2.19จากทั้งรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลรับสุทธิและรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อนโดยรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลรับสุทธิเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเงินให้สินเชื่อที่เพิ่มขึ้นเป็นหลักขณะที่รายได้

    ที่มิใช่ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นเนื่องจากรายได้ค่าธรรมเนียมกำไรจากการปริวรรตและกำไรจากเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้นเป็นสำคัญ

    สำหรับฐานะทางการเงินนั้นณวันที่31ธันวาคม2551ธนาคารและบรษิทัยอ่ยมสีนิทรพัยร์วมจำนวน1,303,554ลา้นบาทเพิม่ขึน้จำนวน309,036ลา้นบาทหรอืรอ้ยละ31.07จากณสิน้ปี2550อันมีสาเหตุหลักจากเงินให้สินเชื่อที่ยังขยายตัวได้ดีอย่าง

    ต่อเนื่องโดยณวันที่31ธันวาคม2551ธนาคารและบริษัทย่อยมียอดเงินให้สินเชื่อจำนวน904,008ล้านบาทเพิ่มขึ้นจำนวน141,503ลา้นบาทคดิเปน็รอ้ยละ18.56จากณสิน้ปี2550ดา้นอตัราสว่นเงนิใหส้นิเชือ่ดอ้ยคณุภาพ(สทุธจิากคา่เผือ่หนีส้งสยัจะสญู)ต่อเงินให้สินเชื่อตามหลักเกณฑ์ใหม่(NetNPLs)ณสิ้นปี2551อยู่ที่ร้อยละ1.47ลดลงจากณสิ้นปี2550ที่ร้อยละ2.29และอตัราสว่นเงนิใหส้นิเชือ่ดอ้ยคณุภาพตอ่เงนิใหส้นิเชือ่ตามหลกัเกณฑ์เดิม(GrossNPLs)อยู่ที่ร้อยละ3.09ลดลงจากณสิ้นปี2550ที่ร้อยละ4.45สำหรับหนี้สินของธนาคารและบริษัทย่อยณวันที่31ธันวาคม2551มีจำนวน1,189,892ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากณสิ้นปี2550จำนวน295,370ล้านบาทหรือร้อยละ33.02ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของยอดเงินฝากโดยณสิ้นปี2551เงินฝากมีจำนวน967,950ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากณสิ้นปี2550จำนวน184,128ล้านบาทหรือร้อยละ23.49ด้านส่วนของผู้ถือหุ้นของธนาคารและบริษัทย่อยณสิ้นปี2551มีจำนวน113,662ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากณสิ้นปี2550จำนวน13,667ล้านบาทหรือร้อยละ13.67ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากธนาคาร

    มีผลกำไรในปี2551ทั้งนี้ณวันที่31ธันวาคม2551อัตราส่วน

    รายงานของฝ่ายจัดการสำหรับปีสิ้นสุดณวันที่31ธันวาคม2551

    เงนิกองทนุตอ่สนิทรพัยเ์สีย่งของธนาคารอยูท่ีร่อ้ยละ15.05ซึง่สงูกว่าอตัราขัน้ตำ่ทีธ่นาคารแหง่ประเทศไทยกำหนดไวท้ีร่อ้ยละ8.50โดยแบง่เปน็อตัราสว่นเงนิกองทนุตอ่สนิทรพัยเ์สีย่งชัน้ที่1และชัน้ที่2เท่ากับร้อยละ9.84และ5.21ตามลำดับ

    ส่วนการดำเนินธุรกิจในปี2551นั้นการดำเนินงานของธุรกิจหลักยังคงแสดงถึงการเติบโตอย่างต่อเนื่องส่วนหนึ่งสะท้อนได้จากสินเชื่อที่ปล่อยให้กับลูกค้าของธนาคารซึ่งปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนในทุกกลุ่มธุรกิจลูกค้านำโดยการเพิ่มขึ้นของสินเชื่อธุรกิจลูกค้าผู้ประกอบการตามมาด้วยสินเชื่อธุรกิจลูกค้าบรรษัทและสินเชื่อธุรกิจลูกค้าบุคคลตามลำดับนอกจากนี้ธนาคารยังมีรายได้ค่าธรรมเนียมจากผลิตภัณฑ์บริหารความเสี่ยงต่างๆให้กับลูกค้าด้วยอย่างไรก็ตามการบริหารเงินของธนาคารมีรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลลดลงจากปี2550โดยมีสาเหตุหลักจากทิศทางอัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องและปริมาณการลงทุนที่ลดลง

    สำหรับบริษัทการเงินในเครือธนาคารกสิกรไทยที่ประกอบธุรกิจการให้บริการด้านสินเชื่อได้แก่บจก.แฟคเตอริ่งกสิกรไทยและบจก.ลีสซิ่งกสิกรไทยนั้นก็มีการขยายตัวของสินเชื่อจากปีกอ่นหนา้ขณะทีส่นิทรพัยภ์ายใตก้ารบรหิารจดัการ(AssetUnderManagement:AUM)ของบลจ.กสิกรไทยก็เติบโตสูงกว่าตลาดโดยรวมอกีทัง้บมจ.หลกัทรพัยก์สกิรไทยยงัมผีลการดำเนนิงานที่โดดเด่นโดยได้รับเลือกให้รับรางวัลบริษัทหลักทรัพย์ยอดเยี่ยม(BestSecuritiesCompany)ประจำปี2551จากตลาดหลกัทรพัย์แห่งประเทศไทยภายใน3ปีแรกของการเริ่มประกอบธุรกิจ

    รวมทั้งมีส่วนแบ่งการตลาดในธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ที่

    ก้าวกระโดดจากลำดับที่30เป็นลำดับที่26

    เพื่อให้การดำเนินธุรกิจของเครือธนาคารกสิกรไทยมีประสิทธิภาพสูงสุดจึงได้มีการพัฒนางานด้านบริการสนับสนุนงานตา่งๆไมว่า่จะเปน็งานดา้นทรพัยากรบคุคลและดา้นเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่งตอ่เนือ่งตลอดปี2551ควบคู่ไปกบัการพฒันาการบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆโดยเฉพาะเพื่อรองรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินโลกโดยได้มีการปรับกลยุทธ์และสัดส่วนการลงทุนในสินทรัพย์ต่างประเทศมาตั้งแต่ก่อนที่วิกฤต

    จะเริม่ขึน้หรอืตัง้แตก่ลางปี2550และไม่ไดม้กีารลงทนุในสนิเชือ่ที่ปล่อยให้กับลูกหนี้ที่มีความน่าเชื่อถือต่ำ(ซับไพร์ม)ขณะเดียวกันก็ได้มีการปรับกระบวนการการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตเพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในเรื่องคุณภาพสินทรัพย์และมีการนำการทดสอบภาวะวกิฤตมาใช้ในการประเมนิคา่ความเสยีหายทีอ่าจจะเกดิขึน้รวมทัง้มกีระบวนการในการรายงานความเสีย่งตอ่ผูบ้รหิารระดบัสงูอยา่งตอ่เนือ่งเพือ่ใหพ้รอ้มจดัการและวางมาตรการ

  • รายงานของฝ่ายจัดการรายงาน

    ประจำป

    ี2551

    การกำกับดูแลกิจการ

    10

    รายงานทางการเงิน

    ปอ้งกนัตา่งๆไดอ้ยา่งมปีระสทิธผิลและทนัการณ์สำหรบัการบรหิารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการนั้นได้มีการดำเนินการตามแผนงานโครงการการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจตลอดปีที่ผ่านมาเพื่อให้มั่นใจว่าธุรกรรมงานที่สำคัญจะสามารถดำเนินได้อย่างต่อเนื่องหรือกลับมาดำเนินการได้ในเวลาที่เหมาะสมในกรณีที่มีเหตุการณ์ที่ทำให้การปฏิบัติงานตามปกติต้องหยุดชะงักนอกจากนี้การดำเนนิงานตามโครงการBaselIIกป็ระสบความสำเรจ็เปน็อยา่งสงูโดยวธิทีีธ่นาคารเลอืกใช้ในการคำนวณเงนิกองทนุเพือ่รองรบัความเสี่ยงด้านเครดิตและความเสี่ยงด้านปฏิบัติการได้รับอนุมัติจากธนาคารแหง่ประเทศไทยเปน็ทีเ่รยีบรอ้ยและณวนัที่31ธนัวาคม2551ธนาคารได้เริ่มดำรงเงินกองทุนตามBaselIIซึ่งอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงที่สูงกว่าอัตราขั้นต่ำที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดแสดงถงึความแขง็แกรง่ของภาพรวมธนาคารและสร้างความเชื่อมั่นว่าจะสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงในสภาวการณ์ต่างๆทั้งในปัจจุบันและอนาคตต่อภาวะเศรษฐกิจและกฎเกณฑ์ต่างๆของทางการ

    ดว้ยความมุง่มัน่ในการพฒันางานดา้นตา่งๆดงักลา่วควบคู่ไปกับการให้ความสำคัญในด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีอย่าง

    ต่อเนื่องทำให้ธนาคารได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางจากสถาบันทั้งในและต่างประเทศสะท้อนจากการได้รับคัดเลือกให้รับรางวัลต่างๆหลากหลายรางวัลในปีที่ผ่านมา

  • รายงาน

    ประจำป

    ี2551

    โครงสร้าง ข้อมูลอื่นๆ เครือธนาคารกสิกรไทย

    11

    1.ภาพรวม

    1.1

    ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์และการเปลีย่นแปลงของกฎหมายทีเ่กีย่วกบัการดำเนนิงาน

    ภาวะเศรษฐกิจไทยปี2551และแนวโน้มปี2552

    •เศรษฐกิจไทยในปี2551ขยายตัวร้อยละ2.6ชะลอลง

    จากร้อยละ4.9ในปี2550อันเป็นผลจากการชะลอตัวของการใช้จ่ายภายในประเทศและการปรับลดของรายได้จากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวอันสืบเนื่องมาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองรวมทั้งการปรับลดของฐานะดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศอันเป็นผลจากภาวะการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก

    สำหรบัแนวโนม้ในปี2552นัน้คาดวา่เศรษฐกจิไทยอาจขยายตวัเพียงร้อยละ0.2ขณะที่มีความเป็นไปได้ที่อาจะหดตัวร้อยละ1.5ในกรณเีลวรา้ยโดยประเดน็หลกัทีต่อ้งตดิตามยังคงเป็นสถานการณ์เศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯในขณะที่คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยจะปรับตัวลดลงเป็นรอ้ยละ-1.0ถงึ1.0จากรอ้ยละ5.5ในปี2551ทีผ่า่นมาอนัเปน็ผลจากการปรบัลดของราคานำ้มนัโดยเฉพาะเมือ่เทยีบกบัปกีอ่นหนา้

    ประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย

    ภาวะอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์และการแข่งขัน•ในปี2551ที่ผ่านมาระบบธนาคารพาณิชย์ไทยมีกำไรสุทธิ

    ทีเ่พิม่ขึน้อยา่งมากจากปี2550เนือ่งจากการเพิม่ขึน้ของทัง้รายได้ดอกเบี้ยสุทธิและรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยสุทธิรวมถึงค่าใช้จ่าย

    เกี่ยวกับหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการปรับ

    โครงสร้างหนี้ที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญหลังจากที่ธนาคารพาณิชย์ไทยได้กันสำรองหนี้จนครบถ้วนตามเกณฑ์ของธปท.เกี่ยวกับการปฏบิตัติามมาตรฐานการบญัชสีากลฉบบัที่39(IAS39)ตัง้แต่ช่วงสิ้นปี2550ทั้งนี้การเติบโตของรายได้ดอกเบี้ยสุทธิเป็นผลส่วนหนึ่งจากการขยายสินเชื่อที่สูงกว่าเงินฝากซึ่งได้รับอานิสงส์จากการเรง่ตวัของสนิเชือ่โดยเฉพาะในชว่งงวดแรกของปีในขณะที่อตัราการขยายสนิเชือ่ดงักลา่วเริม่ชะลอลงชดัเจนขึน้ในชว่งปลายปีตามการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจไทยซึ่งได้รับผลกระทบจาก

    ปจัจยัลบตา่งๆอาทิปญัหาการเมอืงในประเทศและปญัหาสนิเชือ่ซับไพร์มที่แผ่ขยายผลกระทบออกไปทั่วโลกทั้งนี้ณสิ้นปี2551เงินให้สินเชื่อสุทธิของระบบธนาคารพาณิชย์ไทยเติบโตร้อยละ12.81จากสิ้นปี2550เทียบกับเงินฝากที่เพิ่มขึ้นร้อยละ9.86

    ด้านเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพนั้นอัตราส่วนเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ(สุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ)ต่อเงินให้สินเชื่อตามหลกัเกณฑ์ใหม่(NetNPLs)ณสิน้ปี2551อยูท่ีร่อ้ยละ3.22ซึ่งลดลงจากร้อยละ4.30ณสิ้นปี2550สอดคล้องกับการลดลงของอัตราส่วนเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพต่อเงินให้สินเชื่อตาม

    หลักเกณฑ์เดิม(GrossNPLs)จากร้อยละ7.86ณสิ้นปี2550มาที่ร้อยละ5.65ซึ่งสะท้อนความพยายามของธนาคารพาณิชย์

    ไทยในการประคบัประคองคณุภาพสนิทรพัย์ถงึแมว้า่ปจัจยัลบทางเศรษฐกิจได้มีส่วนส่งผลให้อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ

    ดังกล่าวขยับขึ้นในช่วงระหว่างปีก็ตามสำหรับอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงนั้นแม้ว่าจะขยับลดลงเล็กน้อยในช่วงไตรมาสสดุทา้ยของปีโดยมสีาเหตหุลกัคอืการบงัคบัใชม้าตรฐานเงินกองทุนใหม่BaselIIซึ่งทำให้ต้องมีการดำรงเงินกองทนุเพือ่รองรบัความเสีย่งดา้นปฏบิตักิารเพิม่เตมิจากความเสีย่งดา้นเครดติและดา้นตลาดแตอ่ตัราสว่นเงนิกองทนุดงักลา่วกย็งัอยูส่งูกวา่เกณฑ์ขัน้ตำ่ของธปท.และมรีะดบัพอเพยีงตอ่การขยายธรุกจิในอนาคตขณะที่การปฏิบัติตามมาตรฐานใหม่ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์

    สากลข้างต้นน่าจะช่วยเพิ่มความมั่นใจด้านเสถียรภาพของระบบธนาคารพาณิชย์ไทยในภาพรวมมากขึ้น

    อย่างไรก็ตามแนวโน้มธุรกิจธนาคารพาณิชย์ไทยในปี2552ยงัตอ้งเผชญิหลากหลายปจัจยัเสีย่งโดยเฉพาะจากโอกาสการชะลอตวัของเศรษฐกจิไทยและเศรษฐกจิโลกดงันัน้ธนาคารพาณชิยจ์งึ

    คงจะใช้ความระมัดระวังมากขึ้นในการประกอบธุรกิจอาทิการให้น้ำหนักกับการปล่อยสินเชื่อเชิงคุณภาพมากกว่าเป้าหมายในเชิง

    (หน่วย:ร้อยละการเปลี่ยนแปลงจากปีก่อนหน้ายกเว้นจะระบุเป็นอย่างอื่น)

    2552 2551

    การบริโภคภาคเอกชน -0.2ถึง0.3 2.5

    การลงทุนรวม -5.5ถึง-4.0 1.1

    การบริโภคภาครัฐ 6.8-8.5 0.4

    การส่งออก -16.0ถึง-10.0 16.8

    การนำเข้า -17.0ถึง-11.5 26.4

    ดุลการค้า(พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) 2.0-2.8 0.2

    ดุลบัญชีเดินสะพัด(พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) 1.4-3.0 -0.2

    อัตราเงินเฟ้อทั่วไป -1.0ถึง1.0 5.5

    ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ(GDP) -1.5ถึง0.2 2.6

    ที่มา:บริษัทศูนย์วิจัยกสิกรไทยจำกัดและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.)

    สืบเนื่องจากความเสี่ยงด้านเงินฝืดและแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจดังกล่าวทำให้คาดว่าในปี2552ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.)จะยังคงดำเนินนโยบายการเงินที่ผ่อนคลาย

    เพือ่กระตุน้เศรษฐกจิตอ่ไปโดยเฉพาะในชว่งครึง่แรกของปีทีอ่ตัราเงินเฟ้อน่าจะลดลงมาสู่ระดับต่ำสุดในขณะเดียวกันท่ามกลาง

    ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที่เพิ่มสูงขึ้นนั้นธนาคารพาณิชย์ในระบบคงจะเพิ่มความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อพร้อมๆ

    ไปกับดูแลฐานะสภาพคล่องให้มีปริมาณเพียงพอเพื่อที่จะสามารถ

    รองรับการดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องตลอดช่วงที่เหลือของปี

    คำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ

  • รายงานของฝ่ายจัดการรายงาน

    ประจำป

    ี2551

    การกำกับดูแลกิจการ

    12

    รายงานทางการเงิน

    ปริมาณรวมทั้งการหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้านราคาทั้งในด้านการ

    ระดมเงินฝากและเงินให้สินเชื่อเพื่อประคับประคองความสามารถในการทำกำไรขณะที่ธนาคารพาณิชย์ไทยอาจจำเป็นต้องหันมา

    พึง่พงิรายไดท้ีม่ิใชด่อกเบีย้โดยเฉพาะรายไดค้า่ธรรมเนยีมมากขึน้

    การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน• 1ข้อกฎหมายที่สำคัญซึ่งมีผลต่อการดำเนินงานของธนาคาร

    ในปี2551สามารถสรุปได้ดังนี้

    • พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงินพ.ศ.2551กฎหมายฉบบันีล้งประกาศในราชกจิจานเุบกษาเมือ่วนัที่

    5กมุภาพนัธ์2551และมผีลใชบ้งัคบัวนัที่3สงิหาคม2551ซึง่เพิม่อำนาจธนาคารแหง่ประเทศไทย(ธปท.)ในการกำกบัดูแลการประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ธุรกิจเงินทุนและธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันโดยมีการกล่าวถึงรายละเอียดที่เกี่ยวกับการถือหุ้นกรรมการ

    ผู้จัดการหรือผู้มีอำนาจในการจัดการการกำกับสถาบันการเงินการตรวจสอบสถาบันการเงินการแก้ไขฐานะหรือการดำเนินงานของสถาบันการเงินรวมถึงบทกำหนดโทษ

    ทั้งนี้กฎหมายดังกล่าวช่วยสร้างบรรทัดฐานในการดำเนินธุรกิจของสถาบันการเงินแต่ละประเภทให้อยู่ภายใต้หลกัเกณฑม์าตรฐานเดยีวกนัซึง่จะทำใหเ้กดิความเทา่เทยีมและความโปรง่ใสในการกำกบัดแูลสถาบนัการเงนิขณะเดยีวกันก็ได้ปรับปรุงมาตรฐานการกำกับดูแลให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอันทำให้ในภาพรวมแล้วการกำกบัดแูลสถาบนัการเงนิของทางการไทยมปีระสทิธภิาพมากขึน้สำหรบัธนาคารกสกิรไทยนัน้กฎหมายดังกล่าวไม่ได้มีผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจหลักของธนาคารอย่างมีนัยสำคัญเนื่องจากธนาคารได้ปฏิบัติตามข้อกำหนด

    ของกฎหมายและการกำกบัของธปท.อยา่งเขม้งวดอยูแ่ลว้

    • พระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครองเงินฝากพ.ศ.2551กฎหมายฉบบันีล้งประกาศในราชกจิจานเุบกษาเมือ่วนัที่

    13กุมภาพันธ์2551มีผลใช้บังคับวันที่11สิงหาคม2551โดยในปัจจุบันการคุ้มครองเงินฝากเป็นไปตามมติ

    คณะรัฐมนตรีที่กำหนดให้รัฐบาลคุ้มครองเงินฝากในสถาบันการเงินเต็มจำนวนทำให้เกิดภาระทางการคลังแก่รฐับาลมากเกนิไปอกีทัง้ยงัไมม่กีลไกดำเนนิการทีเ่หมาะสมดังนั้นเพื่อลดภาระทางการคลังของรัฐบาลดังกล่าวจึงมีการนำระบบการคุ้มครองเงินฝากแบบจำกัดวงเงินมาใช้

    ในช่วงที่ผ่านมาการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวไม่ได้มีผลกระทบต่อธนาคารเนื่องจากในปีแรกนับแต่กฎหมายใช้บังคับสถาบันคุ้มครองเงินฝากยังคงคุ้มครองเงินฝากเต็มตามจำนวนเงนิทีป่รากฏในบญัชขีองผูฝ้ากเงนิอยา่งไรกต็ามพฤตกิรรมของผูฝ้ากเงนิหรอืผูม้เีงนิออมอาจเปลีย่นแปลงไปโดยอาจให้น้ำหนักกับผลิตภัณฑ์ด้านการลงทุนมากขึ้นซึ่งธนาคารก็ได้มีการนำเสนอทางเลือกสำหรับการลงทุนและการออมของทั้งธนาคารและบริษัทในเครือธนาคารกสิกรไทยให้กับลูกค้าที่มีความต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการออมอย่างต่อเนื่องนอกจากนี้แม้ว่าในระยะต่อไปวงเงินฝากที่ได้รับความคุ้มครองจะถูกทยอยปรับลดลงแต่ธนาคารยังมีความแข็งแกร่งทางการเงินอยู่ในระดับสูงและมีภาพลักษณ์

    ที่ดีซึ่งน่าจะทำให้ผู้ฝากเงินยังคงมีความเชื่อถือต่อธนาคาร

    • มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีการลงทุนในRMFและLTF

    กระทรวงการคลงัไดอ้อกกฎกระทรวงฉบบัที่267(พ.ศ.2551)ลงวันที่21พฤศจิกายน2551ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากรกำหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในปีพ.ศ.2551สำหรับผู้ที่ลงทนุในหนว่ยลงทนุของกองทนุรวมเพือ่การเลีย้งชพี(RMF)และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว(LTF)เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่เกิน500,000บาทเป็น700,000บาทโดยมีสาระสำคัญดังนี้

    1)ผูท้ีซ่ือ้หนว่ยลงทนุในRMFระหวา่งวนัที่1ตลุาคม2551

    ถึง31ธันวาคม2551สามารถหักลดหย่อนได้ในอัตราร้อยละ15ของเงินได้พึงประเมินต่อปีแต่เมื่อรวมกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ(กบข.)แล้วต้องไม่เกินกว่า700,000บาท

    2)ผูท้ีซ่ือ้หนว่ยลงทนุในLTFระหวา่งวนัที่1ตลุาคม2551ถึง31ธันวาคม2551สามารถหักลดหย่อนได้ในอัตราร้อยละ15ของเงินได้พึงประเมินต่อปีแต่สูงสุดไม่เกิน700,000บาท

    ทัง้นี้กฎหมายฉบบันีม้ผีลใชบ้งัคบัเมือ่วนัที่16ธนัวาคม

    2551และใช้บังคับเฉพาะปีภาษี2551เท่านั้นในปีถัดไปผูล้งทนุในRMFและLTFยงัคงใชส้ทิธลิดหยอ่นภาษไีดส้งูสดุไม่เกินประเภทละ500,000บาทต่อไปตามปกติ

    กฎหมายดงักลา่วมสีว่นชว่ยกระตุน้การลงทนุในตลาดทนุ

    ไทยในภาวะที่ไดร้บัผลกระทบคอ่นขา้งรนุแรงจากปญัหาวกิฤต

    เศรษฐกิจสหรัฐฯอีกทั้งยังช่วยขยายฐานสินทรัพย์รวมของบลจ.กสกิรไทยซึง่เปน็บรษิทัในเครอืธนาคารกสกิรไทยดว้ย

    1 รายละเอียดที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานอื่นๆที่เกิดขึ้นระหว่างปี2551สามารถดูได้ในรายงานคำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการสำหรับไตรมาส

    สิ้นสุดวันที่31มีนาคม2551วันที่30มิถุนายน2551และวันที่30กันยายน2551

  • Image 1

    Image 2

    ประธานเจ้าหน้าที่บริหารแถลงความคืบหน้าของ K Now องค์ความรู้ต่อยอดบริการทางการเงิน

    ประธานเจ้าหน้าที่บริหารแสดงปาฐกถาพิเศษในโครงการส่งเสริมการจัดการ ที่ยั่งยืนของผู้ประกอบการ SME

    รายง

    านปร

    ะจำป

    ี 255

    1

    โครงสร้าง ข้อมูลอื่นๆ เครือธนาคารกสิกรไทย

    13

    • การเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของธนาคาร

    สภาวิชาชีพบัญชีได้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชี ไทยให้มุ่งไปสู่มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ IAS (International Accounting Standards) และ IFRSs (International Financial Reporting Standards) โดยในปี 2550 สภาวิชาชีพบัญชีได้ปรับปรุงและออกมาตรฐานการบัญชีใหม่ และให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรอืหลงัวนัที ่1 มกราคม 2551 ซึง่ธนาคารและบรษิทัยอ่ยไดจ้ดัทำรายงานขอ้มลูทางการเงนิตามมาตรฐานการบัญชีที่มีการประกาศใช้ โดยไม่มีผลกระทบต่อฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานของธนาคารและบริษัทยอ่ยทีเ่ปน็สาระสำคญั ทัง้นี ้มาตรฐานการบญัชดีงักลา่ว มดีงันี้ • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550)

    เรื่อง การรวมธุรกิจ

    1.2แนวทางการทำธุรกิจธนาคารกสิกรไทยปี2551และทิศทางปี2552•ในปี 2551 ธนาคารยังคงให้ความสำคัญกับการตอบสนอง

    ความต้องการของแต่ละกลุ่มลูกค้าด้วยผลิตภัณฑ์และบริการทาง การเงนิทีค่รบวงจรอยา่งมคีณุภาพ โดยยดึถอืความตอ้งการของลูกค้า เป็นศูนย์กลาง (Customer Centricity) ทั้งนี้ ธนาคารได้ศึกษา ความตอ้งการของลกูคา้โดยใหม้ผีูเ้ชีย่วชาญใน 7 กลุม่ลกูคา้ ไดแ้ก่กลุ่มลูกค้าสหบรรษัทธนกิจ (ธุรกิจขนาดใหญ่มาก) กลุ่มลูกค้า บรรษัทธนกิจ (ธุรกิจขนาดใหญ่ปานกลาง) กลุ่มลูกค้าผู้ประกอบ การขนาดกลาง กลุ่มลูกค้าผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดย่อม กลุ่มลูกค้าบุคคลพิเศษ (กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้สูง) กลุ่มลูกค้าบุคคล ขนาดกลาง (กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง) และกลุ่มลูกค้าบุคคล ทั่วไป ซึ่งได้มีการสำรวจความพึงพอใจ ความต้องการด้านการเงิน ตลอดจนความตอ้งการดา้นอืน่ ๆ ซึง่เปน็ทีม่าของโครงการ “K Now” ซึง่เปน็องคค์วามรูท้ีเ่กีย่วเนือ่งกบับรกิารทางการเงนิภายใตป้รัชญาใหม่

    • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบกระแสเงินสด

    • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาเช่า

    • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน

    • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง นโยบายบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางการบัญชีและข้อผิดพลาด

    • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล

    • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

    “เครือธนาคารกสิกรไทย สำหรับชีวิตวันนี้...และตลอดไป” โดยปรัชญาใหม่ของการให้บริการที่เหนือกว่าการบริการทางการเงนินี ้จะรวบรวมสาระขอ้มลู ความรู ้คำปรกึษาทีจ่ำเปน็ในชวีติและธุรกิจรอบด้านอย่างต่อเนื่องครบวงจร เป็นองค์ความรู้ที่สมบูรณ์และมีการสร้างเครือข่ายชุมชน โดยเครือธนาคารกสิกรไทยจะเป็นฐานในการประสานและรวมผู้ประกอบการธุรกิจในสายเดียวกันหรือเกี่ยวเนื่องกันเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้แก่ชุมชนธุรกิจต่อเนื่อง ไปในระยะยาว โดยระดมศักยภาพของพนักงานทั้งเครือธนาคารกสิกรไทย และเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาจัดการการให้บริการทุกกลุ่มลูกค้าทั้งลูกค้าบุคคลและลูกค้าธุรกิจ

  • ผลิตภัณฑ์ K-Local Factoring (สินเชื่อแฟคเตอริ่งในประเทศกสิกรไทย) ออกโดย บจก. แฟคเตอริ่งกสิกรไทย

    กองทุน K-Treasury ออกโดย บลจ. กสิกรไทย

    รายงานของฝ่ายจัดการรายงาน

    ประจำป

    ี2551

    การกำกับดูแลกิจการ

    14

    รายงานทางการเงิน

    สำหรบักลุม่ลกูคา้ประเภทนติบิคุคลในปี2551ธนาคารเนน้

    การให้บริการทางการเงินที่ครบวงจรและมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมให้

    ธุรกิจแข็งแกร่งเติบโตเป็น“ธุรกิจไร้ขีดจำกัด”โดยยังให้ความ

    สำคัญเป็นพิเศษกับธุรกิจลูกค้าผู้ประกอบการดังจะเห็นได้จาก

    การใหก้ารสนบัสนนุแบบครบถว้นรอบดา้นภายใต้โครงการKSMECareที่ใหบ้รกิารทัง้เงนิทนุคำแนะนำปรกึษาขอ้มลูประกอบการตัดสินใจในการทำธุรกิจและการให้ความรู้ซึ่งKSMECareเกิดจากความตั้งใจที่จะนำทรัพยากรของธนาคารเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาธุรกิจลูกค้าผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันเสริมประสิทธิภาพและสนับสนุนให้ธุรกิจเติบโตอย่างยั่งยืนโดยในช่วงที่ผ่านมาธนาคารยังเน้นเรื่องการสร้างความแตกต่างรวมถึงนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์และบริการอนัเปน็ปัจจัยที่สำคัญที่จะทำให้สามารถเข้าถึงความต้องการของลูกค้า

    ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยในการวางแผน

    ทุกช่วงชีวิตของลูกค้าโดยในช่วงต้นปี2551ธนาคารได้ร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจบริษัทโทเทิ่ลแอ็คแซ็สคอมมูนิเคชั่นจำกัด(มหาชน)หรือดีแทค(DTAC)ในการนำเสนอบริการATMSIMนอกจากนี้ธนาคารยังได้เพิ่มเวลาทำการของสาขาปกติ

    (KBankExtraHour)จากเดิมวันจันทร์-ศุกร์เปิดให้บริการใน

    เวลา8.30-15.30น.เปลี่ยนเป็นวันจันทร์-พฤหัสบดีเปิดให้บรกิารเวลา8.30-16.30น.และเพิม่เวลาในวนัศกุรเ์ปดิใหบ้รกิาร

    เวลา8.30-18.00น.

    ทั้งนี้ธนาคารยังคงมุ่งเน้นในการให้บริการแบบครบวงจร

    ภายใต้ชื่อเครือธนาคารกสิกรไทย(KASIKORNBANKGROUP)

    ซึง่ประกอบดว้ยบมจ.ธนาคารกสกิรไทย(KBank)บจก.แฟคเตอริง่

    กสกิรไทย(KFactoring)บลจ.กสกิรไทย(KAsset)บจก.ศนูยว์จิยั

    ได้อย่างรวดเร็วรวมทั้งช่วยให้ลูกค้าธุรกิจอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน

    ผา่นการนำเสนอผลติภณัฑต์า่งๆอาทิผลติภณัฑ์K-SMEExtend

    (สินเชื่อระยะยาวเพื่อธุรกิจเอสเอ็มอีกสิกรไทย)และผลิตภัณฑ์K-Max(สินเชื่อเกินหลักทรัพย์ค้ำประกันกสิกรไทย)

    นอกจากนี้ธนาคารยังเล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจในประเทศจีนโดยหลังจากที่ธนาคารได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจปล่อย

    สนิเชือ่ใหก้บัผูป้ระกอบการจนีไดแ้ลว้ธนาคารจงึไดเ้ขา้ไปเปดิสาขา

    แรกในเมืองเซินเจิ้นซึ่งเป็นเมืองเศรษฐกิจคู่แฝดของฮ่องกงและ

    เป็นเมืองที่รัฐบาลเลือกให้เป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจพิเศษ

    สำหรับกลุ่มลูกค้าบุคคลนั้นในปีที่ผ่านมาธนาคารเน้นให้

    บริการที่ผนวกความสะดวกสบายทำให้ชีวิตลูกค้ามีความง่ายและ

    เป็น“ชีวิตเอกเขนก”ที่สมบูรณ์แบบมากขึ้นด้วยการนำเสนอ

    กสกิรไทย(KReseach)บมจ.หลกัทรพัยก์สกิรไทย(KSecurities)

    และบจก.ลีสซิ่งกสิกรไทย(KLeasing)สะท้อนการทำธุรกิจเป็น

    เครือข่ายเพื่อตอบสนองความต้องการลูกค้าด้วยผลิตภัณฑ์ที่

    ครบวงจรและบริการที่มีคุณภาพอย่างสม่ำเสมอทุกช่องทางทุกเวลาโดยมีการผนึกกำลังที่สำคัญจากการวางแผนกลยุทธ์

    ร่วมกันโดยมีแนวทางการดำเนินธุรกิจและผลการดำเนินงานดังนี้

    • บจก.แฟคเตอริ่งกสิกรไทยให้บริการด้านธุรกิจแฟคเตอริ่งและบริการสินเชื่อเช่าซื้อและการเช่าแบบลีสซิ่งเชิงพาณิชย์

    โดยบริษัทเป็นผู้นำในธุรกิจแฟคเตอริ่งและมีผลการดำเนินงานที่ดีอย่างต่อเนื่องรวมถึงยังเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา

    K-SupplyChainSolutions(ผลิตภัณฑ์ชุดเครือข่ายธนกิจ

    กสิกรไทย)ของธนาคารทั้งนี้ในปี2551บริษัทมุ่งเน้นการ

  • K-Econ Analysis (บริการบทวิเคราะห์เศรษฐกิจ กสิกรไทย) ออกโดย บจก. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

    K Auto Finance (สนิเชือ่เชา่ซือ้รถยนตก์สกิรไทย) ออกโดย บจก. ลสีซิง่กสกิรไทย

    บรกิาร K-Stock 2 Fund (บรกิารซือ้ขายหลกัทรพัยอ์ตัโนมตัิผา่นกองทนุกสกิรไทย) ออกโดย บมจ. หลกัทรพัยก์สกิรไทย

    รายงาน

    ประจำป

    ี2551

    โครงสร้าง ข้อมูลอื่นๆ เครือธนาคารกสิกรไทย

    15

    ปล่อยสินเชื่อในผลิตภัณฑ์แฟคเตอริ่งที่เป็นส่วนหนึ่งของ

    K-SupplyChainSolutionsดังกล่าวเพื่อตอบสนองความ

    ต้องการลูกค้าในแต่ละกลุ่มธุรกิจอย่างครบวงจร

    • บลจ.กสิกรไทยให้บริการธุรกิจจัดการกองทุนรวมกองทนุส่วนบุคคลและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพอีกทั้งเป็นผู้นำในธุรกิจจัดการกองทุนโดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการกองทุน

    ให้มีผลการดำเนินงานของกองทุนประเภทที่สำคัญติดอันดับ

    กลุ่มผู้นำตลาด(TopQuartile)รวมถึงพัฒนากระบวนการให้บริการลูกค้าเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุด

    •บจก.ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมีการพัฒนาผลงานด้านการวิจัยอย่างต่อเนื่องเพื่อเติมเต็มความต้องการของลูกค้าในแต่ละ

    กลุม่ลกูคา้โดยในปี2551บรษิทัมุง่เนน้การประสานงานการจดัทำงานวจิยัภายในเครอืธนาคารกสกิรไทยรวมทัง้นำเสนอ

    • บจก.ลสีซิง่กสกิรไทยใหบ้รกิารสนิเชือ่เชา่ซือ้รถยนต์สนิเชือ่

    ให้เช่าแบบลีสซิ่งรถยนต์สินเชื่อเพื่อผู้จำหน่ายรถยนต์และ

    สินเชื่อรีไฟแนนซ์รถยนต์ทั้งนี้แม้ว่าบริษัทจะเพิ่งเริ่มเปิด

    ดำเนินการในปี2548แต่ก็มีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นอย่าง

    ตอ่เนือ่งโดยภายในชว่ง2ปทีีผ่า่นมาบรษิทัมอีตัราการเจรญิเตบิโตของเงนิใหส้นิเชือ่สงูกวา่รอ้ยละ100อนัสะทอ้นความสำเร็จของนโยบายที่มุ่งเน้นการปล่อยสินเชื่อที่มีคุณภาพและการสร้างบริษัทให้เป็นที่รู้จักในตลาดสินเชื่อเช่าซื้อและใหเ้ชา่แบบลสีซิง่นอกจากบรษิทัจะยงัคงมุง่เนน้การทำธรุกจิเช่าซื้อแล้วก็ยังให้ความสำคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานร่วมกนัระหวา่งเครอืธนาคารกสกิรไทยทัง้ในเชงิธรุกจิและการปฏิบัติการเพื่อให้ลูกค้าได้รับบริการด้วยความ

    พึงพอใจสูงสุด

    งานวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในทุกๆกลุ่มเป้าหมาย

    • บมจ.หลักทรัพย์กสิกรไทยให้บริการธุรกิจนายหน้าซื้อขาย

    หลักทรัพย์และธุรกิจวาณิชธนกิจทั้งนี้แม้ว่าบริษัทจะเพิ่ง

    เริ่มเปิดดำเนินการในปี2548แต่ก็มีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นอยา่งตอ่เนือ่งโดยธรุกจิวาณชิธนกจิมุง่เนน้การใหบ้รกิารแบบครบวงจรรว่มกบัฝา่ยวาณชิธนกจิของธนาคารในขณะที่ธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพของงานวจิยัใหส้งูขึน้เพือ่ดงึดดูนกัลงทนุสถาบนันอกจากนี้ยงัจะเพิม่ประสทิธภิาพการทำงานรว่มกนัระหวา่งเครอืธนาคารกสิกรไทยซึ่งจะช่วยให้ธุรกิจวาณิชธนกิจของบริษัทมีความแขง็แกรง่มากยิ่งขึ้นด้วย

    สำหรบัในปี2552ธนาคารยงัคงมุง่เนน้การตอบสนองความ

    ต้องการของลูกค้าเป็นหลักภายใต้แบรนด์หนึ่งเดียว(1Brand6

    Companies)ในชื่อ“เครือธนาคารกสิกรไทย”(KASIKORNBANKGROUP)โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะเป็นผู้ที่ให้บริการที่ดีที่สุด(TheBest)ของธุรกิจทั้ง6ประเภทโดยตั้ง

    เป้าหมายให้ลูกค้าได้รับความสะดวกสบายและได้รับบริการที่

    ครบถว้นในทกุๆชอ่งทางจากกลุม่ผลติภณัฑ์4กลุม่ไดแ้ก่ฝากถอนโอนและปฏิบัติการ(Operation&Transaction)ออมเงินและลงทุน(Saving&Investment)ระดมทนุและกูย้มื(Funding&Borrowing)และปอ้งกนัความเสีย่งและสารสนเทศ(Protection&Information)โดยทิศทางในปี2552เครือธนาคารกสิกรไทยมีจุดยืนในการเป็นSolutionBankingนั่นคือการมีความรู้ทางด้าน

  • Image7

    Image8

    บรรยากาศงานประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ณ ธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ่ ธนาคารรับรางวัลบรรษัทภิบาลดีเด่น และรางวัลบริษัทจดทะเบียนด