8
ตามไปดู จังหวัดสระแก้วจัดประกวด หมู่บ้านสุขภาพดีต้นแบบ มหกรรม นวดไทยบันลือโลก คลินิกอบอุ่น อีกหนึ่งบริการสุขภาพ ศสมช. เทศบาลระยอง 5 4 3 สบส. เสริมสร้าง ความเข้มแข็งองค์กร อสม. ทบทวนยุทธศาสตร์ อสม.และชมรม อสม. ปีที 29 ฉบับที 9 เดือนกรกฎาคม 2554 ISSN : 0587–51852 ‡¥àπ „π©∫—∫ ‡¥àπ „π©∫—∫ สบส. เสริมสร้าง ความเข้มแข็งองค์กร อสม. ทบทวนยุทธศาสตร์ อสม.และชมรม อสม. กอง สช. ระดมแกนนำ�ชมรม อสม. ทุกระดับ เข้�ร่วมเวทีประชุมพัฒน�ศักยภ�พชมรม อสม. รองรับ นโยบ�ย อสม. เชิงรุก และก�รติดต�มง�นสุขภ�พภ�คประช�ชนของกระทรวงส�ธ�รณสุข กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน จัดการประชุมโครงก�รพัฒน�ศักยภ�พชมรมอ�ส�สมัครส�ธ�รณสุข (อสม.) ด้�นก�รมีส่วนร่วมของภ�คประช�ชน เพื่อติดต�มก�รดำ�เนินง�นสุขภ�พภ�คประช�ชนต�มนโยบ�ย ของกระทรวงส�ธ�รณสุข เมื่อวันที่ 13–15 กรกฎาคม 2554 ณ โรงแรมเนวาด้า แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี น�ยแพทย์สมชัย ภิญโญพรพ�ณิชย์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นประธานเปิดการประชุมฯ ร่วมด้วย แพทย์หญิงประนอม คำ�เที่ยง รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผู้บริหารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน น�ยแพทย์สมชัย กล่าวถึงวัตถุประสงค์ ของการพัฒนาศักยภาพองค์กร อสม. ว่า ชมรม อสม. มีบทบาทสำาคัญในการเป็นองค์กรภาค ประชาชนที่ทำางานสุขภาพในชุมชน จึงต้องมี การพัฒนาให้มีความเข้มแข็ง มีการดำาเนินงาน เป็นเครือข่ายที่ต่อเนื่องและยั่งยืน กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ โดยกองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน จึงมุ่งพัฒนาความรู้ความเข้าใจ ทั้งด้านนโยบายและภาระงานสุขภาพภาค ประชาชนให้แก่ อสม.และคณะกรรมการฯ ชมรม อสม. ทุกระดับ เพื่อให้สามารถเข้ามามี ส่วนร่วมในการวางแผนดำาเนินงานและติดตาม ประเมินผลงานด้านสุขภาพภาคประชาชน ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขต่อไป อ่านต่อหน้า 2

ISSN : 0587– สบส. เสริมสร้าง ทบทวน ...phc.moph.go.th/.../data_center/ifm_mod/nw/y29_9_july54.pdf · 2012. 1. 6. · 2 หนังสือพิมพ์เพื่อน

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ตามไปดู จังหวัดสระแก้วจัดประกวด

    หมู่บ้านสุขภาพดีต้นแบบ

    มหกรรม นวดไทยบันลือโลก

    คลินิกอบอุ่น อีกหนึ่งบริการสุขภาพ ศสมช. เทศบาลระยอง

    5

    4

    3

    สบส. เสริมสร้างความเข้มแข็งองค์กร อสม.

    ทบทวนยุทธศาสตร์ อสม.และชมรม อสม.

    ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎาคม 2554 ISSN : 0587–51852

    ‡¥àπ„π©∫—∫‡¥àπ„π©∫—∫

    ‡¥àπ„π©∫—∫‡¥àπ„π©∫—∫สบส. เสริมสร้าง

    ความเข้มแข็งองค์กร อสม.

    ทบทวนยุทธศาสตร์ อสม.และชมรม อสม.

    กอง สช. ระดมแกนนำ�ชมรม อสม. ทุกระดับ เข้�ร่วมเวทีประชุมพัฒน�ศักยภ�พชมรม อสม. รองรับนโยบ�ย อสม. เชิงรุก และก�รติดต�มง�นสุขภ�พภ�คประช�ชนของกระทรวงส�ธ�รณสุข

    กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน จัดการประชุมโครงก�รพัฒน�ศักยภ�พชมรมอ�ส�สมัครส�ธ�รณสุข (อสม.) ด้�นก�รมีส่วนร่วมของภ�คประช�ชน เพื่อติดต�มก�รดำ�เนินง�นสุขภ�พภ�คประช�ชนต�มนโยบ�ย ของกระทรวงส�ธ�รณสุข เมื่อวันที่ 13–15 กรกฎาคม 2554 ณ โรงแรมเนวาด้า แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี น�ยแพทย์สมชัย ภิญโญพรพ�ณิชย์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นประธานเปิดการประชุมฯ ร่วมด้วย แพทย์หญิงประนอม คำ�เที่ยง รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผู้บริหารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน

    น�ยแพทย์สมชัย กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการพัฒนาศักยภาพองค์กร อสม. ว่า ชมรม อสม. มีบทบาทสำาคัญในการเป็นองค์กรภาคประชาชนที่ทำางานสุขภาพในชุมชน จึงต้องมี การพัฒนาให้มีความเข้มแข็ง มีการดำาเนินงานเปน็เครอืขา่ยทีต่อ่เนือ่งและยัง่ยนื กรมสนบัสนนุบริการสุขภาพ โดยกองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน จึงมุ่งพัฒนาความรู้ความเข้าใจทั้งด้านนโยบายและภาระงานสุขภาพภาคประชาชนใหแ้ก ่อสม.และคณะกรรมการฯ ชมรม อสม. ทุกระดับ เพื่อให้สามารถเข้ามามี สว่นรว่มในการวางแผนดำาเนนิงานและตดิตามประเมินผลงานด้านสุขภาพภาคประชาชน ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขต่อไป

    อ่านต่อหน้า 2

  • 2หนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.–อสม.ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎ�คม 2554

    องค์กร อสม. นั้น นบัว�่เปน็องคก์รอ�ส�สมคัร

    ภาคประชาชนทีม่จีำานวนมากทีส่ดุในประเทศ ปัจจุบันมีถึง 1,005,000

    คน มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่เข้มแข็ง ในรูปแบบของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งมีตั้งแต่ระดับอำาเภอ

    จังหวัด ภาค และประเทศ มีบทบาทเป็นแกนกลางในการเชื่อมประสานกับหน่วยงานสาธารณสุขทั้งในภูมิภาคและส่วนกลาง เพื่อนำานโยบาย

    ไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ให้เกิดเป็นรูปธรรม และดูแลสมาชิก อสม. ทั้งในด้านการปฏิบัติงาน การจัดกิจกรรม ไปจนถึงดูแลเรื่องสวัสดิการของ

    อสม. ซึ่งที่ผ่านมา ชมรม อสม. ได้มีการพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบันหลายชมรมได้มีการจดทะเบียนเป็นรูปแบบสมาคม

    อย่างไรก็ตาม กระทรวงสาธารณสุข เล็งเห็นความสำาคัญของการพัฒนาชมรม อสม. โดยเฉพาะการติดตามงานสุขภาพภาคประชาชน เพื่อให้รองรับกับ

    นโยบายสาธารณสุข โดยเฉพาะนโยบายสุขภาพเชิงรุกที่ อสม. ต้องทำางานประสานกบั รพ.สต. และภาคสว่นตา่งๆ ดงันัน้ กระทรวงสาธารณสขุ โดยกองสนบัสนนุสขุภาพภาคประชาชน กรมสนบัสนนุบรกิารสขุภาพ จงึไดจ้ดัทำาโครงการพฒันาศกัยภาพชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพื่อติดตาม การดำาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนฯ เมื่อวันที่ 13–15 กรกฎาคม 2554 ณ โรงแรมเนวาด้า แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งนับว่าเป็นก้าวสำาคัญของการพัฒนาให้ชมรม อสม. มีความเข้มแข็งและสามารถเป็นกำาลังหลักในการดำาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนต่อไป

    น�ยแพทย์สมชัย ภิญโญพรพ�ณิชย์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริก�รสุขภ�พ

    สำาหรบัโครงการดงักลา่ว กองสนบัสนบัสขุภาพภาคประชาชน ไดช้ีแ้จงรายละเอยีดและเปา้หมายโครงการใหแ้กป่ระธานชมรม อสม. ทกุจงัหวดัทัว่ประเทศ และใหช้มรม อสม. ระดับภาคและจังหวัดเสนอโครงการ/แผนงานให้ศูนย์ สช. ภายใต้กิจกรรมอย่างน้อย 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมในการติดตามนโยบาย รพ.สต. การฟื้นฟูความรู้ อสม. ปี 2554 หมู่บ้านจัดการสุขภาพ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป็นต้น การมีส่วนร่วมในการติดตามโครงการ อสม. เชิงรุก การติดตามงบประมาณสุขภาพภาคประชาชน การดำาเนินงานจัดสวัสดิการแก่สมาชิก อสม. ฯลฯ โดยศูนย์ สช. จะติดตามและรายงานผลการดำาเนินงานตามโครงการฯ ให้กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชนได้ทราบ

    ยุทธศาสตร์พัฒนาอสม.และชมรม อสม.ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

    ดังกล่าว มุ่งเน้นการจัดทำายุทธศาสตร์ อสม.และชมรม อสม. ทุกระดับ โดยมีอาจารย์กิตติพจน์ เพิ่มพูน จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์เปน็วทิยากรในการให้แนวคิด ความรู้ และมุมมองต่างๆ ที่จะ

    ทำาให ้อสม. กำาหนดวสิยัทศันข์อง อสม.และชมรม อสม.เองได ้ดว้ยการบรรยายและประชุมกลุ่มย่อยเพื่อปฏิบัติการ พร้อมมีวิทยากรประจำากลุ่มเป็นอาจารย์จากกองสนับสนุนสขุภาพภาคประชาชน และศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน 4 ภาค (5 ศูนย์) ซึ่งการจัดทำายุทธศาสตร์ อสม. และชมรม อสม. นัน้ มุง่เนน้วสิยัทศันข์อง อสม. และชมรม

    อสม. โดยมีเป้าหมายให้เป็น “องค์กรที่เข้มแข็ง เก่ง และดี เป็นผู้นำาการจัดการสุขภาพชุมชน มีวัฒนธรรมและจิตอาสา” จากนั้นเป็นการดำาเนินการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกเพื่อหาจุดอ่อน จุดแข็งของ อสม. และชมรม อสม. เพื่อนำามากำาหนดเป็นยุทธศาสตร์ ได้ 5 ยุทธศาสตร์ คือ

    1. ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเป็นอิสระให้กับ อสม.2. ยุทธศาสตร์กระบวนการมีส่วนร่วมกับเครือข่ายในการจัดการสุขภาพชุมชน3. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมบทบาท อสม. ให้เป็นผู้นำาในการจัดการสุขภาพชุมชน4. ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบสื่อสารภายในและภายนอกองค์กร อสม. 5. ยุทธศาสตร์เสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กร อสม. และการจัดสวัสดิการ อสม.และนับจากนี้ไป กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชนจะดำาเนินการเพื่อขับเคลื่อน

    ยุทธศาสตร์ทั้ง 5 ยุทธศาสตร์ต่อในเร็วๆ นี้เพื่อให้เกิดความชัดเจน เป็นแผนการ ดำาเนินงาน 1 ปี, 4 ปี และนำาไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ชมรม อสม. และ อสม. นั้นมีความ เข้มแข็ง เก่ง และดี ก้าวหน้าไปอย่างเข้มแข็งและเป็นระบบ ตามเป้าหมายที่ได้วางไว้

    ในการประชุมนี้ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ได้จัดพิธีมอบประกาศ เกียรติบัตรให้แก่ผู้เข้าอบรมตามโครงการพัฒนาศักยภาพชมรม อสม.ฯ ในครั้งนี้ โดยมี อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นประธานในพิธีมอบฯ...

    ต่อจากหน้า 1

    บรรณาธิการ

    นายแพทย์สมชัย ภิญโญพรพาณิชย์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

    ผู้ช่วยบรรณาธิการ

    รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผู้อำานวยการสำานัก/กอง ทุกสำานัก/กอง ในสังกัด กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

    กองบรรณาธิการ

    • กองสนับสนุนสุขภ�พภ�คประช�ชน : นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร/นางวิรุณศิริ อารยวงศ์/นายชาติชาย สุวรรณนิตย์/นางศิรินภา แพทย์ดี/นางสาวสุธาทิพย์ จันทรักษ์/นางสุภัคชญา ภวังคะรัต

    • กรมสนับสนุนบริก�รสุขภ�พ : กองสุขศึกษ� - นายต่อโชติ โสตถิกุล/สำ�นักบริห�ร - นางณัฐวดี ศีรีส่ง/กองวิศวกรรมก�รแพทย์ - นายประสพพงษ์ บัวทอง/กองแบบแผน - นายนิรันดร์ คชรัตน์/สำ�นักสถ�นพย�บ�ลและก�รประกอบโรคศิลปะ - นางธนัชพร สิริยานนท์/กลุ่มนิติก�ร - นางจันฑนา จินดา ถาวรกิจ/กลุ่มง�นประช�สัมพันธ์ - นางภัทรานิษฐ์ บุณยวิบูลย์

    • ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒน�สุขภ�พภ�คประช�ชน : ภ�คใต้ - ผอ. ศูนย์ฯ นางพนิตนาฏ วิสุทธิธรรม/ภ�คเหนือ - ผอ. ศูนย์ฯ นางจรรยา รัตนวิภา/ช�ยแดนภ�คใต้ - ผอ. ศูนย์ฯ นายสุนทร สีทองแก้ว/ภ�คกล�ง - ผอ. ศูนย์ฯ นางมณฑา กิตติวราวุฒิ/ภ�คตะวันออกเฉียงเหนือ - ผอ. ศูนย์ฯ นายนิรุจน์ อุทธา

    • สำ�นักง�นหลักประกันสุขภ�พแห่งช�ติ : สำ�นักประช�สัมพันธ์และบริก�รประช�ชน - นางนิภาพรรณ สุขศิริ

    • สำ�นักง�นส�ธ�รณสุขจังหวัด : ภูเก็ต - นางณัฐสุดา รอดฉ้ง/ชุมพร - นายอดิศร วิศาล/อำ�น�จเจริญ - นายกัญจนัฎฐ์ เจริญชัย/ก�ฬสินธ์ุ - นายพิทักษ์ กาญจนศร/พิษณุโลก - นายจินตศักดิ อู่ไทย/ลำ�พูน - นายพัฒฑณา อินทะชัย/ชัยน�ท - นายอภิชัย คุณีพงษ์/ร�ชบุรี - นายเจตนา คันธาทิพย์/ปัตต�นี - นางสุนิศา จันทร์สดี

    • ภ�คประช�ชน : ประธานชมรม อสม. แหง่ประเทศไทย/ประธานชมรม อสม. ภาคกลาง/ประธานชมรม อสม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ประธานชมรม อสม. ภาคเหนือ/ประธานชมรม อสม. ภาคใต้/ ประธาน อสส. กทม/นายเหรียญ บุญสำาลี ประธานชมรม อสม. จังหวัดนครสวรรค์/นายพัฒนา พรมเผา่ ประธานชมรม อสม. จงัหวดัสระแกว้/นายอดุร พรมล ีประธานชมรม อสม. จงัหวดัมหาสารคาม/นายประดิษฐ์ พรมเนาว์ ประธานชมรม อสม. จังหวัดหนองคาย/นางวาสนา กล้าอยู่ ประธานชมรม อสม. อำาเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช/นางมณีรัตน์ บุญเต็ม อสม. จังหวัดสงขลา/นายเฉลิม นายอดดี อสม. จังหวัดเลย

    • ผลิตโดย กรมสนับสนุนบริก�รสุขภ�พ กระทรวงส�ธ�รณสุข ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ : 0-2590-1540, 0-2590-1531 โทรสาร : 0-2590-1546

  • 3หนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.–อสม.

    ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎ�คม 2554รายงานพิเศษ

    ศสมช. กับบทบาท “คลินิกอบอุ่น” อีกหนึ่งรูปแบบบริการสุขภาพเมืองระยอง

    สมุทรสาครอบรม ครู ขพร้อมปฏิบัติงานใน รพ.สต.

    สำ�นักง�นส�ธ�รณสุขจังหวัดสมุทรส�คร ได้จัดทำาโครงก�รประชุมเชิงปฏิบัติก�รพัฒน�ศักยภ�พวิทย�กรระดับเครือข่�ย(ครู ข) เพื่อสนับสนุนการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบคุลากรทีป่ฏบิตังิานในโรงพยาบาลสง่เสรมิสขุภาพตำาบล (รพ.สต) แกนนำาเครอืขา่ย (คร ูข) ระดบัจงัหวดั และ CUP ให้สามารถขับเคลื่อนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใน รพ.สต. ได้อย่างเป็นระบบ และเกิดการพฒันาอยา่งตอ่เนือ่ง โดยกระบวนการแลกเปลีย่นเรยีนรูด้งักลา่วจดัใหม้กีารแบง่กลุม่เพือ่แลกเปลีย่นเรียนใน 4 หัวข้อ ได้แก่ 1) การบริหารจัดการให้ รพ.สต.สำาเร็จ 2) ประสบการณ์ดีที่อยากเล่าเกี่ยวกับ รพ.สต. 3) การเยี่ยมบ้าน และ 4) การจัดการระบบข้อมูล 5 กลุ่ม (แม่ เด็ก ผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง และผู้พิการ) โดยคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหิดล นำาโดย อาจารย์ ดร.วิรัตน์ คำาศรีจันทร์...

    จังหวัดระยอง เป็นหนึ่งในสี่จังหวัดภาคตะวันออก มีประชาชน 2  ล้าน 6 แสนกว่าคน มีสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด 524 แห่ง โดยในปี 2555–2559 มีแผนพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ 3 แห่งคือ โรงพยาบาลชลบุ รี โ ร งพยาบาล พระปกเกลา้จนัทบรุ ีและ

    โรงพยาบาลระยอง ใหเ้ปน็ศนูยเ์ชีย่วชาญรกัษาเดก็แรกเกดิ ดแูลรกัษาผูป้ว่ยอบุตัเิหต/ุฉุกเฉิน และผู้ป่วยโรคหัวใจ รองรับการรักษาผู้ป่วยใน 4 จังหวัด (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) และพัฒนาโรงพยาบาลชุมชน 79 แห่ง ให้มีศักยภาพมีขีดความสามารถดแูลผูป้ว่ยในพืน้ทีส่งูขึน้ ขณะนีโ้รงพยาบาลศนูย ์โรงพยาบาลทัว่ไปทกุแหง่ ไดข้ยายบรกิารผูป้ว่ยนอก ลดความแออดัภายในโรงพยาบาล โดยเพิม่บรกิารทีค่ลนิกิ 4 มุมเมือง ซ่ึงต้ังอยู่นอกโรงพยาบาล พบว่าได้ผลดี ประชาชนได้รับบริการรวดเร็วข้ึน 

    ทั้งนี้ น�ยแพทย์ไพจิตร์ วร�ชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ลงพื้นที่จังหวัดระยอง เพื่อตรวจเยี่ยมการดำาเนินงานคลินิกสาขาตรวจรักษาผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลระยอง ที่สาขาเนินพระ และสาขาตะพง ภายหลังการประชุม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข สาธารณสุขนิเทศก์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ผู้อำานวยการโรงพยาบาลทุกระดับ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่อยู่ใน ภาคตะวันออก 4 จังหวัดได้แก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด เพื่อติดตามนโยบายการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในปี 2554 และให้กำาลังใจผู้ปฏิบัติงาน โดยในส่วนของจังหวัดระยองซึ่งมีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ส่วนใหญ่ประกอบการด้านอุตสาหกรรมปิโตรเคมี กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำาแผนพัฒนาโรงพยาบาลระยองเป็นศูนย์เชี่ยวชาญทางด้านหัวใจ มะเร็ง อุบัติเหตุ และทารก แรกเกิด เป็นศูนย์พิษวิทยาภาคตะวันออก และศูนย์ดูแลด้านจิตเวชฉุกเฉิน 

    คลินิก 4 มุมเมือง รองรับบริการ ของ รพ.

    สำาหรับการพัฒนาระบบริการผู้ป่วยนอกเพื่อลดความแออัดที่โรงพยาบาลระยองนั้น ได้มีการเปิดคลินิก 4 มุมเมือง ขึ้น 4 แห่ง คือ ที่ตำาบลเนินพระ ตำาบลตะพง ตำาบลจันทอุดม และคลินิกอบอุ่นเทศบาลระยอง ซึ่งอยู่ห่างจากโรงพยาบาลระยองประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นจุดบริการตรวจรักษาผู้ป่วยนอกเพิ่ม มีแพทย์ให้บริการเหมือนที่โรงพยาบาล หากมีผู้ป่วยจำาเป็นต้องนอนรักษา จะส่งตัวไปที่โรงพยาบาลระยอง เมื่อคลินิกดังกล่าวดำาเนินการได้อย่าง มีประสิทธิภาพแล้ว ก็จะปิดให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาลระยอง โดยประชาชนสามารถใช้บริการที่คลินิก 4 มุมเมืองแทน จะทำาให้โรงพยาบาลระยองเป็นโรงพยาบาล ศูนย์แห่งแรกในประเทศ ที่รองรับการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีอาการหนักได้อย่างเต็มศักยภาพ ไม่มีแผนกผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลศูนย์ คาดว่าจะใช้เวลาพัฒนาประมาณ 2 ปี

    ศสมช. “คลินิกอบอุ่น” เทศบาลระยองนายแพทย์ไพจิตร์ กล่าวว่า ในการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขแก่ประชาชน

    นั้น ได้มอบนโยบายให้ทุกจังหวัดดำาเนินการ 3 เรื่อง ได้แก่ 1) จัดทำาแผนพัฒนาสถานบริการให้ชัดเจน เพื่อให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ และอาจเปิดให้เกิดการลงทุนร่วมระหว่างรัฐเอกชน ซึ่งจะลดการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐลง 2) พัฒนาคุณภาพบริการ โดยโรงพยาบาลทุกแห่ง ต้องผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นประชาชนและ 3) ให้ทุกจังหวัด เรง่ปอ้งกนัควบคมุโรคไมต่ดิตอ่ เชน่ เบาหวาน ความดนัโลหติสงู โรคหวัใจ โรคดงักลา่วกำาลงัเปน็ปัญหาในไทยและในระดับโลก เป็นสาเหตุการตายคนทั่วโลกร้อยละ 60–70 จะต้องดำาเนินการแก้ไขป้องกันอย่างจริงจังเชื่อมโยงส่วนกลางกับจังหวัด อำาเภอ หมู่บ้าน  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนไม่ให้เจ็บป่วย

    ทั้งนี้ ปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมคลินิกอบอุ่นเทศบ�ลระยองซึ่งเป็นศูนย์ส�ธ�รณสุขมูลฐ�นชุมชน (ศสมช.) ที่ให้การบริการดูแลสุขภาพประชาชนในหมู่บ้าน มีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และมีการคิดค้น “นวัตกรรมกระเป๋� 5 มิติ” ซึ่งเป็นกระเป๋าที่ใส่เครื่องมือการตรวจวัดวัดความดันโลหิต เจาะเลือดที่บ้าน ตรวจหาระดับน้ำาตาลใน ผูป้ว่ยเบาหวาน นอกจากนี ้คลนิกิอบอุน่ยงัมเีจา้หนา้ทีพ่รอ้มใหแ้นะนำาในการดแูลสขุภาพ บรกิารนวดแผนโบราณ และจ่ายยาเบื้องต้น ซึ่งคลินิกแห่งนี้อยู่ห่างจากโรงพยาบาลระยองประมาณ 5 กิโลเมตร เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่ในตัวเมืองได้...

  • อสม.ควรรู้ 4 หนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.–อสม.ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎ�คม 2554

    เป็นที่รู้กันว่�ก�รนวดแผนไทยเป็นศ�สตร์ ก�รดแูลสขุภ�พทีย่อมรบักนัอย�่งกว�้งขว�งทัง้ในระดบัประเทศและระดับน�น�ช�ติม�น�นแล้ว แต่ครั้งนี้ เป็นก�รประก�ศคว�มยิ่งใหญ่ของก�รนวดแผนไทยอย่�งเป็นท�งก�ร เมื่อประเทศไทยเตรียมตัวเป็น เจ้�สถิติโลก กินเนสส์บุ๊ค เวิร์ด เร็คคอร์ด ด้วยสถิติ ผูน้วดและผูถ้กูนวดจำ�นวนม�กทีส่ดุในโลก หวงัทำ�ล�ยสถิติโลกของประเทศออสเตรเลียท่ีเคยทำ�ไว้ก่อนหน้�น้ี

    น�ยแพทย์สมชัย ภิญโญพรพ�ณิชย์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เปิดเผยว่า การนวดแผนไทยเป็นหนึ่งในธุรกิจบริการสุขภาพที่อยู่ในการกำากับดูแลของกรมสนบัสนนุบรกิารสขุภาพ ทีผ่า่นมามกีารสง่เสรมิเพือ่เพิม่ขดีความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งยกระดับคุณภาพมาตรฐานของธุรกิจนวดไทยและธุรกิจบริการสุขภาพอื่นๆ ซึ่ง ก็คือ สปา ให้สามารถแข่งขันกับตลาดสากลได้ สำาหรับการส่งเสริมธุรกิจนวดไทยในครั้งนี้ กรมฯ ได้ร่วมมือกับ กรมสง่เสรมิการสง่ออก การทอ่งเทีย่วแหง่ประเทศไทย และบรษิทัการบนิไทย จำากดั (มหาชน) จดังานมหกรรม World record For Thai Massage ขึ้น โดยจะเป็นการทุบสถิติโลกด้วยการนวดไทย ประเดิมครั้งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ ต่อด้วยอุบลร�ชธ�นี สุร�ษฎร์ธ�นี ภูเก็ต และกรุงเทพมห�นคร ตามลำาดับ ซึ่งในงานดังกล่าวจะทำาให้

    มหกรรมนวดไทยบันลือโลก

    “World record for Thai Massage”

    ประ เทศไทยถูกจารึ กชื่ อ ใน “กินเนสส์ บุ๊ค เวิร์ค เร็คคอร์ด” เรื่องการนวดไทยที่งดงามและมีจำานวนมากที่สุดในโลก เนื่องจากมหกรรม World record For Thai Massage จะเป็นการนวดที่ใช้ผู้นวดและผู้ถูกนวดมากที่สุดในโลก รวม 840 คู่ ทำาลายสถิติเดิมที่เคยทำาไว้จำานวน 263 คู่ ที่ประเทศออสเตรเลียเมื่อสองปีที่แล้ว นอกจากนี ้การจดังานดงักลา่วเพือ่เฉลมิพระเกยีรตพิระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เน่ืองในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา ในปี 2554 และยังเป็นการประชาสัมพันธ์โครงการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพ ของเอเชีย หรือ Medical hub อีกด้วย

    ก�รบันทึกโลกนวดไทยที่จังหวัดเชียงใหม่ มีการนวด จำานวน 199 คู่ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2554 ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ โดยความร่วมมือของสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ พาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่ การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำานักงานเชียงใหม่ และสมาคมไทยล้านนาสปา โดย สมาคมฯ ได้คิดค้นศาสตร์การนวดสปาที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใครในโลกขึ้น คือ “ก�รนวดแบบอัตตลักษณ์ไทยล้�นน�สป�” หรือ Lanna Exotic

    massage ที่เป็นการนำาเรื่องของธรรมชาติบำาบัดแบบไทยภาคเหนือมาประยุกต์ใช้กับอารยธรรมทางด้านตะวันตก มีการนำาเอาอัตตลักษณ์ล้านนา รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ตามวถิกีารดำาเนนิชวีติ วฒันธรรมการใชส้มนุไพร การนวด

    และการบำาบัด ของชาวล้านนามารวมเข้าด้วยกันส่วนที่ก�รจัดครั้งที่สองที่จังหวัด

    อุบลร�ชธ�นี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ร่วมกับจังหวัดอุบลราชธานี ได้จัดโชว์ นวดไทยอีสาน “นวดขิดเส้น” จำานวน 2,784 คู่ เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2554 ณ บรเิวณหนา้วดัศรอีบุลรตันาราม จงัหวดั

    อุบลราชธานี โดย น�ยแพทย์สมชัย ภิญโญพรพ�ณิชย์ อธิบดีกรมสนับสนุน

    บริการสุขภาพ พร้อมด้วย น�ยสุรพล ส�ยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ร่วมเป็นประธาน

    ในพิธีเปิดฯ เพื่อปลุกกระแสการนวดไทยให้ชาวไทยและชาวต่างประเทศ เล็งเห็นถึงคุณค่าและความสำาคัญของ การนวดแบบพื้นบ้านไทอีสาน อันเป็นอัตลักษณ์ของชาว ไทอีสานที่ควรได้รับการอนุรักษ์สืบทอดต่อไป ทั้งยังเป็น การส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งอยู่ในช่วงของประเพณีการแห่เทียนพรรษา ซึ่งถือเป็นโอกาสดี ที่นักท่องเที่ยวจะได้เห็น รูปแบบศิลปวัฒนธรรมของไทย ที่งดงามและหลากหลายพร้อมกัน และที่สำาคัญยังเป็น การสร้างกระแสการขับเคลื่อนการนวดไทยเพื่อสุขภาพบันทึกโลก ในระดับประเทศ ซึ่งจะจัดขึ้นปลายปีนี้ อีกด้วย

    ง�นมหกรรม World record For Thai Massage ที่จัดขึ้น นอกจ�กจะเป็นก�รเผยแพร่อัตตลักษณ์ ก�รนวดเพื่อสุขภ�พ ว่�เป็นศ�สตร์ก�รนวดที่มีวัฒนธรรมของ 4 จังหวัดในประเทศไทยให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับส�กลแล้ว ยังเป็นก�รส่งเสริม และสนับสนุนก�รท่องเที่ยวของประเทศไทย ซึ่งจะนำ� ร�ยได้เข้�สู่ประเทศไทยอีกท�งหนึ่งด้วย...

  • 5หนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.–อสม.

    ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎ�คม 2554

    ตามไปดู...หมู่บ้านสุขภาพดี จ.สระแก้ว

    นวัตกรรมสุขภาพชุมชน

    โดยกำาหนดก�รดำ�เนินง�นพื้นที่ต้นแบบ 8 ด้�น ประกอบด้วย หมู่บ้านจัดการสุขภาพ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยตามหลัก 8 อ. ชุมชนต้นแบบการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ชุมชนไร้พุง ชุมชน/ หมูบ่า้นไอโอดนี หมูบ่า้นปรบัเปลีย่นพฤตกิรรมลดโรคมะเรง็ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด หมู่บ้านต้นแบบงดบุหรี่ งดสุรา และหมู่บ้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี

    เกณฑก์�รประกวดแบง่ออกเปน็ 2 รอบ ประกอบดว้ย รอบแรก ลงพืน้ทีป่ระเมนิผลการดำาเนนิงานในหมูบ่า้น ระหว่างวันที่ 8–10 มิถุนายน 2554 โดยมี น�ยแพทย์วิจิตต์ สีม� รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว เป็นประธานคณะกรรมการประกวดฯ โดยได้กล่าวว่า การที่ชุมชนมีกระบวนการร่วมกันคิด วิเคราะห์ถึงสภาพความเปน็อยูแ่ละรว่มกนัสรา้งกจิกรรมการดำาเนนิงานดา้นสุขภาพ หมู่บ้านที่จะมีระบบการจัดการสุขภาพที่สมบูรณ์และดำาเนินไปสู่ความสำาเร็จได้นั้นมีหลายปัจจัยที่เข้ามาเกีย่วขอ้ง การจะทำาใหป้ระชาชนมจีติสำานกึและแสดงบทบาทในการดูแลตนเองและพัฒนาสุขภาพของคนในครอบครัวและชุมชนได้นั้น สามารถทำาได้ด้วยการสร้างกระบวนการ

    ตามไปดู...หมู่บ้านสุขภาพดี จ.สระแก้ว

    สำ�นักง�นส�ธ�รณสุขจังหวัดสระแก้ว เล็งเห็นคว�มสำ�คัญ ของหมู่บ้�นที่มีระบบจัดก�รสุขภ�พที่ดี จึงได้จัดกิจกรรมประกวด “หมู่บ้�นสุขภ�พดีแบบบูรณ�ก�ร” ภ�ยใต้โครงก�รบูรณ�ก�รเพื่อคว�มเปน็เลศิด�้นก�รบรรลผุลสมัฤทธิก์�รสร�้งพลงัคว�มรว่มมอืกบัภ�คเีครอืข�่ยก�รส�ธ�รณสขุในก�รดำ�เนนิง�นด�้นสขุภ�พ ถว�ยแด่พระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวในวโรก�สทรงเจริญพระชนมพรรษ� 84 พรรษ� วันที่ 5 ธันว�คม 2554 ขึ้น โดยมีเป้�หม�ยให้โรงพย�บ�ลทุกแห่งและโรงพย�บ�ลส่งเสริมสุขภ�พตำ�บล (รพ.สต.) ดำ�เนินก�รพัฒน�สู่หมู่บ้�นสุขภ�พดีแบบบูรณ�ก�รต้นแบบ แห่งละ 1 หมู่บ้�น/ชุมชน ครอบคลุม 9 อำ�เภอ

    ที่นำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ภายใต้การตัดสินใจและความตอ้งการของประชาชนและชมุชนตามศกัยภาพของทอ้งถิน่โดยประชาชนและชมุชนมอีำานาจเตม็ที ่คนในชมุชนรวมตวักัน ร่วมกันคิด ร่วมกันทำา ร่วมใจกันบริหารจัดการคน ทุนและความรู้ของชุมชน เพื่อให้เกิดโครงการของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชนในชุมชน ที่เน้นการพัฒนาคนในชุมชนให้เข้าใจปัญหาของตนและชุมชน คิดเป็น มทีกัษะ วางแผนในการแกป้ญัหาเองได ้มอีสิระในการแลกเปลีย่นเรยีนรู ้วเิคราะหป์ญัหาชมุชนรว่มกนั สว่นบรรยากาศการประกวดในรอบแรกเปน็ไปอยา่งคกึคกั ทกุหมูบ่า้นตา่งนำาเสนอผลงานเด่นและนวัตกรรมในการแก้ปัญหาชุมชนโชว์คณะกรรมการฯ

    สำาหรับในรอบตัดสินและพิธีการมอบรางวัลจะมีขึ้นในงานมหกรรมการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ จังหวัดสระแกว้ ครัง้ที ่5 หวัขอ้ “ก�รพฒัน�วชิ�ก�รสูม่�ตรฐ�นก�รบรกิ�รสขุภ�พทีเ่ปน็เลศิ” วนัที ่21 กรกฎาคม 2554 ณ วทิยาลยัชมุชนสระแกว้ จงัหวดัสระแกว้ โดยมหีลกัเกณฑ์การพจิารณา ประกอบดว้ย ดา้นกระบวนการ คณุภาพการบรหิารจดัการ การมสีว่นรว่มของภาคเีครอืขา่ย การสือ่สารความรู้และการประชาสัมพันธ์ และการถ่ายทอดความรู้/ประชมุชีแ้จงการดำาเนนิกจิกรรมการพฒันาหมูบ่า้นสขุภาพดีแบบบูรณาการ ด้านผลผลิตของโครงการ ปัจจัยที่เอื้อต่อการพฒันาหมูบ่า้นสขุภาพด ีและการจดักจิกรรม มกีจิกรรมการดำาเนินงานตามเกณฑ์ ครบ 8 ด้าน ด้านผลลัพธ์ ของโครงการมีผลการดำาเนินงานครอบคลุมทุกกิจกรรม ในหมู่บ้านและชุมชน และมีผลงานเด่น Best Practice นวัตกรรมการจัดการด้านสุขภาพ

    ในการประกวดในครั้งนี้มีหมู่บ้านสุขภาพดีแบบ บูรณาการต้นแบบที่เข้าร่วมการประกวดทั้งสิ้น 9 หมู่บ้านจากทั้ง 9 อำาเภอของจังหวัดสระแก้ว ประกอบด้วย อำาเภอเมืองสระแก้ว หมู่ 16 บ้านคลองอาราง ตำาบลบ้านแก้ง อำาเภอเขาฉกรรจ์ หมู่ 27 บ้านเขาน้อยสามัคคี ตำาบล

    หนองหว้า อำาเภอวังน้ำาเย็น หมู่ 5 บ้านคลองตะเคียนชัย ตำาบลทุ่งมหาเจริญ อำาเภออรัญประเทศ หมู่ 2 บ้านทับพริก ตำาบลทับพริก อำาเภอคลองหาด หมู่ 9 บ้านคลองใหญ่พัฒนา ตำาบลคลองไก่เถื่อนอำาเภอวังสมบูรณ์ หมู่ 5 บ้านคลองร่วม ตำาบลวังสมบูรณ์ อำาเภอวัฒนานคร หมู่ 3 บ้านบุกะสัง ตำาบลหนองแวง อำาเภอโคกสูง หมู่ 6 บ้ านสุขสำ าราญ ตำาบลหนองแวง

    อำาเภอตาพระยา หมู่ 6 บ้านป่าซอง ตำาบลตาพระยา...

  • 6หนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.–อสม.ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎ�คม 2554

    เมื่อพระเล่นบทหมอ (เถื่อน)องค์ความรู้และทักษะสุขภาพ

    เมื่อพระเล่นบทหมอ (เถื่อน)โดย...ชาตรี พินใยกลุ่มกฎหมายและคดี สำานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ

    ก�รเข�้จบักมุพระครโูสภณธรรม�นศุ�สก ์พระลกูวดักำ�แพงบ�งจ�ก ซอยเพชรเกษม 20 โดย พ.ต.ท.สทุนิ สวนดอกไม ้รองผูก้ำ�กบัก�รสวสัดภิ�พเด็กและสตรี (ดส.) ร่วมกับ น�ยภัทระ แจ้งศิริเจริญ ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักกฎหม�ย กรมสนับสนุนบริก�รสุขภ�พ เมื่อวันที่ 20 มิถุน�ยน 2554 ที่กำ�แพงคลินิกแพทย์แผนไทย นับว่�เป็นก�รจับกุมครั้งที่สอง พระที่ ถกูจบัเปน็พระรปูเดมิ ทีเ่กดิเหตกุเ็ปน็สถ�นทีเ่ดมิ และจ�กก�รสบืคน้ขอ้มลูพบว่�ครั้งที่แล้วเกิดขึ้นเมื่อปี 2552 คดียังอยู่ระหว่�งก�รรอลงอ�ญ�ที่ ศ�ลแขวงธนบรุ ีแตก่อ่นหน�้นัน้พระครดูงักล�่วถกูจบัครัง้แรกเมือ่ป ี2547 ที่ตรรกศิล�แพทย์แผนไทย จังหวัดปทุมธ�นี ดังนั้นพระรูปนี้จึงเคย ถูกจับกุมม�แล้วถึงส�มครั้งด้วยกัน

    เขาใจ รูทัน หลักประกันสุขภาพ

    สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เขต 5 ราชบุรี

    (สปสช. เขต 5 ราชบุรี) รวมกับ สำนักงานหลักประกัน

    สุขภาพแหงชาติ สาขาจังหวัด (สสจ.) จัดโครงการ

    พัฒนาศักยภาพเครือขายอาสาสมัครสาธารณสุข

    ประจำหมูบาน (อสม.) และแกนนำในการรับรู

    และเขาใจระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา

    ในพื้นที่ทั้ง 8 จังหวัด แตละจังหวัดก็จะมี อสม.

    ที่ชวยปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ

    ตำบลหรือสถานีอนามัย และท่ีเปนคณะกรรมการ

    บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถ่ิน

    หรือพื้นที่ มารวมกิจกรรมและเรียนรูสิทธิประโยชน

    ในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา อีกท้ังยังสนับสนุน

    ใหเกิดเครือขาย เพื่อประสานงานกันไดอยางทันทวงที

    และแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ

    จากการวิเคราะหปญหาที่พบในการรับเรื่องรองเรียนในพื้นที่ดูแลรับผิดชอบ

    ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติเขต 5 ราชบุรี พบวาเปนปญหาเกี่ยวกับการที่

    ประชาชนไมรับทราบสิทธิและหนาที่ของตนเองซึ่งจากการประเมินผลของเอแบคโพล

    ป 2553 ในสวนของสื่อที่เปนชองทางที่ทำใหประชาชนไดรับทราบขอมูลและการรับรู

    ในการใชสิทธิจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบานถึงรอยละ 45.5 ของทุกชองทาง

    สื่อสารซึ่งจะเห็นไดวาอาสาสมัครประจำหมูบานเปนกลุมเครือขายที่เขมแข็ง

    พรอมท้ังยังเปนส่ือกลางท่ีสำคัญใหกับระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา

    ไดอยางดียิ่ง

    กิจกรรมในชวงเชาจะเปนการบรรยายเร่ือง “รูจัก รูทัน เขาใจ

    หลักประกันสุขภาพถวนหนา” ในชวงบาย จะเปนกิจกรรม

    Walk Rally เพื ่อพัฒนาทักษะความรู ในระบบหลักประกัน

    สุขภาพของ อสม. จำนวน 6 สถานี 1.สถานีโรคไต 2.สถานี

    หนวยบริการปฐมภูมิ 3.สถานีความรูกองทุนตำบลและการสงเสริม

    ปองกันโรค 4.สถานีสิทธิและหนาที่ 5.สถานีคุมครองสิทธิมาตรา

    41 และมาตรา 18(4) 6.สถานีโรคเอดส

    นพ.วิบูลย สุพุทธิธาดา ผูอำนวยการสปสช. เขต 5 ราชบุรี

    กลาววา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบานเปนแกนนำในการ

    ดำเนินงานดานสุขภาพในระดับหมูบาน ตำบล อำเภอ และยังเปนกำลัง

    สำคัญในการเปนสื่อกลางในการประชาสัมพันธระบบหลักประกัน

    สุขภาพถวนหนาใหประชาชนไดรับรูการจัดอบรมโครงการดังกลาว

    ทำให อสม. ไดรับรูและเขาใจระบบหลักประกันสุขภาพมากยิ่งขึ้นและสามารถนำไป

    ประชาสัมพันธใหกับคนในพื้นที่ของตนเองไดรับรูขาวสารที่ถูกตอง เพื่อใหประชาชน

    สามารถเขาถึงหลักประกันสุขภาพมากยิ่งขึ้น

    “คูมือหลักประกันสุขภาพ

    สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข”

    รวมความรูเกี ่ยวกับหนาที่และสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพและบทบาทของ อสม.พรอมแบบทดสอบ

    “คูมือผูใชสิทธิ

    หลักประกันสุขภาพ”

    รวมความรูเกี่ยวกับหนาที่และสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ(ขนาด 10.5 x 19 ซม.)

    (ขนาด 14.5 x 9 ซม.)

    พฤติกรรมของพระรูปนี้ คือ แอบอ้างตนเป็นแพทย์แผนไทย เปิดรักษาเกี่ยวกับโรคมะเร็ง เต้านม และโรคเกี่ยวกับโลหิต และมีพฤติกรรมลวนลามหญิงที่เข้าไปใช้บริการ ซึ่งจากการส่ง เจา้หนา้ทีต่ดิตามพฤตกิรรมและสง่สายเขา้ลอ่รกัษาพบวา่มพีฤตกิรรมดงักลา่วจรงิ จงึตัง้ขอ้หาประกอบ โรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทเวชกรรมไทยโดยไม่ได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ตาม พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 ส่วน นางประณิตา ศาสารักษ์ ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา การแพทย์แผนไทย ประเภทเวชกรรมไทยใบอนุญาตเลขที่ พท.ว.16403 ซึ่งเป็นผู้ร่วมกระทำาผิด ฐานเป็นผู้ดำาเนินการสถานพยาบาลไม่ควบคุมดูแลปล่อยให้บุคคลอื่นมาทำาการประกอบโรคศิลปะ จะไดร้บัโทษจำาคกุไมเ่กนิ 2 ปแีละปรบัไมเ่กนิ 40,000 บาท ตาม พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และสง่เรือ่งใหค้ณะอนกุรรมการวชิาชพีดา้นจรรยาบรรณการแพทยแ์ผนไทยพจิารณาวา่จะมกีารพกัใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตหรือไม่ แต่ในเบื้องต้นกรมสนับสนุนบริการสุขภาพให้ปิดสถานพยาบาลดงักลา่ว พรอ้มทัง้สง่เรือ่งใหส้ำานกังานพระพทุธศาสนาแหง่ชาตพิจิารณาถงึเรือ่งพฤตกิรรมของพระครูรูปดังกล่าวว่าสมควรถึงขั้นสึกหรือไม่ และจากการตรวจสอบยังพบว่าสถานพยาบาลดังกล่าว มีการออกใบสั่งยาและให้ไปซื้อยาที่ร้านพรหมรังษี ย่านท่าพระ และมีการจำาหน่ายยาในราคาแพง สูงถึง 10,000 บาท ซึ่งเรื่องดังกล่าวอยู่ในระหว่างการตรวจสอบขยายผลต่อไป...

  • àß°≈—∫¡“∑’Ë°Õß∫√√≥“∏‘°“√Àπ— ◊Õæ‘¡æ‡æ◊Ëå

    — ÿ ÿ¢¿“æ¿“§ª√–™“™π— ÿπ∫√‘ ÿ ÿ¢

    Õ“§“√ 5 ™—Èπ 4 ∂.µ‘«“ππ∑å Õ.‡¡◊Õß ®.ππ∑∫ÿ√’ 11000

    ชื่อ/นามสกุล.............................................................................ที่อยู.......................................................................................โทรศัพท.....................................โทรสาร..................................สถานที่ทำงาน.....................................................................ไดรับหนังสือฉบับประจำเดือน.............................................วันที่..............เดือน.....................................พ.ศ........................

    โปรดทำเครื่องหมาย a ลงใน c และเติมคำในชองวาง ตามความคิดเห็นของทาน

    ตอนที่ 1 ความเห็นเกี่ยวกับหนังสือพิมพเพื่อน ผสส.-อสม.

    1. รูปแบบของหนังสือพิมพ เหมาะสมหรือไม c เหมาะสม c ไมเหมาะสม2. ระยะเวลาการออกหนังสือทุกเดือน เหมาะสมหรือไม c เหมาะสม c ไมเหมาะสม เนื่องจาก..............................................................................3. ขอมูลขาวสารตรงกับความตองการหรือไม c ตรง c ไมตรง เนื่องจาก..............................................................................4. ขาวสารทันสมัยหรือไม c ทันสมัย c ไมทันสมัย เนื่องจาก..............................................................................5. ทานกำลังอานหนังสือพิมพฉบับท่ี......เดือน..............พ.ศ....... ไดรับเมื่อวันที่............เดือน.............................พ.ศ...............6. ฉบับตอไปทานอยากอานเรื่องอะไร เรื่อง.................................................................................... ............................................................................................

    ตอนที่ 2 การไดรับความรูจาก นสพ. เพื่อน ผสส.-อสม.

    1. ทานไดรับความรูเรื่องขั้นตอนการจายคาปวยการ 600 บาท ปงบประมาณ 2553 หรือไม c ไดรับความรู c ไมไดรับความรู

    2. ทานไดรับรูเรื่องงานสาธารณสุขมูลฐานทิศทางใหม ของกรม สบส. หรือไม c ไดรับความรู c ไมไดรับความรู3. ทานไดรับความรูเรื่องการทำเกษตรอินทรียในพื้นที่ตนแบบ ต.สันทราย จ.เชียงใหม หรือไม c ไดรับความรู c ไมไดรับความรู4. ทานไดรับความรูเรื่อง 4 ยุทธการตานโรคไขหวัดใหญ 2009 ของกระทรวงสาธารณสุข หรือไม c ไดรับความรู c ไมไดรับความรู5. ความรูอื่นๆ ที่ไดรับ 5.1 .................................................................................... 5.2 .................................................................................... 5.3 .................................................................................... 5.4 .................................................................................... 5.5 .................................................................................... 5.6 ....................................................................................ขอเสนอแนะ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

    °√–‡ªã“!

    ทัวร์สี่ภาค 7หนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.–อสม.ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎ�คม 2554

    ชื่อ/นามสกุล.......................................................................................ที่อยู่............................................................................................. โทรศัพท์...................................โทรสาร..................................... สถานที่ทำางาน...................................................................... ได้รับหนังสือฉบับประจำาเดือน.......................................... วันที่.................เดือน....................................พ.ศ...................

    โปรดทำ�เครื่องหม�ย ลงใน และเติมคำ�ในช่องว่�งต�มคว�มคิดเห็นของท่�น

    ตอนท่ี 1 คว�มเห็นเก่ียวกับหนังสือพิมพ์เพ่ือน ผสส.–อสม.

    1. รูปแบบของหนังสือพิมพ์ เหมาะสมหรือไม่ เหมาะสม ไม่เหมาะสม2. ระยะเวลาการออกหนังสือทุกเดือน เหมาะสมหรือไม่ เหมาะสม ไม่เหมาะสม เนื่องจาก...............................................................................................3. ข้อมูลข่าวสารตรงกับความต้องการหรือไม่ ตรง ไม่ตรง เนื่องจาก...............................................................................................4. ข่าวสารทันสมัยหรือไม่ ทันสมัย ไม่ทันสมัย เนื่องจาก...............................................................................................5. ทา่นกำาลงัอา่นหนงัสอืพมิพฉ์บบัที.่....เดอืน............พ.ศ........ ไดร้บัเมือ่วนัที.่..................เดอืน................................พ.ศ...............6. ฉบับต่อไปท่านอยากอ่านเรื่องอะไร เรื่อง.................................................................................... ...................................................................................................................

    ตอนที ่2 ก�รไดร้บัคว�มรูจ้�ก นสพ.เพือ่น ผสส.–อสม.

    1. ท่านได้รับความรู้เรื่องหมู่บ้านจัดการสุขภาพต้นแบบ หรือไม่ ได้รับความรู้ ไม่ได้รับความรู้

    2. ทา่นไดร้บัความรูเ้รือ่งการปรบัพฤตกิรรมสขุภาพหรอืไม่ ได้รับความรู้ ไม่ได้รับความรู้

    3. ทา่นไดร้บัความรูเ้รือ่งยทุธศาสตรก์ารพฒันาชมรม อสม. และ อสม. หรือไม่ ได้รับความรู้ ไม่ได้รับความรู้

    4. ท่านได้รับรู้บทบาท อสม. ในการทำางานด้านต่างๆ หรือไม่ ทราบ ไม่ทราบ

    5. ความรู้อื่นๆ ที่ได้รับ 5 .1 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5.2.............................................................. 5.3............................................................... 5.4............................................................... 5.5............................................................... 5.6...............................................................

    ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ...................................................................................................................

    เยี่ยมตำ�บล– หมู่บ้�นจัดก�รสุขภ�พต้นแบบ

    แพทย์หญิงประนอม คำ�เที่ยง รองอธิบดีกรมสนบัสนนุบรกิารสขุภาพ พรอ้มคณะจากกองสนบัสนนุสขุภาพภาคประชาชน และศนูยฝ์กึอบรมและพฒันาสขุภาพภาคประชาชน 5 ศูนย์ หัวหน้ากลุ่มงานกองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน เดนิทางไปตรวจเยีย่มการดำาเนนิงานตำาบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านจัดการสุขภาพต้นแบบ และเครือข่าย สขุภาพภาคประชาชน ตำาบลดงสงิห ์อำาเภอจงัหาร จงัหวดัร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2554 โดยมี น�ยแพทย์ภ�สกร ไชยเศรษฐ นายแพทยส์าธารณสขุจงัหวดัรอ้ยเอด็ และคณะเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และประชาชน

    ชาวตำาบลดงสงิหใ์หก้ารตอ้นรบัอยา่งอบอุน่ แพทยห์ญงิประนอม คำาเทีย่ง กลา่ววา่ การตรวจเยีย่มในครัง้นีเ้พือ่สรา้งขวญักำาลงัใจแก่พี่น้องชาวตำาบลผักแว่น ซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงที่ประสบอุทกภัย รู้สึกประทับใจในความรักสามัคคีของประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ที่สำาคัญตำาบลดงสิงห์เป็นตำาบลที่มีผลงานด้านการจัดการเรื่องสุขภาพภาคประชาชนที่ดี จึงต้องการมาเยี่ยมชมผลงานและให้ขวัญกำาลังใจกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

    ตำาบลดงสิงห์ ถือเป็นหนึ่งในหลายแห่งของจังหวัดร้อยเอ็ด ที่ประสบผลสำาเร็จเห็นเป็นรูปธรรมในเรื่องของการจัดการเรื่องสุขภาพตนเอง ไม่ว่าจะเป็นการออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพในทุกกลุ่มวัย มีชมรมออกกำาลังกายทุกหมู่บ้านการปลูก และรับประทานผักผลไม้ปลอดสารพิษ และมีกองทุนสุขภาพตำาบล ได้รับการสนับสนุนให้การช่วยเหลือจากเทศบาล ตำาบลดงสิงห์เป็นอย่างดี...

    น�ยแพทยส์มชยั ภญิโญพรพ�ณชิย ์อธบิดกีรมสนบัสนนุบริการสุขภาพ เดินทางไปตรวจเยี่ยมการดำาเนินงานของศูนย์ฝึกอบรมและพฒัน�สขุภ�พภ�คประช�ชน ภ�คกล�ง จงัหวดัชลบรุ ีพร้อมทั้งได้มอบนโยบายการดำาเนินงานสุขภาพภาคประชาชน

    สงขลาถอดรหัส อสม. ดีเด่นน�ยแพทย์ศิริชัย ลีวรรณนภ�ใส น�ยแพทย์ส�ธ�รณสุขจังหวัดสงขล� จัดประชุม

    “เวท ี100 อสม. รอ้ยเรือ่งดีๆ ” ถอดบทเรยีน อสม. ดเีดน่ระดบัจงัหวดั เขต ภาค และระดบัชาติ ตั้งแต่ ปี 2534–2554 ของจังหวัดสงขลา พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่จากสำานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา และสำานักงานสาธารณสุขอำาเภอ รวม 120 คน โดยเป็น การประชุมเพื่อถอดบทเรียน อสม. ดีเด่น 20 ปี ย้อนหลัง ระหว่างวันที่ 21–22 กรกฎาคม 2554 ณ วงัสายทองรสีอรท์ อำาเภอละง ูจงัหวดัสตลู เพือ่สง่เสรมิศกัยภาพของ อสม.ในการดำาเนินงานสุขภาพภาคประชาชนอีกรูปแบบหนึ่ง และเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำาเนินงานของ อสม.ดีเด่นย้อนหลัง 20 ปี ซึ่งแต่ละคนจะไดถ้า่ยทอดประสบการณท์ำางานของตนเอง ในขณะเดยีวกนัจะไดร้บัฟงัประสบการณ์ของคนอื่นๆ ที่เป็น อสม.ดีเด่นระดับต่างๆ ในแต่ละพื้นที่ ทั้งที่มีบริบทเหมือนกันและแตกตา่งกนั โดยในการประชมุครัง้นี ้ใชท้กัษะและวธิถีอดบทเรยีนในการระดมสมอง โดยเทคนิค World Cafe’ การแบ่งกลุ่มเพื่อทบทวนกระบวนการดำาเนินงานที่ผ่านมาและการร่วมระดมความคิด “ถอดรหัส อสม.ดีเด่น” พร้อมสรุปเพื่อจัดทำาเป็นเอกสารและนำาเผยแพร่ต่อไป...

    อธิบดี สบส. เยี่ยมศูนย์ สช. ภาคกลางในปี 2554 โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของ อสม. ซึ่งเป็นหนึ่งในยทุธศาสตรข์องกรมสนบัสนนุบรกิารสขุภาพทีจ่ะตอ้งดำาเนนิการอยา่งตอ่เนือ่ง เชน่เดยีวกบัโครงการทีจ่ะเปน็ประโยชนก์บั อสม. โดยเฉพาะการจัดทำาระเบียบ อสม. ที่จะต้องเร่งดำาเนินการในด้านกฎหมายให้แล้วเสร็จ ดังนั้น ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนจึงควรประสานงานอย่างใกล้ชิดกับกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ซึ่งเป็นหน่วยงานกลาง เพื่อให้ เกิดความรวดเร็ว นอกจากนี้ อธิบดีกรม สบส. ยังเน้นย้ำาเรื่องการสร้างขวัญกำาลังใจให้แก่ อสม. และบุคลากรของศูนย์ สช. เพื่อให้คนทำางานได้มีกำาลังใจและได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง...

  • ผลงานของเรา8 หนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.–อสม.ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎ�คม 2554

    รุกแผนสุขภาพตำาบล : กอง สช. จดัประชมุเชงิปฏบิตัิการระดมความคิดเห็นเพื่อวางแผนและติดตามผลการดำาเนินงานตำาบลจัดการสุขภาพ ภายใต้โครงการเสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเพือ่การแลกเปลีย่นเรยีนรูแ้ละขบัเคลือ่นแผนสขุภาพตำาบลสู่การปฏิบัติ ปี 2554 ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 4–5 กรกฎาคม 2554...

    อบรม อสม. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง : น�ยแพทย์ระวี  สิริประเสริฐ น�ยแพทยส์�ธ�รณสขุจงัหวดัปร�จนีบรุ ีเปดิการอบรม อสม. ตามโครงการระบบตดิตามประเมินผลภาวะสุขภาพ (วัดซ้ำากลุ่ม เทา ดำา) ใน รพ.สต. 6 แห่ง ได้แก่ รพ.สต. ศาลานเรศวร ทุ่งตะลุมพุก บ้านนา วังตะเคียน คลองรั้ง และ นิคมพัฒนา เน้นฝึกทักษะ การวัดความดันโลหิต  การเจาะเลือด วัดรอบเอว หาค่าดัชนีมวลกาย  พร้อมทั้งฝึก การแปลผลขาว เทา ดำา โดยภารกิจของ รพ.สต. นำาร่อง ทั้ง 6 แห่งนี้ คือ สร้างการ มีส่วนร่วมของภาคประชาชน ติดตามวัดซ้ำากลุ่มเทา ดำา ทุกเดือนอย่างต่อเนื่อง...

    อสม. ประชาธิปไตย : ผ่านพ้นไปแล้วสำาหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ยังมีภาพความทรงจำาดีๆ กับบทบาท อสม.ประชาธิปไตยที่จังหวัดพิษณุโลกมาฝาก ในโครงการอบรม อสม. ประชาธิปไตย โดย น�ยแพทย์บุญเติม ตันสุรัตน์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกร่วมกับชมรม อสม. จังหวัดพิษณุโลกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมไพลิน จังหวัด พิษณุโลก...