30

àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก
Page 2: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก
Page 3: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

àÈÃÉ°ÈÒÊμÃ�(Economics)

Page 4: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

àÈÃÉ°ÈÒÊμÃ� (Economics)

ผูเขียน : ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน สถาบันกองทุนเพ่ือพัฒนาตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอำนวยการผลิต : ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน สถาบันกองทุนเพ่ือพัฒนาตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ออกแบบปก : วรวิทย ชินเจริญกิจพิมพคร้ังที่ 1 : พฤษภาคม 2548 จำนวน 2,000 เลมพิมพคร้ังที่ 2 : กุมภาพันธ 2549 จำนวน 2,000 เลมพิมพคร้ังที่ 3 : พฤศจิกายน 2550 จำนวน 2,000 เลมพิมพคร้ังที่ 4 : มีนาคม 2554 จำนวน 2,000 เลมราคา : 500 บาทISBN : 974-93089-6-4

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ

เศรษฐศาสตร. -- กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. 504 หนา. 1. เศรษฐศาสตร. I. ชื่อเรื่อง.330ISBN 974-93089-6-4

พิมพที่ : บริษัท อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) 65/16 ถนนชัยพฤกษ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 โทร. 0-2882-1010 โทรสาร 0-2433-2742, 0-2434-1385 E-mail : [email protected] Homepage : http://www.amarin.com

สงวนลิขสิทธิ์หามทำลอกเลียนไมวาสวนใดสวนหนึ่งของหนังสือ นอกจากจะไดรับอนุญาต

Page 5: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

¤Ó¹Ó

แนวคิดและวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัดใหเกิดประสิทธิภาพหรือ สวัสดิการสูงสุด มีความสำคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากสงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ โดยรวมและพัฒนาการของประเทศ จึงจำเปนตองอาศัยความรูทางเศรษฐศาสตรมาแกปญหา ทางเศรษฐกิจ ที่วา จะผลิตอะไร ผลิตอยางไร และผลิตเพื่อใคร เพื่อที่จะใหกระบวนการ ตางๆ บรรลุประสิทธิภาพสูงสุด

หนังสือเรื่อง เศรษฐศาสตร (Economics) ซึ่งจัดอยูในกลุมวิชา เครื่องมือ เพื่อการวิเคราะหการลงทุน ไดรับการออกแบบเพื่อสรางพื้นฐานความเขาใจเกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร โดยเน้ือหาแบงเปนสามสวนหลัก ไดแก เศรษฐศาสตรจุลภาค เศรษฐศาสตร มหภาค และเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ ในสวนที่หนึ่ง ซึ่งเกี่ยวของกับเศรษฐศาสตร จุลภาคนั้น เนื้อหาไดบรรยายครอบคลุมเรื่องอุปสงค อุปทาน และกลไกตลาด รวมทั้ง การประยุกตใชแนวคิดเกี่ยวกับอุปสงคและอุปทานในเรื่องตางๆ นอกจากนี้ ยังอธิบาย ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค ทฤษฎีอรรถประโยชน และทฤษฎีความพอใจเทากัน จากนั้น เน้ือหาไดพรรณนาถึงพฤติกรรมของหนวยผลิต ท้ังเร่ืองของการผลิตและตนทุน การกำหนด ปริมาณการผลิตและราคาของหนวยผลิต ภายใตโครงสรางตลาดแบบตางๆ อันไดแก ตลาดผูรับราคา ตลาดผูแสวงราคา และตลาดทรัพยากรการผลิต และในบทสุดทายของ สวนนี้ไดกลาวถึงตลาดการเงินและอัตราดอกเบี้ย สำหรับสวนที่สอง เปนเรื ่องของ เศรษฐศาสตรมหภาค ซึ่งไดอธิบายถึงระบบเศรษฐกิจและรายไดประชาชาติ เพื ่อ ใหเขาใจความหมายและวิธีการวัดผลิตภัณฑในประเทศ และบรรยายตอเนื่องถึงความ ผันผวนของระบบเศรษฐกิจ ทั้งในเรื่องของวัฏจักรธุรกิจและเงินเฟอ รวมถึงดุลยภาพ ของระบบเศรษฐกิจตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร จากนั้น เนื ้อหาไดครอบคลุมถึงนโยบายตางๆ ทั้งนโยบายการคลังและนโยบายการเงิน รวมถึงการประยุกตใช และ ในสวนที ่สามของหนังสือเลมนี ้ ไดกลาวถึง เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ โดย ครอบคลุมทฤษฎีการคาระหวางประเทศ รวมถึงรายละเอียดตางๆ ที่เกี่ยวของกับอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ทั้งระบบอัตราแลกเปลี่ยน ปจจัยที่มีผลกระทบตออัตรา แลกเปล่ียน และทฤษฎีเสมอภาคของอัตราแลกเปล่ียน

Page 6: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

ผูจัดทำขอขอบพระคุณ คุณพันธศักด์ิ เวชอนุรักษ รองกรรมการผูอำนวยการ สถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนอยางสูง ที่ไดกรุณาสงเสริมและสนับสนุนโครงการพัฒนาหลักสูตรและการจัดทำหนังสือเลมนี้ ใหดำเนินไปจนประสบความสำเร็จ เพื่อเปนสวนหนึ่งในการเสริมสรางศักยภาพของ ผูประกอบวิชาชีพในธุรกิจหลักทรัพยใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐาน ทัดเทียมกับสากล นอกจากนี้ คุณพันธศักดิ์ เวชอนุรักษ ยังไดกรุณาดำรงตำแหนง ประธานคณะทำงานกำหนดมาตรฐานหลักสูตร CISA (Certified Investment and Securities Analyst) โดยในโอกาสเดียวกันน้ี ผูจัดทำขอขอบพระคุณ คณะทำงานกำหนด มาตรฐานหลักสูตร ประกอบดวย คุณตระการ นพเมือง ผูอำนวยการฝายใบอนุญาต ธุรกิจหลักทรัพย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย คุณภรณี ทองเย็น,CISA ผูชวยกรรมการผูอำนวยการ บริษัทหลักทรัพย เอเชีย พลัส จำกัด (มหาชน) และอุปนายกสมาคมนักวิเคราะหหลักทรัพย รศ.ดร.เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน อาจารยประจำคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร และกรรมการ สมาคมนักวิเคราะหหลักทรัพย คุณวิริยา ลาภพรหมรัตน ผู อำนวยการอาวุโส ฝายวิเคราะหหลักทรัพย บริษัทหลักทรัพย เกียรตินาคิน จำกัด คุณมนรัฐ ผดุงสิทธิ ์ กรรมการผูจัดการ บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวม วรรณ จำกัด รศ.ดร.พรอนงค บุษราตระกูล อาจารยประจำคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รศ.ดร.กุลภัทรา สิโรดม คณบดีคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ผศ.ดร.กำพล ปญญาโกเมศ,CFA อาจารยประจำคณะบริหารธุรกิจ สถาบัณบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร และ ดร.กฤษฎา เสกตระกูล ผูอำนวยการฝาย พัฒนาความรูผูประกอบวิชาชีพหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนอยางสูง ซึ่งไดกรุณาทำหนาที่พิจารณากำหนดมาตรฐานหลักสูตร โครงสรางและเนื้อหาหลักสูตร รายละเอียดวิชา รวมทั้งตำราประกอบการเรียนการสอน และไดใหคำแนะนำที่เปน ประโยชนอยางย่ิงตอการพัฒนาหลักสูตร

นอกจากนี้ ผูจัดทำขอขอบพระคุณ สมาคมนักวิเคราะหหลักทรัพย ในฐานะ ผูริเริ่มและดำเนินการโครงการอบรมและทดสอบความรูในหลักสูตร CISA และกรรมการ สมาคมนักวิเคราะหหลักทรัพย ที่ไดกรุณาเปนคณะกรรมการกลั่นกรองขอสอบสำหรับ หลักสูตร CISA รวมทั้งขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซึ่งไดกรุณาปรับปรุงเนื้อหาสำหรับการ

Page 7: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

จัดพิมพครั้งที่ 4 ในสวนที่ 1 เศรษฐศาสตรจุลภาค ผศ.ดร.กัลปพฤกษ ผิวทองงาม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งไดกรุณาพัฒนาเนื้อหาในสวนที่ 2 เศรษฐศาสตรมหภาค และ คุณนำชัย เตชะรัตนวิโรจน ผูชวยกรรมการผูจัดการ บริษัทหลักทรัพย ยูไนเต็ด จำกัด (มหาชน) ซึ่งไดกรุณาพัฒนาเนื้อหาในสวนที่ 3 เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ เพื่อใหผูสนใจจะศึกษาหาความรูเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร แขนงตางๆ ไดใชเปนแหลงประกอบการคนควาอีกแหลงหนึ่ง อันจะเปนประโยชน อยางย่ิงตอการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศตอไป

ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน สถาบันกองทุนเพ่ือพัฒนาตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีนาคม 2554

Page 8: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก
Page 9: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

ÊÒúÑÞ

สวนท่ี 1 เศรษฐศาสตรจุลภาคบทที่ 1 ภาพรวมเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร 3 1.1 ความหมายของเศรษฐศาสตร 4 1.2 ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 6 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความสัมพันธในระบบเศรษฐกิจ 8 1.3.1 ระบบเศรษฐกิจ 8 1.3.2 ความสัมพันธของหนวยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจ 9 1.4 แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร 12

บทที่ 2 อุปสงค อุปทาน และกลไกตลาด 15 2.1 อุปสงค 16 2.1.1 ความหมายและกฎของอุปสงค 16 2.1.2 ตารางอุปสงคและเสนอุปสงค 17 2.1.3 สวนเกินผูบริโภค 19 2.1.4 การเปล่ียนแปลงปริมาณซื้อและการเปล่ียนแปลงในอุปสงค 21 2.1.5 ปจจัยที่กำหนดอุปสงคตลาด 24 2.1.6 ความยืดหยุนของอุปสงค 27 2.2 อุปทาน 48 2.2.1 ความหมายและกฎของอุปทาน 48 2.2.2 ตารางอุปทานและเสนอุปทาน 49 2.2.3 สวนเกินผูผลิต 51 2.2.4 การเปล่ียนแปลงในปริมาณขายและ การเปล่ียนแปลงในอุปทาน 52 2.2.5 ปจจัยที่กำหนดอุปทานตลาด 55 2.2.6 ความยืดหยุนของอุปทาน 56 2.3 การกำหนดราคาดุลยภาพของตลาด 60

Page 10: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

2.4 การเปล่ียนแปลงดุลยภาพของตลาด 62 2.5 เวลาและกระบวนการปรับตัว 64 2.6 กลไกตลาดกับประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ : หลักของมือที่มองไมเห็น 66

บทที่ 3 การประยุกตอุปสงคและอุปทาน 71 3.1 ตลาดแรงงาน ตลาดเงินกู และตลาดเงินตราตางประเทศ 72 3.1.1 ตลาดแรงงานและอัตราคาจาง 72 3.1.2 ตลาดเงินกูและอัตราดอกเบี้ย 74 3.1.3 ตลาดเงินตราตางประเทศและอัตราแลกเปล่ียน 76 3.2 การควบคุมราคา 79 3.2.1 การกำหนดราคาขั้นสูง 79 3.2.2 การกำหนดราคาขั้นต่ำ 82 3.3 การเก็บภาษี 84 3.3.1 ผลของการเก็บภาษีและภาระภาษี 85 3.3.2 ความยืดหยุนกับผลกระทบของภาษี และประโยชนสาบสูญ 89

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภคและอุปสงค 91 4.1 ทฤษฎีอรรถประโยชน 92 4.1.1 ความหมายและชนิดของอรรถประโยชน 92 4.1.2 ลักษณะของอรรถประโยชนรวมกับอรรถประโยชนสวนเพิ่ม 94 4.1.3 กฎแหงการลดนอยถอยลงของอรรถประโยชนสวนเพิ่ม 97 4.1.4 ดุลยภาพของผูบริโภคตามนัยแหงทฤษฎีอรรถประโยชน 98 4.1.5 การหาเสนอุปสงคสวนบุคคลและอุปสงคตลาด 102 4.2 ทฤษฎีความพอใจเทากัน 104 4.2.1 ขอสมมติเบื้องตนของทฤษฎีความพอใจเทากัน 105 4.2.2 เสนความพอใจเทากัน 107 4.2.3 เสนงบประมาณ 111 4.2.4 ดุลยภาพของผูบริโภค 116

Page 11: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

4.2.5 การเปล่ียนแปลงดุลยภาพของผูบริโภคและ อุปสงคสวนบุคคล 119 4.2.6 ผลทางรายไดและผลทางการทดแทน 122

บทที่ 5 การผลิตและตนทุน 127 5.1 ความหมายของการผลิต 128 5.2 ความหมาย ประเภท และเปาหมายของหนวยผลิต 129 5.3 การใชปจจัยการผลิต 131 5.4 ความหมายของระยะสั้นและระยะยาว 132 5.5 การผลิตระยะสั้น 133 5.5.1 ผลไดจากการใชปจจัยที่ไมไดสัดสวนกัน 133 5.5.2 ลักษณะและความสัมพันธของผลผลิตชนิดตางๆ 135 5.5.3 กฎแหงการลดนอยถอยลงของผลได 138 5.6 การผลิตในระยะยาวและผลไดตอขนาด 139 5.7 ตนทุนการผลิต 141 5.7.1 ความหมายของตนทุนประเภทตางๆ 141 5.7.2 ตนทุนการผลิตในระยะสั้น 143 5.8 ตนทุนในระยะยาว 154 5.9 การประหยัดและไมประหยัดจากขนาด 156 5.10 ปจจัยที่เปนสาเหตุใหเสนตนทุนเคลื่อนยายไปจากเดิม 158

บทที่ 6 ตลาดผูรับราคา 161 6.1 ผูรับราคาและผูแสวงราคา 162 6.2 ตลาดท่ีหนวยผลิตเปนผูรับราคา 163 6.3 อุปสงคและรายรับท่ีผูรับราคาเผชิญ 164 6.4 ดุลยภาพในระยะสั้นของหนวยผลิตผูรับราคา 165 6.4.1 ดุลยภาพของผูรับราคา กรณีมีกำไร 166 6.4.2 ดุลยภาพของผูรับราคา กรณีขาดทุนกับการออกจากธุรกิจ 167 6.4.3 เสนอุปทานในระยะสั้นของหนวยผลิตผูรับราคา 169 6.5 ดุลยภาพในระยะยาวของหนวยผลิตผูรับราคา 172

Page 12: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

6.6 การปรับตัวของตลาดและอุปทานในระยะยาว 175 6.7 การแขงขันและประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ 179

บทที่ 7 ตลาดผูแสวงราคา 181 7.1 อุปสรรคตอการเขาสูตลาด 183 7.2 ตลาดผูแสวงราคาที่มีอุปสรรคตอการเขาสูตลาดในระดับสูง 184 7.2.1 ตลาดผูกขาด 185 7.2.2 ตลาดผูขายนอยราย 193 7.2.3 ขอบกพรองของตลาดที่มีอุปสรรคตอการเขาสูตลาด ในระดับสูง 198 7.2.4 นโยบายในการควบคุมหนวยผลิต กรณีที่มีอุปสรรคตอ การเขาสูตลาดคอนขางสูง 199 7.3 ตลาดผูแสวงราคาที่มีอุปสรรคตอการเขาสูตลาดในระดับต่ำ 202

บทที่ 8 ตลาดทรัพยากรการผลิต 213 8.1 อุปสงคสำหรับทรัพยากรการผลิต 214 8.1.1 ความหมายและลักษณะของอุปสงคสำหรับ ทรัพยากรการผลิต 214 8.1.2 ระยะเวลากับอุปสงคสำหรับทรัพยากรการผลิต 216 8.1.3 การเปล่ียนแปลงในอุปสงคสำหรับทรัพยากรการผลิต 218 8.1.4 ผลิตภาพสวนเพ่ิมกับการตัดสินใจใชทรัพยากร 219 8.1.5 อุปสงคสำหรับทรัพยากรของหนวยผลิต 224 8.2 อุปทานของทรัพยากรการผลิต 226 8.3 ดุลยภาพในตลาดทรัพยากร 228

บทที่ 9 ตลาดการเงินและอัตราดอกเบี้ย 231 9.1 ความหมายและประเภทของตลาดการเงิน 232 9.2 องคประกอบของตลาดการเงิน 233 9.3 อัตราดอกเบี้ยและโครงสรางอัตราดอกเบี้ย 234 9.3.1 ตนทุนของเงิน 235 9.3.2 ระดับอัตราดอกเบี้ยตลาด 236

Page 13: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

9.3.3 โครงสรางอัตราดอกเบี้ยและปจจัยที่กำหนดอัตราดอกเบี้ย 237 9.4 อัตราดอกเบี้ยกับการตัดสินใจทางธุรกิจ 249

เอกสารอางอิง 253

สวนท่ี 2 เศรษฐศาสตรมหภาคบทที่ 10 ระบบเศรษฐกิจและรายไดประชาชาติ 257 10.1 ผลิตภัณฑในประเทศ 259 10.1.1 การวัดผลิตภัณฑในประเทศ 262 10.1.2 การวัดผลิตภัณฑในประเทศที่แทจริง 271 10.1.3 ปญหาในการวัดผลิตภัณฑในประเทศ 276 10.1.4 การเปรียบเทียบผลิตภัณฑในประเทศ 278 10.2 ตัวช้ีวัดรายไดตัวอ่ืนๆ 282

บทที่ 11 ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจ 285 11.1 วัฏจักรธุรกิจ 286 11.2 การวางงาน 287 11.2.1 เหตุผลของการวางงาน 290 11.2.2 ประเภทของการวางงาน 291 11.2.3 การเคล่ือนไหวของอัตราวางงานในอดีต 294 11.2.4 การจางงานเต็มท่ี 295 11.3 GDP ที่เกิดข้ึนจริง และ GDP ที่ผลิตไดเต็มศักยภาพ 298 11.4 เงินเฟอ 298 11.5 ความสัมพันธของอัตราวางงานและอัตราเงินเฟอ 300

บทที่ 12 ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ 303 12.1 อุปสงคมวลรวม 304 12.2 อุปทานมวลรวม 308 12.3 ดุลยภาพตามกลไกของแบบจำลองอุปสงคและอุปทานมวลรวม 312 12.3.1 การเปล่ียนแปลงของดุลยภาพแบบคาดการณ 315 12.3.2 การเปล่ียนแปลงของดุลยภาพแบบไมคาดการณ 316

Page 14: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

12.4 ระดับราคา เงินเฟอ และแบบจำลอง AD และ AS 320 12.5 การเกิดวัฏจักรเศรษฐกิจ 322 12.6 กลไกการปรับตัวของระบบเศรษฐกิจ 325 12.7 ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งยิ่งใหญกับเศรษฐศาสตรมหภาค 327 12.8 แบบจำลองคาใชจายและผลผลิตของเคนส 328 12.8.1 ดุลยภาพของเคนส 331 12.8.2 แบบจำลองของเคนสที่อยูในกรอบของ AD และ AS 336 12.8.3 วัฏจักรธุรกิจในความคิดของเคนส 342

บทที่ 13 นโยบายการคลัง 345 13.1 การใชนโยบายการคลัง 346 13.2 การใชนโยบายการคลังตามแบบจำลองของเคนส 348 13.3 การใชนโยบายการคลังตามแบบจำลอง Crowding-out 351 13.4 การใชนโยบายการคลังตามแบบจำลองคลาสสิกยุคใหม 353 13.5 การใชนโยบายการคลังตามแบบจำลอง Supply-side 355 13.6 นโยบายการคลังกับปญหาดานความเหมาะสมของเวลา 357 13.7 เครื่องมือสรางเสถียรภาพอัตโนมัติ 359 13.8 แนวคิดท่ีมีตอการใชนโยบายการคลัง 361

บทที่ 14 ระบบการเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน 363 14.1 ความหมายของเงิน 366 14.2 ระบบธนาคาร 369 14.2.1 การรับประกันเงินฝาก 371 14.2.2 การสรางเงินของระบบธนาคาร 372 14.2.3 ธนาคารแหงประเทศไทย 374 14.2.4 ความหมายและการวัดปริมาณเงิน 383 14.3 อุปสงคและอุปทานของเงิน 385 14.4 กลไกของนโยบายการเงิน 388 14.4.1 การดำเนินนโยบายการเงิน แบบขยายตัวอยางไมไดคาดคิด 389

Page 15: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

14.4.2 การดำเนินนโยบายการเงิน แบบหดตัวอยางไมไดคาดคิด 391 14.4.3 นโยบายการเงินในระยะยาว 393 14.5 การประยุกตใชนโยบายการเงิน 397 14.6 อัตราดอกเบี้ยและนโยบายการเงิน 401 14.6.1 ความเร็วในการหมุนของเงินและระยะเวลาปรับตัวของ นโยบายการเงิน 402 14.6.2 การใชอัตราดอกเบี้ยเปนตัวบงชี้นโยบายการเงิน 403

บทที่ 15 การประยุกตใชนโยบายทางเศรษฐกิจ 405 15.1 แนวคิดในการใชนโยบายเศรษฐกิจ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 406 15.2 บทบาทของการคาดคะเน 411 15.2.1 Adaptive Expectation 411 15.2.2 Rational Expectation 412 15.2.3 ความแตกตางของทฤษฎี Adaptive Expectation และ Rational Expectation 413 15.3 นโยบายมหภาคที่เกิดจาก Adaptive Expectation และ Rational Expectation 414 15.4 เสนโคงฟลลิปสและทฤษฎีการคาดการณ 418

เอกสารอางอิง 426

สวนท่ี 3 เศรษฐศาสตรระหวางประเทศบทที่ 16 ทฤษฎีการคาระหวางประเทศ 429 16.1 ขนาดของภาคการคาระหวางประเทศ 430 16.2 ประโยชนของการคาระหวางประเทศ 431 16.2.1 สาเหตุที่การคาระหวางประเทศทำใหการบริโภคเพิ่มข้ึน 433 16.2.2 ระดับการเปดประเทศ รายได และมาตรฐานการครองชีพ 435 16.3 อุปสงค อุปทาน และการคาระหวางประเทศ 437

Page 16: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

16.4 มาตรการการจำกัดการคา 439 16.4.1 ภาษีศุลกากร 439 16.4.2 โควตา 441 16.4.3 การควบคุมการปริวรรตเงินตราตางประเทศ 443 16.5 สาเหตุที่ตองมีการใชมาตรการจำกัดการคา 444 16.6 หลักฐานเชิงประจักษของผลกระทบในการเปดการคาเสรี 446

บทที่ 17 อัตราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ 451 17.1 การกำหนดอัตราแลกเปล่ียน 452 17.1.1 ระบบท่ีใชกำหนดคาอัตราแลกเปล่ียน 453 17.1.2 อัตราเสนอซื้อ อัตราเสนอขาย และสวนตาง 455 17.2 อัตราแลกเปล่ียนซื้อขายลวงหนา 457 17.3 ความสัมพันธระหวางสวนตางของอัตราดอกเบี้ยกับ อัตราแลกเปล่ียนซื้อขายลวงหนา 459

บทที่ 18 ทฤษฎีเสมอภาคของอัตราแลกเปลี่ยน 467 18.1 ปจจัยพื้นฐานที่มีผลตออัตราแลกเปล่ียน 468 18.1.1 อุปสงคและอุปทานของเงินตราตางประเทศ 468 18.1.2 ดุลการชำระเงิน 470 18.1.3 การเกินดุลและขาดดุลบัญชีเดินสะพัดกับบัญชีเงินทุน 471 18.1.4 ปจจัยที่สงผลกระทบตอคาเงิน 474 18.2 ระบบอัตราแลกเปล่ียน 478 18.2.1 ระบบอัตราแลกเปล่ียนแบบลอยตัว 478 18.2.2 ระบบอัตราแลกเปล่ียนแบบคงท่ี 479 18.2.3 ระบบอัตราแลกเปล่ียนแบบท่ีผูกคาไวกับเงินสกุลอ่ืน 480 18.3 เงื่อนไขเสมอภาคของอัตราแลกเปล่ียน 481 18.3.1 เงื่อนไขเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยระหวางประเทศ 482 18.3.2 เงื่อนไขเสมอภาคแหงอำนาจซื้อ 484

เอกสารอางอิง 488

Page 17: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

1

ʋǹ·Õè 1àÈÃÉ°ÈÒÊμÃ�¨ØÅÀÒ¤

Page 18: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก
Page 19: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

3

º··Õè 1ÀÒ¾ÃÇÁà¡ÕèÂǡѺàÈÃÉ°ÈÒÊμÃ�

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤�

1. เพื่อใหเขาใจความหมายและความเกี่ยวของกันของสวัสดิการ (welfare) สินคาและบริการ (goods and services) และทรัพยากร (resources)

2. เพ่ือใหสามารถแจกแจงปญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจได (basic economic problems)

3. เพื่อใหเข าใจและสามารถอธิบายถึงร ูปแบบของระบบเศรษฐกิจ (economic system) และความสัมพันธระหวางหนวยเศรษฐกิจ (economic unit) ตางๆ ในระบบเศรษฐกิจได

4. เพื่อใหสามารถอธิบายถึงความแตกตางระหวางเศรษฐศาสตรจุลภาค (microeconomics) และเศรษฐศาสตรมหภาค (macroeconomics) ได

ในบทนี้เราจะไดศึกษาถึงภาพรวมเกี ่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร โดยเริ ่มจาก ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร และคำที่เกี่ยวของกับนิยามและที่มาของวิชา เศรษฐศาสตร เชน ความตองการสินคาและบริการ ทรัพยากรการผลิต ความหามา ไดยาก การเลือก และตนทุนคาเสียโอกาส ตอจากนั้นเราจะไดทำความเขาใจกับปญหา พื้นฐานทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจกับการแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ วิธีการ ศึกษาและเครื่องมือในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร ความรูจากการศึกษาในบทนี้จะเปน พื้นฐานอันสำคัญสำหรับการศึกษาในบทตอๆ ไป

Page 20: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

4

เศรษฐศาสตรบทที่ 1: ภาพรวมเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

1.1 ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧàÈÃÉ°ÈÒÊμÃ�

เศรษฐศาสตร (economics) หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกใช ทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัด เพื่อใหการผลิตและการแบงปนสินคาและบริการ สามารถ ตอบสนองความตองการของมนุษยและสังคม จนบรรลุสวัสดิการสูงสุด

ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตรขางตน เปนการประมวลแนวคิดและถอยคำ จากคำนิยามตางๆ ที่มีอยู ทั้งนี้และทั้งนั้น ก็เพื่อที่จะประสานแนวคิดที่มีจุดเนนตางกัน ของคำนิยามคือ การเนนที่ ความหามาไดยาก (scarcity) ของทรัพยากร กับ การเนนที ่สวัสดิการทางเศรษฐกิจ (economic welfare) ซึ่งตางก็มีขอบกพรองดวยกันทั้งคู ประการหนึ่ง1 อีกประการหนึ่งก็เพื่อแสดงใหเห็นวา เศรษฐศาสตรตางจากวิชาในหมวด สังคมศาสตรอื่นๆ ในแงที่วา แมวิชาเศรษฐศาสตรจะเปนวิชาหนึ่งในหมวดสังคมศาสตร ที่มุงศึกษาพฤติกรรมของมนุษยและสังคม รวมทั้งมีเปาหมายเพื่อสรางประโยชนหรือ ความสุขขึ้นในสังคมก็ตาม แตเศรษฐศาสตรเนนการศึกษาถึงพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับ กิจกรรมการผลิตและการแบงสันปนสวนสินคาและบริการเปนสำคัญ คือ จะทำอยางไร จึงจะสามารถจัดสรรหรือใชทรัพยากรอันเปนสิ่งที่หามาไดยากสำหรับกิจกรรมตางๆ ของ มนุษย นับต้ังแตระดับปจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน ประเทศ ไปจนถึงระดับสากลโลก

ในคำนิยามขางตน มีคำศัพทบางคำที่สมควรจะนำขยายความใหเขาใจไดชัดเจน ยิ่งขึ้น ไดแกคำวา สวัสดิการ ความตองการ สินคาและบริการ และทรัพยากร คำเหลานี้ มีความสัมพันธกันอยางไมสามารถแยกออกจากกันได เมื่อเขาใจถึงความหมายและ ความสัมพันธของคำเหลานี ้แลว จะชวยใหเรามีความกระจางในคำนิยามของวิชา เศรษฐศาสตรมากย่ิงขึ้น คำศัพทแตละคำมีความหมายดังนี้

สวัสดิการและความตองการคำวา “สวัสดิการ” ในท่ีนี้ นักเศรษฐศาสตรมักหมายถึง สวัสดิการทางเศรษฐกิจ

(economic welfare) ซึ่งก็คือ ความสุข หรือความอยูดีมีสุข ความหมายของคำนี้อาจ เทียบเคียงไดกับคำวา “อรรถประโยชน (utility)2” หรือความพอใจที่ไดรับจากการบริโภค

1 รายละเอียดเก่ียวกับคำนิยามตางๆ ของวิชาเศรษฐศาสตร ดูเพ่ิมเติมไดใน ภราดร ปรีดาศักด์ิ (2547) หนา 2-4

2 ความหมายของคำนี้จะขยายความใหละเอียดอีกคร้ังหนึ่งในบทที่ 3 ที่วาดวยพฤติกรรมของผูบริโภค

Page 21: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

5

สินคาและบริการ สิ่งที่นักเศรษฐศาสตรนิยมนำมาใชในการวัดระดับของสวัสดิการก็คือ ปริมาณของสินคาและบริการท่ีแตละคนไดรับ

สวนคำวา “ความตองการ (wants)” หมายถึง ความมุงหวัง หรือความปรารถนา ที่จะไดซึ่งสิ่งที่จะมารักษาหรือเพิ่มพูนระดับสวัสดิการของตน ซึ่งความตองการของมนุษย ทั้งหลายจะมีลักษณะที่ไมจำกัดและไมมีวันสิ้นสุด จะตางกันก็แตเพียงระดับของความ ความตองการเทานั้น

สินคาและบริการสินคาและบริการ (goods and services) หมายถึงสิ่งใดๆ ก็ตามที่สามารถ

สรางความสุขความพอใจหรืออรรถประโยชนใหแกมนุษยได ไมวาสิ ่งนั้นจะมีตัวตน สามารถจับตองได หรือไมมีตัวตนและจับตองไมไดก็ตาม สิ่งที่มีตัวตนจับตองไดเรียกวา “สินคา” ถาไมมีตัวตนหรือจับตองไมไดก็เรียกวา “บริการ” สองอยางนี้อาจเรียกรวมกันวา “ทรัพย” ประเภทของทรัพยนี้ หากแบงตามลักษณะของความหามาไดยาก อาจแบง ออกไดเปนสองประเภทคือ ทรัพยเสรี (free goods) และ เศรษฐทรัพย (economic goods) ทรัพยเสรี หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีปริมาณมากมายไม จำกัดเมื่อเทียบกับความตองการที่มีอยูในขณะนั้น จนทำใหไมมีราคาคางวด สามารถ บริโภคไดโดยไมตองซื้อหาหรือนำทรัพยากรใดๆ มาผลิต ทรัพยประเภทนี้ ไดแก อากาศ ที่เราหายใจ แสงแดด ฝนตามธรรมชาติ น้ำในทะเล เปนอาทิ สวนเศรษฐทรัพยคือ ทรัพยที่ไมไดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาต ิแตมนุษยสรางขึ้นโดยผานกระบวนการผลิตขั้นใด ขั้นหนึ่ง การไดมาซึ่งเศรษฐทรัพยจึงกอใหเกิดตนทุนจากการใชทรัพยากรมาเปนปจจัย การผลิต หากทรัพยากรมีจำกัด ปริมาณของทรัพยที่จะไดมายอมมีขีดจำกัดดวย เมื่อ ตองการบริโภคทรัพยประเภทนี้จะตองทำการผลิตขึ้น ทรัพยสวนใหญที่เราบริโภคกันอยู ในปจจุบันนี้เปนเศรษฐทรัพย ตัวอยางเชน หนังสือ ปากกา เสื้อผา รองเทา รถยนต บานอยูอาศัย บริการซักรีด การรักษาพยาบาล การส่ือสาร คมนาคม เปนตน

ถามนุษยในโลกนี้ตองการแตเพียงทรัพยเสรีซึ่งมีอยูอยางเหลือเฟอ ปญหาใน มนุษยโลกก็คงบางเบาลงไปไดมาก เพราะถาตองการสิ่งใดก็จะมีสิ่งนั้นมาตอบสนองได อยางไมจำกัด แตมนุษยกลับมีความตองการตอเศรษฐทรัพยอยางมากมายและไมสิ้นสุด ยิ่งตองการมากข้ึนเทาใด ก็ยิ่งตองใชทรัพยากรเพื่อมาผลิตมากข้ึนเทานั้น และในท่ีสุดก็ ตองเผชิญกับความมีอยูอยางจำกัด หรือ ความหามาไดยาก (scarcity) ของทรัพยากร อยางไมอาจหลีกเล่ียง

Page 22: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

6

เศรษฐศาสตรบทที่ 1: ภาพรวมเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

ทรัพยากรทรัพยากร (resources) ในทางเศรษฐศาสตรนั ้น ก็คือทรัพยากรการผลิต

(production resources) ซึ่งหมายถึงสิ่งตางๆ ที่นำมาใชผลิตสินคาหรือบริการ ทั้งที ่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษยสรางข้ึน ทรัพยากรท่ีถูกนำมาใชในกระบวนการผลิต นี้มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา ปจจัยการผลิต (factors of production) ปจจัยการผลิต อาจแบงออกไดเปน 4 ประเภทใหญๆ ไดแก ที่ดิน (land) หมายถึง ผืนแผนดิน และ ทรัพยากรธรรมชาติตางๆ แรงงาน (labour) หมายถึง แรงกายและความรู ความ สามารถในการทำงานของมนุษย ทุน (capital) หมายถึง สิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อ อำนวยความสะดวกในการผลิต ไดแก โรงงาน อาคาร เครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณตางๆ3 และ การประกอบการ (entrepreneurship) หมายถ ึง ความสามารถของ ผูที่จะทำหนาที่ในการรวบรวมปจจัยการผลิตสามประเภทแรกมาดำเนินการผลิต

ทรัพยากรหรือปจจัยการผลิตประเภทตางๆ ที่ไดกลาวมาขางตนนี้ แมวาบาง ชนิดจะยังมีปริมาณเหลือเฟอเมื่อเทียบกับความตองการ หรืออาจจะเปนทรัพยากรที่เกิด ใหมได (renewable resources) แตสวนใหญแลวลวนแตมีอยูในปริมาณที่จำกัดหรือ หามาไดยาก จึงทำใหการผลิตสินคาและบริการประเภทเศรษฐทรัพยเพื่อตอบสนองความ ตองการของมนุษยและสังคมมีขีดจำกัด ความไมสมดุลกันระหวางปริมาณของทรัพยากร กับความตองการของมนุษยนี่เอง ที่เปนสาเหตุสำคัญใหเราตองแสวงหาแนวทางและ ตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัด เพื่อใหการผลิตและการแบงปนสินคาและ บริการสามารถตอบสนองความตองการของมนุษยและสังคมจนบรรลุสวัสดิการสูงสุด อันเปนบอเกิดแหงวิชาเศรษฐศาสตร

1.2 »˜ÞËÒ¾×é¹°Ò¹·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨

ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (basic economic problems) มีสาเหตุมาจาก ความไมสมดุลกันระหวางความตองการกับทรัพยากรที่มีอยู ที่เรียกวา “ปญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ” ก็เพราะเปนปญหาทางเศรษฐกิจท่ีทุกคน ทุกครอบครัว ทุกชุมชน ทุกสังคม

3 อนึ่ง เงินทุนซึ่งอยูในรูปของตัวเงินนั้น ไมถือวาเปนปจจัยทุนที่แทจริงตามความหมายนี้ เพราะเรา ไมสามารถนำเอาตัวเงินมาใชผลิตสินคาหรือบริการไดโดยตรง

Page 23: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

7

และทุกประเทศ หรือทุกระบบเศรษฐกิจ จะตองประสบอยางหลีกเลี่ยงไมได เพราะตางก็ ลวนแตมีทรัพยากรอยูอยางจำกัดเมื่อเทียบกับความตองการกันทั้งสิ้น ปญหาพื้นฐานทาง เศรษฐกิจอาจแบงออกไดเปน 3 ประการ ดังนี ้4

1. จะผลิตอะไร (what to produce) หมายถึง ปญหาในการตัดสินใจวาจะผลิต สินคาและบริการชนิดใดบาง จำนวนเทาไร ปญหาขอนี้เกิดขึ้นเนื่องจาก คนในสังคมมีความตองการสินคาและบริการ หรือเศรษฐทรัพยมากมาย หลายชนิดจนนับไมถวน แตมีทรัพยากรอยูจำกัดในจำนวนหนึ่งเทานั้น จะเอาไปผลิตเศรษฐทรัพยใหครบถวนทุกชนิดและตามปริมาณที่ตองการ ทั้งหมดน้ัน ยอมเปนไปไมได

2. จะผลิตอยางไร (how to produce) แมวาจะสามารถแกปญหาวาจะผลิตอะไร จำนวนเทาไรไดแลว ปญหาที่ตองเผชิญตอมาก็คือ จะผลิตสินคาเหลานั้น อยางไร กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ จะผลิตสินคาแตละชนิดโดยอาศัยเทคนิค หรือวิธีการผลิตแบบใด จะผสมปจจัยการผลิตชนิดใดบางในสัดสวนเทาใด เพราะการผลิตสินคาแตละชนิดอาจเลือกใชวิธีการผลิตไดหลายแบบหลายวิธี แตละวิธีอาจใหผลผลิตและมีตนทุนที่แตกตางกันไป

3. จะผลิตเพื่อใคร (produce for whom) เมื่อไดเลือกวาจะผลิตสินคาอะไร จำนวนเทาไร และโดยวิธีใดแลว ปญหาที่ทุกสังคมตองเผชิญอีกประการหน่ึง ก็คือ จะกระจายหรือจัดสรรสินคาและบริการที่ผลิตขึ้นไดไปยังบุคคลตางๆ ในสังคมอยางไร ใครควรจะไดรับสินคานั้นๆ บาง ในปริมาณเทาใด เพราะ การจัดสรรหรือกระจายสินคามีอยูหลายวิธี และวิธีการจัดสรรที่ตางกัน อาจ สงผลตอสวัสดิการในสังคมท่ีแตกตางกันได

ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจทั้งสามประการขางตน หรือที่เรียกยอๆ เปนภาษา อังกฤษวาปญหา What How และ For Whom เปนปญหาที่จะอยูคูกับมนุษยและสังคม ตลอดไปตราบเทาที่โลกนี้ยังไมมีความพอดีกันระหวางทรัพยากรกับความตองการ และ ปญหาน้ีเองท่ีทำใหเกิดการแสวงหาแนวทางในการเลือกใชทรัพยากรเพ่ือใหบรรลุสวัสดิการ สูงสุด

4 ภราดร ปรีดาศักด์ิ, หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค, อางแลว, หนา 16

Page 24: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

8

เศรษฐศาสตรบทที่ 1: ภาพรวมเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

1.3 ÃкºàÈÃÉ°¡Ô¨áÅФÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸�ã¹ÃкºàÈÃÉ°¡Ô¨

เพื่อใหเขาใจถึงระบบเศรษฐกิจและความสัมพันธของบุคคลกลุมตางๆ ในระบบ เศรษฐกิจ จะอธิบายลักษณะของระบบเศรษฐกิจเสียกอน ตอจากนั้นจึงคอยมาพิจารณา วาหนวยเศรษฐกิจตางๆ ในระบบเศรษฐกิจนั้นๆ มีความสัมพันธระหวางกันอยางไร เปนลำดับตอไป

1.3.1 ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ (economic system) หมายถึง กลุมของหนวยเศรษฐกิจ

กลุมหน่ึงๆ ที่ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภายใตระเบียบกฎเกณฑอันเดียวกัน

ในท่ีนี้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ (economic activities) คือ กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับ การผลิต การบริโภค และการกระจายสินคาหรือบริการตางๆ และหนวยเศรษฐกิจ (economic units) หมายถึง ผูที่ทำหนาที่ในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางใด อยางหนึ่ง หนวยเศรษฐกิจหนึ่งๆ อาจจะเปน ปจเจกบุคคล กลุมบุคคล องคกร สถาบัน หรือผูพำนักอาศัยของประเทศหนึ่งๆ โดยทั่วไปแลวหนวยเศรษฐกิจแบงออกไดเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ หนวยครัวเรือน (households) หนวยธุรกิจ (business firms) และหนวยรัฐบาล (government) หนวยครัวเรือนทำหนาที่เปนผูบริโภค ในขณะเดียวกัน ก็ทำหนาที่เปนเจาของปจจัยการผลิต ดวยหนวยธุรกิจทำหนาที่หลักในการผลิตสินคา และบริการตางๆ สวนหนวยรัฐบาลทำหนาที่ในการกำหนดนโยบายและแผน วางระเบียบ กฎเกณฑ และควบคุมดูแลการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของหนวยเศรษฐกิจตางๆ ใหเปนไปตามระเบียบกฎเกณฑที่วางไว ในขณะเดียวกัน รัฐบาลอาจจะเปนผูผลิตสินคา และบริการดวยก็ได

เพื่อใหการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของหนวยเศรษฐกิจตางๆ เปนไปดวย ความเรียบรอย และบรรลุวัตถุประสงคหรือเจตนารมณของสวนรวม จึงมีความจำเปนที ่จะตองกำหนดระเบียบ กฎเกณฑหรือแนวปฏิบัติ ขึ้นบังคับใช ชวยใหการทำหนาที่และ การสัมพันธติดตอกันของหนวยเศรษฐกิจทั้งหลายเปนไปอยางมีระบบ เรียกวา “ระบบ เศรษฐกิจ” หน่ึง ในช้ันตนมีการจำแนกระบบเศรษฐกิจตางๆ ออกไดเปน 3 แบบ คือ

1. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (free-market economy) หรือที่เรียก อีกอยางหนึ่งวาระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (capitalism) มีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้คือ (ก) กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินสวนใหญตกเปนของเอกชน (ข) เอกชน

Page 25: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

9

มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางเต็มที่ (ภายใตกฎหมาย) และ (ค) ใชกลไกราคาในการแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

2. ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับ (command economy) หรือระบบเศรษฐกิจ แบบสังคมนิยม (socialism) มีลักษณะที่เกือบจะถือไดวาตรงกันขามกับ ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี คือ (ก) กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินสวนใหญ ตกเปนของรัฐหรือของสวนรวม (ข) เอกชนขาดเสรีภาพในการดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และ (ค) ใชอำนาจการตัดสินใจจากสวนกลางหรือ รัฐบาล ในการแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy) เปนระบบเศรษฐกิจที่ม ีลักษณะผสมผสานกันระหวางระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีและแบบบังคับ

1.3.2 ความสัมพันธของหนวยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจนอกจากสมาชิกในหนวยเศรษฐกิจประเภทตางๆ คือ หนวยครัวเรือน หนวยธุรกิจ

และหนวยรัฐบาล จะมีความสัมพันธกันเองภายในกลุมแลว ยังมีความสัมพันธเกี่ยวของ หรือเชื่อมโยงกันกับหนวยเศรษฐกิจประเภทอื่นๆ การติดตอสัมพันธกันในแบบหลังนี้ เรียกวา กระแสไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ (circular flow) ดังแสดงในรูปท่ี 1-1 โดยที ่กรอบสี่เหลี่ยมแถวกลางทั้งสามเปนตัวแทนของหนวยเศรษฐกิจทั้งสามประเภทคือ ธุรกิจ รัฐบาล และครัวเรือน ตามลำดับ สวนรูปวงรีดานลางและดานบนแทนตลาดผลผลิต (สินคา และบริการ) และตลาดปจจัยการผลิต (ทรัพยากร) ตามลำดับ ผูซื้อและผูขายจะตกลง ซื้อขายสินคาและบริการหรือปจจัยการผลิตโดยผานตลาดทั้งสองนี้ เราจะเริ่มพิจารณา ความสัมพันธของหนวยเศรษฐกิจตางๆ ภายในระบบเศรษฐกิจนี้โดยเริ่มตนที่หนวย ครัวเรือนซึ่งเปนเจาของปจจัยการผลิตประเภทตางๆ อันไดแก ที่ดิน แรงงาน ทุน และ ความสามารถในการประกอบการ ในขณะเดียวกันหนวยครัวเรือนนี้ก็เปนผูบริโภคที่ม ีความตองการสินคาและบริการมาตอบสนองดวย หนวยครัวเรือนจะขายปจจัยการผลิต ตางๆ ผานตลาดปจจัยการผลิตใหแกหนวยธุรกิจหรือผูผลิต (แสดงโดยลูกศรวงในดานบน) เมื่อธุรกิจรวบรวมปจจัยการผลิตตางๆ มาไดก็จะนำไปผลิตออกมาเปนผลผลิตคือสินคา หรือบริการ แลวนำสินคาหรือบริการน้ันไปขายใหแกหนวยครัวเรือน (ผูบริโภค) โดยผาน ตลาดผลผลิต (แสดงโดยลูกศรวงในดานลาง) การไหลเวียนที่เริ่มจากปจจัยการผลิตที ่ออกจากหนวยครัวเรือนจนกลายมาเปนสินคาหรือบริการกลับเขามาสูหนวยครัวเรือนใน

Page 26: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

10

เศรษฐศาสตรบทที่ 1: ภาพรวมเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

ทายท่ีสุดน้ี เรียกวา กระแสของสินคาและปจจัย (goods and factors flow) อยางไร ก็ตาม ในระบบเศรษฐกิจที่มีการใชเงินเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เมื่อมีการซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินคาหรือบริการ และปจจัยการผลิต ก็จะตองมีการจายเงินเปนคาตอบแทน ซึ่งกันและกัน จึงเกิด กระแสของเงิน (money flow) ขึ้นในระบบเศรษฐกิจนี้ดวย ในท่ีนี้ กระแสการไหลเวียนของเงินแสดงดวยลูกศรวงนอกสุด โดยที่ลูกศรดานบนแสดงถึง กระแสของเงินที่เปนคาตอบแทนจากการซื้อขายปจจัยการผลิต หนวยครัวเรือนจะไดรับ คาตอบแทนในรูปของคาเชา คาจาง ดอกเบี้ย และกำไร ซึ่งเกิดจากการขายปจจัยที่ดิน แรงงาน ทุน และความสามารถในการประกอบการตามลำดับ คาตอบแทนนี้เปนรายได ในรูปตัวเงิน (money income) ของหนวยครัวเรือน มองในแงของหนวยธุรกิจ คาตอบแทน สำหรับปจจัยการผลิตนี้ก็คือคาใชจายหรือตนทุนการผลิตของหนวยธุรกิจนั่นเอง สวน ลูกศรวงนอกดานลางเปนกระแสของเงินที่เปนคาตอบแทนจากการซื้อขายผลผลิต (สินคา หรือบริการ) ระหวางหนวยธุรกิจกับหนวยครัวเรือน ในแงของครัวเรือน เงินจำนวนนี้ มาจากรายไดจากการขายปจจัยการผลิต และจายออกไปเปนคาใชจายสำหรับการซื้อ สินคาและบริการ และคาใชจายตัวนี้เมื่อตกแกหนวยธุรกิจก็จะกลายเปนรายรับของ หนวยธุรกิจ ซึ่งหนวยธุรกิจจะนำเอารายรับที่ไดนี้ไปซื้อปจจัยการผลิตมาผลิตสินคาหรือ บริการในตอนตอไป จึงเกิดกระแสการไหลเวียนเชนนี้ตอเนื่องกันไปเร่ือยๆ

กระแสการไหลเวียนที่กลาวมานี้ ยังมิไดพิจารณาถึงหนวยรัฐบาล ถาสมมติวา ไมมีหนวยรัฐบาล กระแสการไหลเวียนก็จะมีเฉพาะกระแสที่เปนลูกศรที ่เชื ่อมโยง ระหวางหนวยธุรกิจกับครัวเรือน ที่ผานตลาดปจจัยการผลิตและตลาดสินคาและบริการ เทานั้น แตถามีหนวยรัฐบาลดวย กระแสที่แสดงความสัมพันธติดตอถึงกันก็จะคลายๆ กับที่พิจารณามาแลว นั่นคือ กรณีรัฐบาลเปนผูผลิตสินคาหรือบริการดวย5 รัฐบาลก็จะ ซื้อปจจัยการผลิตจากตลาดปจจัยการผลิตมาผลิตเปนสินคาหรือบริการใหแกหนวย ครัวเรือนและธุรกิจ คาตอบแทนที่ไดก็จะเปนรายไดของรัฐ ซึ่งสวนใหญอยูในรูปของภาษี รายไดนี้ก็เปนสวนหนึ่งของคาใชจายสำหรับการซื้อปจจัยการผลิตในตลาดปจจัยการผลิต และคาใชจายสำหรับการซื ้อสินคาและบริการจากตลาดผลผลิต กระแสทั ้งหมดที ่ เกี ่ยวของกับหนวยรัฐบาลไดแสดงไวดวยลูกศรรอบๆ กรอบที่เปนหนวยรัฐบาลใน

5 ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีและแบบผสม รัฐบาลมักมีหนาที ่ในการผลิตบริการมากกวา การผลิตสินคาอันเปนบทบาทของธุรกิจเอกชน ถาจะผลิตสินคาดวย ก็มักจะตั้งขึ้นเปนรัฐวิสาหกิจ ซึ่งอาจถือเปนหนวยธุรกิจประเภทหนึ่งดวย

Page 27: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

11

รูปที่ 1-1 นอกจากนั้นแลว ในระบบเศรษฐกิจแบบผสม รัฐบาลมักมีบทบาทในการออก กฎระเบียบหรือกฎหมายเพื่อควบคุมดูแลใหการดำเนินกิจกรรมตางๆ เปนไปตามทิศทาง ที่รัฐบาลตองการ ในกรณีนี้รัฐบาลจะเขาควบคุมหรือแทรกแซงในตลาดท้ังสองดวย

แบบจำลองที่แสดงกระแสไหลเวียนของระบบเศรษฐกิจที่กลาวถึงนี้ เปนการ ยนยอใหเห็นความสัมพันธของหนวยเศรษฐกิจตางๆ ภายในระบบเศรษฐกิจเทานั้น ยังมิไดกลาวถึงการติดตอสัมพันธกับระบบเศรษฐกิจอื่นหรือภาคตางประเทศ ถามีการ ติดตอทางเศรษฐกิจกับภาคตางประเทศ เราก็สามารถผนวกเอาภาคตางประเทศ

หนวยครัวเรือนเปนเจาของปจจัยการผลิตและเปนผูบริโภค ซึ่งขายปจจัยการผลิตใหหนวยธุรกิจ ท่ีทำหนาท่ีเปนผูผลิต โดยรวบรวมปจจัยการผลิตมาจากหนวยครัวเรือน ผานตลาดปจจัยการผลิต แลวนำมาผลิตสินคาและบริการจำหนายใหแกหนวยครัวเรือนผานตลาดสินคาและบริการ (ลูกศร วงใน) เมื่อมีการจายคาตอบแทนในการซื้อขายซึ่งกันและกัน ซึ่งจะกลายเปนคาใชจาย (ตนทุน) และรายได (รายรับ) ของผูซื้อและผูขายตามลำดับ (ลูกศรนอก) สวนรัฐบาลมีการติดตอสัมพันธ กับท้ังหนวยครัวเรือนและหนวยธุรกิจ โดยซื้อปจจัยการผลิตและสินคาหรือบริการเพื่อมาใชผลิต สินคาและบริการใหแกหนวยเศรษฐกิจอื่นๆ และมีรายไดจากการเก็บภาษี นอกจากนั้นรัฐบาล ยังทำหนาที่ในการออกกฎหมาย และควบคุมหรือแทรกแซงตลาดทั้งสอง ดังแสดงดวยลูกศร รอบๆ กรอบของหนวยรัฐบาล

คาตอบแทนปจจัยการผลิต รายไดจากการขายปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิต

▲▲

ตลาดปจจัยการผลิต ▲

▲ ▲รัฐบาล▲

ภาษี

ครัวเรือน

ตลาดผลผลิต (สินคาและบริการ)

ธุรกิจ

ภาษี

รูปท่ี 1-1 กระแสไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ

บริการบริการ

สินคาหรือบริการ สินคาหรือบริการ

รายไดของธุรกิจ รายจายของครัวเรือน

Page 28: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

12

เศรษฐศาสตรบทที่ 1: ภาพรวมเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

เขามาใสไวในแบบจำลองนี้ได โดยใหกระแสของสินคาและบริการ และปจจัยการผลิตที่ เขามาในระบบเศรษฐกิจ เปนการนำเขา (import) และที่ไหลออกไปเปนการสงออก (export) สวนกระแสของเงินก็จะเปนรายไดจากการสงออกและรายจายจากการนำเขา

1.4 ᢹ§¢Í§ÇÔªÒàÈÃÉ°ÈÒÊμÃ�

การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร เปนการศึกษาถึงพฤติกรรมและวิธีการ รวมทั้ง กระบวนการตัดสินใจของหนวยเศรษฐกิจทั้งสามประเภทที่กลาวมาแลว ในการเลือกใช ทรัพยากรท่ีหนวยเศรษฐกิจนั้นๆ มีอยู นอกจากนั้น ยังไดมีการศึกษาวา พฤติกรรมหรือ การดำเนินกิจกรรมตางๆ จะสงผลกระทบตอหนวยเศรษฐกิจอ่ืนและระบบเศรษฐกิจโดยรวม อยางไรบาง การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรจึงอาจแยกออกไดเปนสองแขนง ตามขอบเขต ของประเด็นท่ีมุงศึกษาดังนี้

1. เศรษฐศาสตรจุลภาค (microeconomics) เปนการศึกษาถึงพฤติกรรม ของหนวยเศรษฐกิจหนวยยอยๆ หนวยใดหนวยหน่ึงวา หนวยเศรษฐกิจน้ันๆ มีการตัดสินใจในการใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางไรเพ่ือใหบรรลุเปาหมายของตน เชน ศึกษาวาผูบริโภคแตละคนมีพฤติกรรมในการบริโภคสินคาและบริการ อยางไรเพื่อใหบรรลุความพอใจสูงสุดภายใตวงเงินรายไดหรืองบประมาณ ที่มีอยูอยางจำกัด หรือศึกษาวาหนวยผลิตหนึ่งๆ มีการตัดสินใจในการเลือก ใชทรัพยากรหรือปจจัยการผลิตชนิดตางๆ อยางไรเพื่อใหไดรับกำไรสูงสุด เหลานี้เปนตน ถาเปนการศึกษาปรากฏการณที่เกิดขึ้น ก็จะจำกัดเฉพาะ ปรากฏการณในสวนยอยๆ หรือขอบเขตแคบๆ ไมใชสวนใหญหรือระดับ มวลรวม ตัวอยางเชน การศึกษาถึงอุปสงคหรือความตองการซื้อที่มีตอสินคา หรือบริการชนิดหนึ่งๆ การศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดราคาในตลาดสินคา หรือปจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่ง การศึกษาเกี ่ยวกับผลของการเขา แทรกแซงตลาดของรัฐบาล เชน การควบคุมราคา การเก็บภาษี หรือใหเงิน อุดหนุนในตลาดสินคาหรือบริการประเภทหนึ่งๆ ที่จะมีตอผูผลิต ผูบริโภค และสวัสดิการของสังคมอยางไรบาง เปนตน

2. เศรษฐศาสตรมหภาค (macroeconomics) เปนการศึกษาถึงปรากฏการณ ทางเศรษฐกิจและพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจโดยรวมทั้งระบบเศรษฐกิจ หรือระดับมวลรวม เชน การศึกษาถึงความตองการใชจายในการบริโภคของ

Page 29: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

13

ประชาชน ระดับการออม การลงทุน ผลผลิตหรือรายไดประชาชาติของ ประเทศท่ีเกิดข้ึนในชวงเวลาหน่ึง เปนตน หากเปนการศึกษาถึงผลกระทบใดๆ ทั้งที่เกิดจากพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจโดยรวม และจากการดำเนิน นโยบายหรือมาตรการของรัฐ ผลดังกลาวจะตองกระทบตอคนสวนใหญหรือ ทั้งระบบเศรษฐกิจ เชน การศึกษาเกี่ยวกับภาวะเงินเฟอ เงินฝด การจางงาน การคาระหวางประเทศ การใชนโยบายการเงินและการคลัง เปนอาทิ

แมวาเศรษฐศาสตรท้ังสองแขนงน้ีจะมีความแตกตางกันและมักนิยมแยกการศึกษา ออกจากกัน6 ก็มิไดหมายความวา เศรษฐศาสตรทั้งสองแขนงนี้ไมมีความสัมพันธหรือ เกี่ยวของกัน ตรงกันขาม กลับมีความเกี่ยวพันกันอยางใกลชิด พฤติกรรมของหนวย เศรษฐกิจโดยรวมมาจากการประกอบกันข้ึนของพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจหนวยยอยๆ และปรากฏการณทางเศรษฐกิจของสวนรวมก็อาจสงผลกระทบกลับมายังหนวยเศรษฐกิจ หนวยยอยไดเชนกัน ถาเราไดศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรทั้งสองแขนงนี้อยางครบถวนแลว ก็จะพบดวยตนเองวา ทฤษฎีเศรษฐศาสตรมหภาคหลายทฤษฎีไดอาศัยทฤษฎ ีเศรษฐศาสตรจุลภาคมาอธิบายถึงมูลเหตุของพฤติกรรมหรือปรากฏการณในระดับมหภาคน้ัน ในขณะเดียวกัน การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรจุลภาคในหลายๆ เรื่อง มีการอางอิงถึง ปรากฏการณทางเศรษฐกิจในระดับมหภาคท่ีมีผลตอพฤติกรรมของสวนยอยหรือสวนบุคคล ดวยเชนกัน เชน ผลของภาวะเงินเฟอและการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยที่มีตอการ ตัดสินใจบริโภคของผูบริโภค ผลตอการเปล่ียนแปลงอัตราแลกเปล่ียนเงินตราหรือนโยบาย ทางการคาที่จะมีตอการผลิตและการบริโภคสินคาหรือบริการชนิดหน่ึงๆ เปนตน

การศึกษาเศรษฐศาสตรท้ังสองแขนงมีความสำคัญไมย่ิงหยอนไปกวากัน ผูศึกษา จึงควรศึกษาทั้งสองแขนง เพราะจะชวยใหเขาใจพฤติกรรมและปรากฏการณตางๆ ทั้งใน ระดับสวนยอยและสวนรวม ซึ่งจะกอประโยชนตอการทำความเขาใจและนำไปประยุกต ใชไดสมบูรณกวาการศึกษาเพียงแขนงใดแขนงหน่ึง

อยางไรก็ตาม การนำเสนอเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตรในสวนนี้ จะมุงเนน เฉพาะสวนที่เปนเศรษฐศาสตรจุลภาคเทานั้น โดยในสองบทตอจากนี้ เปนการศึกษา

6 แมตำราบางเลมจะผนวกเอาทั้งสองแขนงมาไวดวยกัน เชน ตำราท่ีใชชื่อหนังสือวา หลักเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรเบ้ืองตน เศรษฐศาสตรทั่วไป เปนตน แตตำราเหลาน้ีก็ยังแยกเร่ืองที่นำเสนอเปนภาคๆ หรือเปนบทๆ ไป มิไดนำมาปนกันจนแยกไมออกวา สวนใดเปนจุลภาค สวนใดเปนมหภาค

Page 30: àÈÃÉ°ÈÒÊμ - Stock Exchange of Thailand · 2015-01-12 · 1.3 ระบบเศรษฐกิจและความส ัมพันธ ในระบบเศรษฐก

14

เศรษฐศาสตรบทที่ 1: ภาพรวมเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

เรื่องอุปสงค อุปทาน และกลไกตลาด รวมทั้งการประยุกตใชแนวคิดเกี่ยวกับอุปสงคและ อุปทานในเรื่องตางๆ ตอจากนั้นจะยอนกลับไปศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคอันเปนสิ่งที่ อยูเบื้องหลังอุปสงคในบทที่ 4 และตั้งแตบทที่ 5 จนถึงบทที่ 8 จะเปนการศึกษาถึง พฤติกรรมของหนวยผลิต โดยเริ ่มจากบทที่วาดวยการผลิตและตนทุน การกำหนด ปริมาณการผลิตและราคาของหนวยผลิต ภายใตโครงสรางตลาดแบบตางๆ อันไดแก ตลาดผูรับราคา ตลาดผูแสวงราคา และตลาดทรัพยากรการผลิต และในบทสุดทาย จะกลาวถึงตลาดการเงินและอัตราดอกเบี้ย

º·ÊÃØ»

เศรษฐศาสตร เปนวิชาที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรทรัพยากรใหเกิดประสิทธิภาพ หรือสวัสดิการสูงสุด ทั้งนี้เพราะทรัพยากรเปนสิ่งที่หามาไดยากหรือมีอยูอยางจำกัดเมื่อ เทียบกับความตองการของมนุษย ไมวาจะพิจารณาในแงของปจเจกบุคคล ครัวเรือน หนวยธุรกิจ รัฐบาล และในแงของสังคมหรือระบบเศรษฐกิจ ความไมสมดุลกันระหวาง ทรัพยากรกับความตองการนี่เอง ทำใหจำเปนตองอาศัยความรูทางเศรษฐศาสตรมาแก ปญหาทางเศรษฐกิจที่วา จะผลิตอะไร ผลิตอยางไร และผลิตเพื่อใคร เพื่อที่จะใหการผลิต การกระจายสินคาและบริการ รวมทั้งการจายคาตอบแทนสำหรับปจจัยการผลิตไปยัง บุคคลตางๆ ในระบบเศรษฐกิจ จนบรรลุสวัสดิการสูงสุด

วิชาเศรษฐศาสตรในปจจุบัน อาจแบงออกไดเปนสองแขนงใหญๆ คือ เศรษฐศาสตร จุลภาค และเศรษฐศาสตรมหภาค เศรษฐศาสตรจุลภาคเปนการศึกษาพฤติกรรมและ การจัดสรรทรัพยากรของหนวยเศรษฐกิจหนวยยอยๆ สวนเศรษฐศาสตรมหภาค เปนการศึกษาพฤติกรรมและการจัดสรรทรัพยากรในระดับมวลรวม หรือของหนวย เศรษฐกิจทั้งระบบ การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรทั้งสองแขนง จะชวยใหผูศึกษามีความรู ความเขาใจในวิชาเศรษฐศาสตรที่สมบูรณกวาการศึกษาเพียงแขนงใดแขนงหน่ึง