46

Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช
Page 2: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

• ความเป็นมา

• กฏกระทรวงแบ่งส่วนราชการ

• พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกัน

และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

Page 3: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม

ความเป็นมาและการดำเนินงาน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

(สำนักงาน ป.ป.ท.)

๑. ความเป็นมา ๑.๑ ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีภารกิจโดยตรงในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของบุคลากรในภาค

ราชการ แต่รัฐบาลกลับขาดเครื่องมือโดยตรงที่จะแก้ไขปัญหานี้ แม้ ป.ป.ช. จะมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐในทุกระดับและสามารถดำเนินการได้ดีในระดับหนึ่ง แต่เนื่องจากภารกิจ

หน้าที่ดังกล่าวทำให้ ป.ป.ช. มีเรื่องในความรับผิดชอบจำนวนมากเกินกำลังและขนาดขององค์กร ทั้งยังเป็นองค์กร

อิสระที่รัฐบาลมิได้รับผิดชอบ ดังนั้น คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๔ วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๕

และวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๔๕ ให้มีการจัดตั้งองค์กรฝ่ายบริหารเพื่อทำหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตใน

ภาครัฐขึ้น ต่อมาในปี ๒๕๔๖ กระทรวงยุติธรรมก็ได้เสนอร่างกฎหมายเพื่อดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว

๑.๒ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๕๐ (๓) ได้กำหนดให้คณะ

กรรมการ ป.ป.ช. มีอำนาจหน้าที่เฉพาะไต่สวนและวินิจฉัยการกระทำทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐดำรงตำแหน่งตั้งแต่

ผู้บริหารระดับสูงหรือข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ผู้อำนวยการกอง หรือเทียบเท่าขึ้นไปร่ำรวยผิดปกติ กระทำ

ความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการ

ยุติธรรม รวมทั้งดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการในระดับต่ำกว่าที่ร่วมกระทำความผิดกับผู้ดำรงตำแหน่ง

ดังกล่าว หรือกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือที่กระทำความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควร

ดำเนินการ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตจะกำหนด

ดังนั้น จึงส่งผลให้การกระทำทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ดำรงตำแหน่งต่ำกว่าผู้บริหารระดับสูงและข้าราชการที่ดำรง

ตำแหน่งต่ำกว่าผู้อำนวยการกองไม่อยู่ในอำนาจของ ป.ป.ช. และยังไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบ กระทรวงยุติธรรมจึง

ได้ปรับปรุงร่างกฎหมายที่ได้เสนอตามข้อ ๑.๑ ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ และคณะรัฐมนตรีก็ได้เสนอร่างกฎหมาย

ดังกล่าวต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาแล้ว มีมติให้ความเห็นชอบเป็นกฎหมาย

๑.๓. พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งลง

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๑ ก ลงวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑ มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕

มกราคม ๒๕๕๑ อันเป็นวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยพระราชบัญญัติดังกล่าวได้กำหนด

โครงสร้างองค์กรฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐเป็น ๒ ส่วน กล่าวคือ คณะกรรมการ

ป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (คณะกรรมการ ป.ป.ท.) และสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.) เพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและปราบปราม

การทุจริตในภาครัฐต่อไป

Page 4: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

๒. คณะกรรมการ ป.ป.ท. ๒.๑องค์ประกอบ

คณะกรรมการ ป.ป.ท.มีจำนวน ๗ คน ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกไม่เกิน

ห้าคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามลำดับเป็นกรรมการ

เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง โดยให้เลขาธิการคณะ

กรรมการ ป.ป.ท. เป็นเลขานุการ

๒.๒อำนาจหน้าที่และวิธีดำเนินการ

คณะกรรมการ ป.ป.ท.มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการ

ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ โดยเสนอนโยบาย มาตรการ และแผนพัฒนาการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี (มาตรา ๑๗ (๑)) เสนอแนะให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี

เกี่ยวกับการปรับปรุงกฎหมาย ข้อบังคับ และมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

(มาตรา ๑๗ (๒)) และเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการกำหนดตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งต้อง

ยื่นแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (มาตรา ๑๗ (๓))

ในด้านปราบปราม คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีอำนาจหน้าที่ไต่สวนข้อเท็จจริงและชี้มูลเกี่ยวกับการกระทำ

ทุจริตในภาครัฐของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมความเห็นส่งพนักงานอัยการ (มาตรา

๑๗ (๔) (๕) การไต่สวนข้อเท็จจริงเป็นการแสวงหา รวบรวม และการดำเนินการอื่นใดเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงและ

พยานหลักฐานในการที่จะทราบรายละเอียดและพิสูจน์เกี่ยวกับการทุจริต (มาตรา ๓) ซึ่งการใช้อำนาจของคณะ

กรรมการ ป.ป.ท. อาจกระทำโดยการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการแทน หรือมอบหมายพนักงาน ป.ป.ท. หรือ

เจ้าหน้าที่ ป.ป.ท. ดำเนินการแสวงหาข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือมูลความผิด

ก็ได้ (มาตรา ๓๒) ในการดำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริง กรรมการ ป.ป.ท. อนุกรรมการ และพนักงาน ป.ป.ท. จะมี

สถานะเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ และเจ้าหน้าที่ ป.ป.ท. มีสถานะเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือ

ตำรวจ โดยมีอำนาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เว้นแต่อำนาจจับและคุมขังให้แจ้งพนักงานฝ่าย

ปกครองและตำรวจดำเนินการ (มาตรา ๖๐)

เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการทุจริตในภาครัฐแล้ว จะมีอำนาจดำเนินการได้

ดังนี้

(๑) กรณีมีมูลความผิดทางวินัย จะส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ถูกกล่าวหานั้นเพื่อพิจารณา

โทษทางวินัยตามฐานความผิดที่มีมติ (มาตรา ๔๐) โดยผู้บังคับบัญชาต้องพิจารณาโทษทางวินัยภายใน ๓๐ วัน

(มาตรา ๔๑) หากละเลยไม่ดำเนินการจะถือเป็นความผิดทางวินัย (มาตรา ๔๒) และหากผู้บังคับบัญชาไม่ดำเนินการ

ทางวินัย หรือดำเนินการไม่เหมาะสม คณะกรรมการจะเสนอความเห็นไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการตามที่

เห็นสมควร (มาตรา ๔๓)

(๒) กรณีที่มีมูลความผิดทางอาญา จะส่งเรื่องให้พนักงานอัยการดำเนินคดีต่อไป (มาตรา ๔๕)

(๓) กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ถูกกล่าวหาได้อนุมัติ อนุญาตออกเอกสารสิทธิ ให้สิทธิประโยชน์หรือการสั่งการ

ใดๆ แก่บุคคลโดยมิชอบ หรืออาจเป็นเหตุให้เสียหายแก่ทางราชการ จะแจ้งให้หัวหน้าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณา

ดำเนินการสั่งยกเลิกหรือเพิกถอนได้ด้วย (มาตรา ๔๙)

Page 5: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม

อนึ่ง ในการไต่สวนข้อเท็จจริงนั้น ถ้าคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นสมควรจะตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของ

เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ถูกกล่าวหาซึ่งได้ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินไว้กับ ป.ป.ช. แล้ว หรือหากยังไม่ได้ยื่น

บัญชีฯ ก็มีอำนาจสั่งให้ยื่นได้ โดยเมื่อตรวจสอบแล้วหากปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สิน

เพิ่มขึ้นผิดปกติก็จะส่งเรื่องให้ ป.ป.ช. ดำเนินการต่อไป (มาตรา ๔๘)

๓. สำนักงาน ป.ป.ท. สำนักงาน ป.ป.ท. เป็นหน่วยงานจัดตั้งขึ้นใหม่ภายหลังที่มีการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ เมื่อปี

๒๕๔๕ แล้ว โดยจัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปราม

การทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่กำหนดให้สำนักงาน ป.ป.ท. เป็นส่วนราชการระดับกรมสังกัดกระทรวงยุติธรรม อยู่ใน

บังคับบัญชาขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม โดยมี นายธาริต เพ็งดิษฐ์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะ

กรรมการ ป.ป.ท. ทั้งนี้ ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. เลขาธิการคณะ

กรรมการ ป.ป.ท. จะปฏิบัติงานขึ้นตรงต่อประธานกรรมการ

๓.๑อำนาจหน้าที่

สำนักงาน ป.ป.ท. มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกัน

และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ และคณะรัฐมนตรียังได้มีมติมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน

ยุทธศาตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐด้วย ดังนี้

(๑) ตามมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

พ.ศ.๒๕๕๑ กำหนดให้สำนักงาน ป.ป.ท. มีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการ ป.ป.ท. รวม

ตลอดทั้งการสนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพ ประสานงานและให้ความร่วมมือกับส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐอื่นที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและ

แก้ไขปัญหาการทุจริต ประสานงานและให้ความร่วมมือระหว่างประเทศเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการทุจริต จัดให้มีหรือให้ความร่วมมือกับองค์กรอื่นในการศึกษาอบรมและพัฒนา

ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริต รวมทั้งปฏิบัติการอื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น

หรือตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย

(๒) คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ให้หน่วยงานภาครัฐนำแนวทางและมาตรการตาม

ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. และภาคีทุกภาคส่วนร่วมจัดทำ

ขึ้น เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางการประสานความร่วมมือในการดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแปลงไปสู่การ

ปฏิบัติ โดยกำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี มีสำนักงาน ก.พ. สำนักงาน

ก.พ.ร. และสำนักงาน ป.ป.ท. เป็นหน่วยงานหลัก ในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ นอกจากนี้คณะรัฐมนตรี

ยังมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐโดยมี

นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีที่ดูแลนโยบายการบริหารจัดการที่ดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

ยุติธรรมเป็นรองประธานกรรมการ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงทุกกระทรวง เลขาธิการ ป.ป.ช. เลขาธิการ

ก.พ. เลขาธิการ ก.พ.ร. และผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เป็นกรรมการ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ท.

เป็นกรรมการและเลขานุการ

Page 6: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

๓.๒บทบาทในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

จากอำนาจหน้าที่ดังกล่าว สำนักงาน ป.ป.ท. จึงมีบทบาทเป็นองค์กรหลักของฝ่ายบริหารในการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต โดยเป็น

ศูนย์กลางทั้งด้านการป้องกัน การปราบปราม และการประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในการ

ดำเนินการตามนโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ รวมทั้งกำหนดมาตรการเพื่อ

ให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในฝ่ายบริหารสามารถบูรณาการการดำเนินการระหว่างหน่วยงานต่างๆ ให้

บังเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

๔. การจัดตั้งสำนักงาน ป.ป.ท. ตามที่พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา

๕๑ กำหนดให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เป็นส่วนราชการมีฐานะ

เป็นกรมในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อทำหน้าที่เป็นกลไกหลักของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการ

ทุจริต โดยมีบทเฉพาะกาลกำหนดไว้ในมาตรา ๖๗ ให้กระทรวงยุติธรรม สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต

ในภาครัฐ สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ. สำนักงบประมาณ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันจัดทำโครงสร้าง

สำนักงาน กรอบอัตรากำลังข้าราชการ และกำหนดงบประมาณ รวมทั้งการดำเนินการอื่นอันจำเป็นเพื่อรองรับการ

ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน ป.ป.ท. ตามพระราชบัญญัตินี้ ภายในสามสิบวันนับแต่พระราชบัญญัตินี้

ใช้บังคับ (ภายใน ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑)

ดังนั้น เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ กระทรวงยุติธรรมจึงได้มีหนังสือด่วนที่สุด ที่ ยธ ๐๒๑๓/๐๐๗๑๘ ลง

วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ เสนอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดตั้งสำนักงาน ป.ป.ท. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ

กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ การกำหนดโครงสร้างและอัตรากำลัง การจัดสรรอัตรากำลังและงบประมาณ ต่อมา

คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ เห็นชอบหลักการและให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ

ราชการ สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน คณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบาย

กำลังคนภาครัฐ ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องพิจารณาให้การสนับสนุนในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ สามารถปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ที่กฎหมาย

กำหนดได้โดยเร็วต่อไป ซึ่งมีรายละเอียดการดำเนินการ ดังนี้

๔.๑ด้านโครงสร้าง

กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ.

๒๕๕๑ ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นที่เรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑ โดยสำนักงาน

ป.ป.ท. มีส่วนราชการตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

ในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.๒๕๕๑ ดังนี้

(๑) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

(๒) กลุ่มงานกฏหมาย

(๓) กลุ่มตรวจสอบภายใน

(๔) สำนักงานเลขาธิการ

Page 7: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม

(๕) กองการต่างประเทศ

(๖) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

(๗) สำนักคุ้มครองและป้องกัน

(๘) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

(๙) - (๑๓) สำนักปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ๑ - ๕

(๑๔) - (๒๒) สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขตพื้นที่ ๑ - ๙

๔.๒ การดำเนินกระบวนการคัดเลือกประธานกรรมการและกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตใน

ภาครัฐ

ตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและ

ปราบการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑ ให้มีคณะกรรมการ

ป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการ ป.ป.ท.” ประกอบด้วยประธานกรรมการ

คนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกไม่เกินห้าคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา

ตามลำดับ เป็นกรรมการ และมีเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นกรรมการโดย

ตำแหน่ง และให้ดำเนินการแต่งตั้งให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ กระทรวง

ยุติธรรม ได้มีคำสั่งที่ ๔๔๓/๒๕๕๐ ลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ แต่งตั้งคณะกรรมการเตรียมการดำเนินการให้

เป็นไปตามร่างพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหาร พ.ศ. .... ซึ่งได้ดำเนินการแล้วเสร็จ โดยมีบุคคลผู้สมควร

แต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ดังนี้

• นายพิศาล พิริยะสถิต ประธาน

• นายไสว พราหมณี กรรมการ

• นายกุลพัชร์ อิทธิธรรมวินิจ กรรมการ

• นายบุญปลูก ชายเกตุ กรรมการ

• นายถวิล อินทรักษา กรรมการ

• นายอุดม มั่งมีดี กรรมการ

กระทรวงยุติธรรมจึงได้มีหนังสือด่วนที่สุด ที่ ยธ ๐๒๑๓/๐๑๒๙๕ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๑ เรียน

เลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อโปรดเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง และขอความเห็นชอบต่อสภาผู้แทน

ราษฎรและวุฒิสภา ตามลำดับ ต่อมาสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๓/๕๔๗๒ ลง

วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๑ แจ้งให้กระทรวงยุติธรรมทราบ กรณีคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบผู้ได้รับการเสนอชื่อแต่งตั้ง

เป็นคณะกรรมการ ป.ป.ท. จำนวน ๖ ราย ตามที่กระทรวงยุติธรรมนำเสนอ ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาเห็นชอบ

และนำส่งวุฒิสภาดำเนินการ วุฒิสภาในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๙/๒๕๕๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๖

พฤษภาคม ๒๕๕๑ ได้มีมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติฯ ประธานกรรมการ

และกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ซึ่งคณะกรรมาธิการสามัญฯ ดังกล่าว ได้เสนอผลการ

พิจารณาต่อประธานวุฒิสภาว่ากระบวนการพิจารณาให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งประธานกรรมการและ

กรรมการ ป.ป.ท. ในชั้นสภาผู้แทนราษฎรไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ที่ประชุมวุฒิสภาได้ประชุมพิจารณาเรื่องดังกล่าว

ในคราวประชุมสภา ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยที่ประชุมเห็นชอบด้วยกับ

Page 8: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

ความเห็น จึงได้มีหนังสือสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาฯ ด่วนที่สุด ที่ สว ๐๐๐๘/๓๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๑

ส่งเรื่องดังกล่าวคืนให้แก่คณะรัฐมนตรี เพื่อโปรดทราบและพิจารณาดำเนินการต่อ

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มีหนังสือด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๓/๑๔๗๐๖ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๑

แจ้งว่าสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและยืนยันว่าการดำเนินการของสภาผู้แทนราษฎร

ชอบด้วยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแล้ว ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษาเมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๑ ลงมติรับ

ทราบผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงในการดำเนินการของสภาผู้แทนราษฎรเกี่ยวกับการสรรหากรรมการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐตามที่สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเสนอ และให้แจ้งผลการตรวจสอบ

ข้อเท็จจริงดังกล่าวไปยังสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเพื่อนำเสนอวุฒิสภาพิจาณาให้ความเห็นชอบรายชื่อบุคคล

ผู้สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐที่สภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบแล้ว

ต่อไป ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของวุฒิสภาเพื่อให้ความเห็นชอบ

๔.๓ ด้านอัตรากำลัง สำนักงาน ก.พ. ได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ นร ๑๐๐๘.๓.๑/๒๘๗ ลงวันที่ ๒๒

กรกฎาคม ๒๕๕๑ แจ้งว่าได้พิจารณาอนุมัติให้กำหนดตำแหน่งในสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ

ทุจริตในภาครัฐ รวม ๒๖๕ ตำแหน่ง ซึ่งขณะนี้ได้ดำเนินการบรรจุบุคลากรลงในตำแหน่งได้ในระดับหนึ่งแล้ว

๔.๔ด้านงบประมาณ

สำหรับงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับอนุมัติงบกลางเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑

จำนวน ๓๒,๕๘๖,๔๐๐ บาท ซึ่งสำนักงาน ป.ป.ท. ได้ใช้งบประมาณในด้านต่าง ๆ ดังนี้

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ สำนักงาน ป.ป.ท. ได้รับการพิจารณาอนุมัติงบประมาณจากสำนักงบประมาณ

จำนวน ๒๔๐,๘๔๗,๙๐๐ บาท (สองร้อยสี่สิบล้านแปดแสนสี่หมื่นเจ็ดพันเก้าร้อยบาทถ้วน) จากงบประมาณที่ขอไป

จำนวน ๑,๙๖๗,๑๐๐,๐๕๖ บาท (หนึ่งพันเก้าร้อยหกสิบเจ็ดล้านหนึ่งแสนห้าสิบหกบาทถ้วน) (คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๓๖

ของงบประมาณที่ขอไป) โดยมีพันธกิจที่สำคัญ ดังนี้

๑. ตรวจสอบและไต่สวนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

๒. สร้างและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของสังคมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตใน

ภาครัฐ

๓. พัฒนาบุคลากร ปรับปรุงโครงสร้าง กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรม

สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ จำแนกตามงบรายจ่าย ดังนี้

๑. งบบุคลากร ๑๐๙,๔๘๓,๖๐๐ บาท (หนึ่งร้อยเก้าล้านสี่แสนแปดหมื่นสามพันหกร้อยบาทถ้วน)

งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุนครุภัณฑ์ งบรายจ่ายอื่น

งบประมาณ ๑๑,๔๐๕,๘๐๐.๐๐ ๑๕,๔๐๒,๖๐๐.๐๐ ๔,๗๗๘,๐๐๐.๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐

ใช้ไป ๕๒๐,๑๓๙.๖๓ ๓,๔๒๔,๐๒๐.๑๐ ๑,๑๐๕,๒๒๐.๓๐ -

เงินกัน - - ๓,๑๑๔,๒๓๕.๐๐ ๙๘๐,๐๐๐

คงเหลือ ๑๐,๘๘๕,๖๖๐.๓๗ ๑๑,๘๐๗,๔๔๕.๔๘ ๕๕๘,๕๔๔.๗๐ ๒๐,๐๐๐

Page 9: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม

๒. งบดำเนินงาน ๙๘,๖๔๒,๙๐๐ บาท (เก้าสิบแปดล้านหกแสนสี่หมื่นสองพันเก้าร้อยบาทถ้วน)

๓. งบลงทุน ๒๕,๓๕๘,๙๐๐ บาท (ยี่สิบห้าล้านสามแสนห้าหมื่นแปดพันเก้าร้อยบาทถ้วน)

๔. งบรายจ่ายอื่น ๗,๓๖๒,๕๐๐ บาท (เจ็ดล้านสามแสนหกหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน)

รวมจำนวน ๒๔๐,๘๔๗,๙๐๐ บาท (สองร้อยสี่สิบล้านแปดแสนสี่หมื่นเจ็ดพันเก้าร้อยบาทถ้วน)

๔.๕ด้านที่ทำการสำนักงานป.ป.ท.

สำนักงาน ป.ป.ท. ปัจจุบันตั้งอยู่ที่อาคารกระทรวงยุติธรรม โดยในเบื้องต้นมีการแบ่งหน่วยงานประจำอยู่

ตามชั้นต่างๆ ดังนี้

อนึ่ง กรณีมีเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ส่งสำนวน แจ้งข้อมูล แจ้งเบาะแส สามารถติดต่อประสานงานได้ที่

สำนักงาน ป.ป.ท. อาคารซอฟแวร์ปาร์ค ชั้น ๒ ถนนแจ้งวัฒนะ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๒๐

โทร ๐ - ๒๕๐๒ - ๘๒๘๕ - ๖ หรือ แจ้งทางตู้ ปณ. ๓๖๘ เขตหลักสี่ กทม. ๑๐๒๑๐

๑. อาคารกระทรวงยุติธรรม ชั้น ๒ งานบุคคล งานคลงั

๒. อาคารกระทรวงยุติธรรม ชั้น ๑๔

คณะกรรมการ ป.ป.ท.

ผู้บริหาร สำนักงาน ป.ป.ท.

สำนักงานเลขาธิการ

กองการต่างประเทศ

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

สำนกันโยบายและยทุธศาสตร ์

สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

เขตพื้นที่ภาค ๑ - ๙

สำนักคุ้มครองและป้องกัน

๓. อาคาร CAR PARK ชั้นลอย ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์

๔. อาคาร CAR PARK ชัน้ ๑๒ และ ชัน้ ๑๒ A สำนกัปราบปรามการทจุรติในภาครฐั ๑ - ๕

Page 10: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.)

พันธกิจ (Mission) ๑. ตรวจสอบและไต่สวนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

๒. สร้างและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของสังคม ในการป้องกันและปรามปราบการทุจริตใน

ภาครัฐ

๓. พัฒนาบุคลากร ปรับปรุงโครงสร้าง กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรม

อำนาจหน้าที ่ • สำนักงาน ป.ป.ท. มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. มาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑

• คณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริต

ยุทธศาสตร์ สำนักงาน ป.ป.ท. ประกอบด้วย ๓ ยุทธศาสตร์

๑. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

๒. การสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐกับทุกภาคส่วน

๓. การเสริมสร้างสมรรถนะการบริหารจัดการองค์กร

อัตรากำลังสำนักงาน ป.ป.ท. สำนักงาน ก.พ. ได้พิจารณาอนุมัติให้กำหนดตำแหน่งในสำนักงาน ป.ป.ท. รวม ๒๖๕ ตำแหน่ง ซึ่งขณะนี้

ได้ดำเนินการบรรจุข้าราชการลงในตำแหน่งแล้ว

งบประมาณ • ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับการจัดสรรจากงบกลางจำนวน ๓๒,๕๘๖,๔๐๐ บาท

• ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รับจำนวน ๒๔๐,๘๔๗,๙๐๐.๐๐ บาท

- งบบุคลากร ๑๐๙,๔๘๓,๖๐๐.๐๐ บาท

- งบดำเนินงาน ๙๘,๖๔๒,๙๐๐.๐๐ บาท

- งบลงทุน ๒๕,๓๕๘,๙๐๐.๐๐ บาท

- งบรายจ่ายอื่น ๗,๓๖๒,๕๐๐.๐๐ บาท

Page 11: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

10

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม

สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหาร ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตฯ ๑. เขตอำนาจการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

๒. องค์กรดำเนินการ

๓. การไต่สวนข้อเท็จจริง

๔. มาตรการสนับสนุนการป้องกันและปราบปราม

เขตอำนาจ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

๑. เจ้าหน้าที่ของรัฐ

๒. การกระทำทุจริตในภาครัฐ

เจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในอำนาจการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ได้แก่

“เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ดำรงตำแหน่ง ต่ำกว่าผู้บริหารรระดับสูง หรือข้าราชการที่ดำรงตำแหน่ง ต่ำกว่า

ผู้อำนวยการกองลงมา”

ซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐดังกล่าวได้แก่ ข้าราชการพลเรือนสามัญทุกกระทรวง ทบวง กรม ข้าราชการตำรวจ

ข้าราชการทหาร ข้าราชการครู พนักงานองค์กรมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ ข้าราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตลอดจนข้าราชการ และพนักงานหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งในรูปแบบพิเศษอื่น “รวมทั้งสิ้นประมาณ ๑๐,๐๐๐

หน่วยงาน”

การกระทำทุจริตในภาครัฐ ทุจริตต่อหน้าที ่ : ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่หรือปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติ

อย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ทั้งที่ตนมิได้มีตำแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อำนาจ

ในตำแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตนเองหรือผู้อื่น หรือกระทำการอันเป็น

ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมตามประมวลกฎหมายอาญาหรือ

ตามกฎหมายอื่น

ประพฤติมิชอบ : ใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่อื่นเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ หรือมติครม. ที่

มุ่งหมายจะควบคุมดูแลการรับ การเก็บรักษา หรือการใช้เงิน

องค์กรดำเนินการ ๑. คณะกรรมการ ป.ป.ท.

๒. สำนักงาน ป.ป.ท.

๒.๑ พนักงาน ป.ป.ท.

Page 12: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

11

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

๒.๒ เจ้าหน้าที่ ป.ป.ท.

อำนาจหน้าที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ๑. เสนอนโยบาย มาตรการและแผนพัฒนาต่อ ครม.

๒. เสนอแนะ ให้คำปรึกษาแก่ ครม. เกี่ยวกับการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ เพื่อป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริต

๓. เสนอแนะต่อกรรมการ ป.ป.ช. ในการกำหนดตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สิน

ตามกฎหมาย ป.ป.ช.

๔. ไต่สวนข้อเท็จจริงและชี้มูลการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

๕. ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมความเห็นส่งพนักงานอัยการเพื่อฟ้องคดีอาญา

๖. จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานเสนอต่อ ครม. เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และ ป.ป.ช.

๗. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดำเนินการตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ท.มอบหมาย

๘. ปฏิบัติการอื่นตามพระราชบัญญัติมาตรการฯ หรือการอื่นใดเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการ

ทุจริตในภาครัฐ ตามที่ ครม. หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย

อำนาจในการไต่สวนข้อเท็จจริงตามมาตรา ๑๘ ๑. สอบถามหรือเรียกให้สถาบันการเงิน ส่วนราชการ องค์กร ฯลฯ ส่งเจ้าหน้าที่มาให้ถ้อยคำ ส่งคำชี้แจง

หรือส่งเอกสารหลักฐานใดๆ

๒. สอบถามหรือเรียกบุคคลใดๆ เพื่อมาให้ถ้อยคำ ส่งคำชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งเอกสารหลักฐานใดๆ

๓. ขอให้ศาลออกหมายเพื่อเข้าไปในเคหสถาน สถานที่ทำการ หรือสถานที่อื่นใด รวมทั้งยานพาหนะ

ของบุคคลใดๆ เพื่อตรวจสอบ ค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐานอื่นใด

๔. ขอให้หน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมใน

การปฏิบัติหน้าที่ โดยให้หน่วยงานของรัฐให้ความร่วมมือตามที่ขอได้

อำนาจในการเข้าถึงข้อมูล (มาตรา ๑๙) คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจแจ้งให้หน่วยงานใดจัดให้กรรมการ ป.ป.ท. หรืออนุกรรมการ ป.ป.ท. เข้าถึง

ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกกล่าวหา หรือบุคคลอื่นที่มีเหตุเกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหา

การไต่สวนข้อเท็จจริง

๑. กรณีที่ต้องทำการไต่สวนข้อเท็จจริง

๒. การดำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริง

๓. การชี้มูลความผิด

กรณีที่ต้องทำการไต่สวนข้อเท็จจริง (มาตรา๒๓)

๑. เมื่อได้รับคำกล่าวหาว่ามีการกระทำการทุจริตในภาครัฐ

๒. เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการกระทำการทุจริตในภาครัฐ

Page 13: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

1�

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม

๓. เมื่อได้รับเรื่องจากพนักงานสอบสวน

๔. เมื่อได้รับเรื่องจากคณะกรรมการ ป.ป.ช.

การดำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริง

๑. คณะกรรมการ ป.ป.ท. ดำเนินการเอง

๒. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวนข้อเท็จจริงดำเนินการแทน

องค์ประกอบ

- มีผู้แทนภาคประชาชนเข้าร่วมด้วย

- แต่งตั้งที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ

๓. มอบหมาย พนักงาน ป.ป.ท. และเจ้าหน้าที่ ป.ป.ท. ดำเนินการแทน

๔. ขณะไต่สวนข้อเท็จจริง ถ้าคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นสมควรจะตรวจสอบทรัพย์สินก็ได้

การชี้มูลความผิด

คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติชี้มูลว่าเจ้าหน้าที่กระทำการทุจริตในภาครัฐแล้ว จะดำเนินการดังนี้

๑. กรณีมีมูลความผิดทางวินัย จะส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาโทษทางวินัย โดยผู้บังคับ

บัญชาต้องพิจารณาโทษภายใน ๓๐ วัน หากละเลยไม่ดำเนินการจะถือว่าเป็นความผิดทางวินัย

หรือหากดำเนินการไม่เหมาะสม คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะเสนอความเห็นไปยังนายกรัฐมนตรี

เพื่อสั่งการตามที่เห็นสมควร

๒. กรณีมีมูลความผิดทางอาญาจะส่งเรื่องให้พนักงานอัยการฟ้องคดี

๓. กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งถูกกล่าวหาได้อนุมัติ อนุญาต ออกเอกสารสิทธิ ให้สิทธิ

ประโยชน์ หรือการสั่งการใดๆ แก่บุคคลโดยมิชอบ หรืออาจเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการ

จะแจ้งให้หัวหน้าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาดำเนินการสั่งยกเลิกหรือเพิกถอน

มาตรการสนับสนุนการป้องกันและปราบปราม

๑. การคุ้มครองพยาน (มาตรา ๕๓, ๕๔)

๒. รางวัลตอบแทนผู้ทำประโยชน์

๒.๑ รางวัลตอบแทนหรือประโยชน์อื่นใด (มาตรา ๕๕)

๒.๒ การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือตำแหน่งให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ทำประโยชน์ (มาตรา ๕๖)

๓. การกันผู้ถูกกล่าวหาเป็นพยาน (มาตรา ๕๘)

Page 14: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

1�

ป.ป.ท. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

(มติ ครม.เมื่อ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑)

องค์ประกอบ

๑. นายกรัฐมนตรี หรือ นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ประธาน

(ในฐานะประธานคณะกรรมการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน)

๒. รัฐมนตรีที่ดูแลนโยบายการบริหารจัดการที่ดี รองประธานกรรมการ

๓. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รองประธานกรรมการ

๔. ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กรรมการ

๕. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและปลัดกระทรวงทุกกระทรวง กรรมการ

๖. เลขาธิการ ป.ป.ช. กรรมการ

๗. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ

๘. เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน กรรมการ

๙. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรรมการ

๑๐. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ

๑๑. เลขาธิการ ป.ป.ท. กรรมการและเลขานุการ

อำนาจหน้าที ่ ๑. กำกับดูแลให้องค์กรในภาครัฐจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติว่า

ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

๒. จัดสรรทรัพยากร สนับสนุน แผนงานโครงการตามยุทธศาสตร์

๓. อำนวยการและประสานการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

๔. ติดตามและประเมินผลและแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ

ปราบปรามการทุจริตภาครัฐ

๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

Page 15: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๗๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑

กฎกระทรวง แบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

กระทรวงยุติธรรม

พ.ศ. ๒๕๕๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘ ฉ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน

พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓

รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ใหสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ มีภารกิจเกี่ยวกับ

การปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ รวมทั้งมีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวย

มาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ขอ ๒ ใหแบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

ดังตอไปนี้

(๑) สํานักงานเลขาธิการ

(๒) กองการตางประเทศ

(๓) ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

(๔) สํานักคุมครองและปองกัน

(๕) สํานกันโยบายและยุทธศาสตร

(๖) - (๑๐) สํานักปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ๑ - ๕

(๑๑) - (๑๙) สํานักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขตพื้นที่ ๑ - ๙

Page 16: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๗๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑

ขอ ๓ ในสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ใหมีกลุมพัฒนาระบบบริหาร เพื่อทําหนาที่หลักในการพัฒนาการบริหารของสวนราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา รับผิดชอบงานขึ้นตรงตอเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) เสนอแนะใหคําปรึกษาแกหัวหนาสวนราชการเกี่ยวกับยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการภายในสํานักงาน

(๒) ติดตาม ประเมินผล และจัดทํารายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการในสํานักงาน (๓) ประสานการดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการรวมกับหนวยงานกลางและหนวยงาน

ภายในสํานักงาน (๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย ขอ ๔ ในสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ใหมีกลุม

ตรวจสอบภายใน เพื่อทําหนาที่หลักในการตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ และสนับสนุน การปฏิบัติงานของสํานักงาน รับผิดชอบงานขึ้นตรงตอเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบดานการบริหาร การเงิน และการบัญชีของสํานักงาน (๒) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย ขอ ๕ ในสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ใหมีกลุมงาน

กฎหมาย เพื่อทําหนาที่หลักในการพัฒนาปรับปรุงกฎหมายที่ เกี่ยวของกับสํานักงาน และสนับสนุน การปฏิบัติงานของสํานักงาน รับผิดชอบงานขึ้นตรงตอเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวของ (๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการใหคําปรึกษาและการตอบขอหารือดานกฎหมาย (๓) ดําเนินการทางคดีเกี่ยวกับการจัดทําและเสนอความเห็นแยง (๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย

Page 17: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๓ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๗๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑

ขอ ๖ สํานักงานเลขาธิการ มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการทั่วไปของสํานักงาน

รวมตลอดทั้งงานอื่นใดอันเปนอํานาจหนาที่ของสํานักงานที่มิไดอยูในอํานาจหนาที่ของสวนราชการอื่น

อํานาจหนาที่ดังกลาวใหรวมถึง

(๑) ปฏิบัติงานสารบรรณของสํานักงาน

(๒) ดําเนินการเกี่ยวกับงานชวยอํานวยการและงานเลขานุการของสํานักงาน

(๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การบริหารงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานที่

ยานพาหนะ และงานรักษาความปลอดภัยของสํานักงาน

(๔) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

(๕) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของสํานักงาน

(๖) ดําเนินการเกี่ยวกับการประชาสัมพันธและเผยแพรกิจกรรม ความรู ความกาวหนา และผลงาน

ของสํานักงาน

(๗) ดําเนินการเกี่ยวกับเร่ืองรองเรียนที่เกี่ยวของกับการทุจริตในภาครัฐ

(๘) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย

ขอ ๗ กองการตางประเทศ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับความรวมมือระหวางประเทศในดานการปองกันและปราบปรามการทุจริต

รวมกับสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

(๒) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย

ขอ ๘ ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) ศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางสถิติ รวมทั้งใหบริการขอมูลสถิติในดานตาง ๆ ของสํานักงาน

(๒) เปนศูนยกลางบริหารจัดการฐานขอมูลในดานตาง ๆ ของสํานักงานและที่ เกี่ยวของกับ

การปองกันและปราบปรามการทุจริตรวมกับสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

(๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย

ขอ ๙ สํานักคุมครองและปองกัน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

Page 18: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๔ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๗๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑

(๑) ดําเนินการหรือประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อคุมครองผูกลาวหา ผูเสียหาย ผูทําคํารอง

ผูรองทุกขกลาวโทษ ผูใหถอยคํา หรือผูแจงเบาะแสหรือขอมูลเกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ และการขอรับ

คาตอบแทนเทาที่จําเปนและสมควรตามกฎหมายวาดวยการคุมครองพยานในคดีอาญา

(๒) ดําเนินการจัดระบบงานขาวเก่ียวกับการทุจริตในภาครัฐ

(๓) ศึกษาและวิเคราะหเพื่อกําหนดนโยบาย มาตรการ และขอเสนอแนะเกี่ยวกับการปองกัน

การทุจริตในภาครัฐเสนอคณะรัฐมนตรี

(๔) ประสานงาน เผยแพร และสนับสนุนใหมีการเสริมสรางทัศนคติและคานิยมในเร่ือง

ความซื่อสัตยสุจริตในองคกร และบุคลากรในกลุมเปาหมายภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ

(๕) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย

ขอ ๑๐ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) เสนอแนะการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรของสํานักงาน รวมทั้งจัดทําแผนปฏิบัติการดาน

การปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

(๒) ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ในภาครัฐ

(๓) เสนอแนะแนวนโยบายการขอตั้งและจัดสรรงบประมาณประจําปใหสอดคลองกับนโยบาย

และแผนงานของสํานักงาน

(๔) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย

ขอ ๑๑ สํานักปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ๑ - ๕ มีอํานาจหนาที่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร

ดังตอไปนี้

(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับเร่ืองรองเรียน การกลาวหาวาเจาหนาที่ของรัฐกระทําการหรือเกี่ยวของกับ

การทุจริตในภาครัฐ หรือมีเหตุอันควรสงสัยวาเจาหนาที่ของรัฐกระทําการทุจริตในภาครัฐ หรือที่มีการรองทุกข

กลาวโทษกับพนักงานสอบสวนเพื่อใหดําเนินคดีกับเจาหนาที่ของรัฐ อันเนื่องมาจากการกระทําทุจริต

ในภาครัฐ หรือที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงเร่ืองใหดําเนินการไตสวน

ขอเท็จจริง

Page 19: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๕ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๗๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑

(๒) ประสานงานและดําเนินการตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

(๓) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย

ขอ ๑๒ สํานักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขตพื้นที่ ๑ - ๙ มีอํานาจหนาที่ ในเขตพื้นที่ตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมประกาศกําหนดดังตอไปนี้

(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับเร่ืองรองเรียน การกลาวหาวาเจาหนาที่ของรัฐกระทําการหรือเกี่ยวของกับการทุจริตในภาครัฐ หรือมีเหตุอันควรสงสัยวาเจาหนาที่ของรัฐกระทําการทุจริตในภาครัฐ หรือที่มีการรองทุกขกลาวโทษกับพนักงานสอบสวนเพื่อใหดําเนินคดีกับเจาหนาที่ของรัฐ อันเนื่องมาจากการกระทําทุจริต ในภาครัฐ หรือที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐสงเร่ืองใหดําเนินการไตสวนขอเท็จจริง

(๒) ประสานงานและดําเนินการตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับมาตรการของฝายบริหารใน การปองกันและปราบปรามการทุจริต

(๓) ติดตามและประเมินผลการดําเนินคดีและการดําเนินการทางวินัยเจาหนาที่ของรัฐ (๔) สงเสริมการปองกันการทุจริตในภาครัฐ (๕) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับ

มอบหมาย

ใหไว ณ วันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ สมพงษ อมรวิวัฒน

รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม

Page 20: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๖ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๗๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เปนการสมควรแบงสวนราชการภายในสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม และระบุอํานาจหนาท่ีของแตละสวนราชการดังกลาวใหเหมาะสมกับสภาพของงาน จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

Page 21: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

พระราชบัญญัติ มาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

พ.ศ. ๒๕๕๑

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑

เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ

ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปราม

การทุจริต

พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓

มาตรา ๕๖ และมาตรา ๖๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัย

อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ

สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑”

Page 22: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เวนแตบทบัญญัติในหมวด ๒ การไตสวนขอเท็จจริง ใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยย่ีสิบวัน

นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้

“ทุจริตในภาครัฐ” หมายความวา ทุจริตตอหนาที่หรือประพฤติมิชอบในภาครัฐ

“ทุจริตตอหนาที่” หมายความวา ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในตําแหนงหรือหนาที่

หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในพฤติการณที่อาจทําใหผูอื่นเชื่อวามีตําแหนงหรือหนาที่

ทั้งที่ตนมิไดมตํีาแหนงหรือหนาที่นั้น หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาที่ ทั้งนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน

ที่มิควรไดโดยชอบสําหรับตนเองหรือผูอื่น หรือกระทําการอันเปนความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ

หรือความผิดตอตําแหนงหนาที่ในการยุติธรรมตามประมวลกฎหมายอาญาหรือตามกฎหมายอื่น

“ประพฤติมิชอบ” หมายความวา ใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาที่อันเปนการฝาฝนกฎหมาย

ระเบียบ คําส่ัง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่มุงหมายจะควบคุมดูแลการรับ การเก็บรักษา หรือการใชเงินหรือ

ทรัพยสินของแผนดิน

“คณะกรรมการ ป.ป.ช.” หมายความวา คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

“เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา เจาหนาที่ของรัฐตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต แตไมรวมถึงเจาหนาที่ของรัฐดังตอไปนี้

(๑) ผูบริหารระดับสูง ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริต

(๒) ผูพิพากษาและตุลาการ

(๓) พนักงานอัยการ

(๔) ผูบริหารทองถิ่น รองผูบริหารทองถิ่น ผูชวยผูบริหารทองถิ่น และสมาชิกสภาทองถิ่น

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๕) เจาหนาที่ของรัฐในหนวยงานของศาล รัฐสภา องคกรตามรัฐธรรมนูญ และองคกรอิสระ

จากการควบคุมหรือกํากับของฝายบริหารที่จัดต้ังข้ึนตามรัฐธรรมนูญ

(๖) เจาหนาที่ของรัฐในสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

Page 23: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๓ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

(๗) เจาหนาที่ของรัฐซ่ึงกระทําความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควร

ดําเนินการ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด

(๘) เจาหนาที่ของรัฐซ่ึงรวมกระทําความผิดกับบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗)

“ผูกลาวหา” หมายความวา ผูซ่ึงไดรับความเสียหายจากการกระทําการทุจริตในภาครัฐของ

เจาหนาที่ของรัฐ หรือไดพบเห็นการทุจริตในภาครัฐของเจาหนาที่ของรัฐและไดกลาวหาตามบทบัญญัติ

แหงกฎหมายนี้

“ผูถูกกลาวหา” หมายความวา ผูซ่ึงถูกกลาวหาหรือมีพฤติการณปรากฏแกคณะกรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐวาไดกระทําการทุจริตในภาครัฐอันเปนมูลที่จะนําไปสูการ

ไตสวนขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัตินี้ และใหหมายความรวมถึงตัวการ ผูใช หรือผูสนับสนุนในการ

กระทําดังกลาวดวย

“ไตสวนขอเท็จจริง” หมายความวา แสวงหา รวบรวม และการดําเนินการอื่นใด เพื่อให

ไดมาซ่ึงขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน ในการที่จะทราบรายละเอียดและพิสูจนเกี่ยวกับการทุจริต

ในภาครัฐของเจาหนาที่ของรัฐ

“กรรมการ” หมายความวา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และให

หมายความรวมถึงประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐดวย

“พนักงาน ป.ป.ท.” หมายความวา เลขาธิการ รองเลขาธิการ และผูซ่ึงคณะกรรมการปองกัน

และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐแตงต้ังจากขาราชการพลเรือนซ่ึงดํารงตําแหนงในระดับไมตํ่ากวา

หัวหนางานหรือเทียบเทาใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“เจาหนาที่ ป.ป.ท.” หมายความวา ผูซ่ึงคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ในภาครัฐแตงต้ังจากขาราชการพลเรือนหรือพนักงานราชการใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ในภาครัฐ

“รองเลขาธิการ” หมายความวา รองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม

การทุจริตในภาครัฐ

Page 24: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๔ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมี

อํานาจออกระเบียบและประกาศ เวนแตพระราชบัญญัตินี้กําหนดใหเปนอํานาจของคณะกรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีอํานาจออกระเบียบและ

ประกาศกับแตงต้ังพนักงานเจาหนาที่โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการปองกันและปราบปราม

การทุจริตในภาครัฐ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

ระเบียบและประกาศตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองที่มีผลเปนการทั่วไปเมื่อไดประกาศ

ในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด ๑

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

มาตรา ๕ ใหมีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เรียกโดยยอวา

“คณะกรรมการ ป.ป.ท.” ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกไมเกินหาคน

ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงต้ังโดยความเห็นชอบจากสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาตามลําดับ เปนกรรมการ

และมีเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเปนกรรมการโดยตําแหนง

ใหเลขาธิการเปนเลขานุการ และใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แตงต้ังขาราชการในสํานักงาน

จํานวนไมเกินสองคนเปนผูชวยเลขานุการ

มิใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๖ มาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ มาใชบังคับกับเลขาธิการ

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติที่เปนกรรมการโดยตําแหนง

มาตรา ๖ กรรมการตอง

(ก) มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้

(๑) เปนผูมีความซื่อสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ

(๒) มีความรูความสามารถในการปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริต

(๓) มีสัญชาติไทย

(๔) มีอายุไมตํ่ากวาส่ีสิบหาป

Page 25: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๕ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

(๕) เปนหรือเคยเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ผูพิพากษา

ซ่ึงดํารงตําแหนงไมตํ่ากวาผูพิพากษาศาลฎีกา หรือรับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมตํ่ากวา

รองอัยการสูงสุด อธิบดีหรือผูดํารงตําแหนงทางบริหารในหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจบริหารเทียบเทา

อธิบดี หรือดํารงตําแหนงไมตํ่ากวาศาสตราจารย

(ข) ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้

(๑) เปนผูมีตําแหนงในพรรคการเมือง

(๒) วิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ

(๓) เปนภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

(๔) ตองคุมขังอยูโดยหมายของศาลหรือโดยคําส่ังที่ชอบดวยกฎหมาย

(๕) ติดยาเสพติดใหโทษ

(๖) เปนบุคคลลมละลาย

(๗) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ หรือ

เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาอันถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือ

ความผิดลหุโทษ

(๘) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนวยงานของรัฐหรือ

รัฐวิสาหกิจ

(๙) เคยตองคําพิพากษาหรือคําส่ังของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดินเพราะ

รํ่ารวยผิดปกติหรือมีทรัพยสินเพิ่มข้ึนผิดปกติ

(๑๐) เคยถูกวุฒิสภามีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนง

มาตรา ๗ ผูที่ไดรับแตงต้ังเปนกรรมการตอง

(๑) ไมเปนกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานของรัฐ

(๒) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหา

ผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใด

(๓) ไมประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด

(๔) ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง สมาชิกสภา

ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

Page 26: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๖ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

(๕) ไมเปนเจาหนาที่ของรัฐตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต เวนแตในฐานะเปนกรรมการในคณะกรรมการ ป.ป.ท.

ในการแตงต้ังกรรมการ คณะรัฐมนตรีจะเสนอบุคคลซ่ึงไมมี ลักษณะตามวรรคหนึ่ง เพื่อขอความเห็นชอบตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาก็ได แตเมื่อสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา ใหความเห็นชอบแลว คณะรัฐมนตรีจะแตงต้ังบุคคลดังกลาวไดเมื่อบุคคลนั้นไดลาออกจากการ เปนบุคคลตาม (๑) (๒) (๔) หรือ (๕) หรือแสดงหลักฐานใหเปนที่เชื่อไดวาตนเลิกประกอบวิชาชีพอิสระตาม (๓) แลว ซ่ึงตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาแลว ถาผูนั้นมิไดลาออกหรือเลิกประกอบวิชาชีพอิสระภายในระยะเวลาที่กําหนด ใหถือวาบุคคลนั้นไมไดรับความเห็นชอบจากสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา และใหคณะรัฐมนตรีดําเนินการเสนอบุคคลเขามาใหมแทนเพื่อขอความเห็นชอบจากสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา

มาตรา ๘ กรรมการมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสี่ป ผูซ่ึงพนจากตําแหนงแลวอาจไดรับแตงต้ังใหมอีกได แตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน

ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดมีการแตงต้ังกรรมการใหมใหกรรมการนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาจะไดแตงต้ังกรรมการใหม

มาตรา ๙ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๖ (๔) คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวากระทําการทุจริตตอหนาที่หรือมีทรัพยสินเพิ่มข้ึนผิดปกติ

หรือรํ่ารวยผิดปกติหรือจงใจไมย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบ หรือ จงใจย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบดวยขอความอันเปนเท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงใหทราบตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

(๕) คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดเทาที่มีอยูใหออก เพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเส่ือมเสีย หรือหยอนความสามารถ

ในกรณีมีปญหาวากรรมการผูใดตองพนจากตําแหนงตาม (๓) หรือไมใหคณะรัฐมนตรี เปนผูวินิจฉัย

Page 27: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๗ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

มาตรา ๑๐ ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงกอนวาระ และยังมิไดแตงต้ังกรรมการแทน

ตําแหนงที่วาง ใหกรรมการเทาที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได และใหถือวาคณะกรรมการ ป.ป.ท.

ประกอบดวยกรรมการเทาที่มีอยู เวนแตมีกรรมการเหลืออยูไมถึงสามคน

ในกรณีที่ประธานกรรมการพนจากตําแหนง ใหกรรมการที่เหลืออยูเลือกกรรมการคนหนึ่งทํา

หนาที่ประธานกรรมการไปจนกวาประธานกรรมการที่ไดรับแตงต้ังใหมจะเขารับหนาที่

มาตรา ๑๑ ใหถือวากรรมการเปนเจาหนาที่ของรัฐที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนดใหตอง

ย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน

และปราบปรามการทุจริต

มาตรา ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา

ก่ึงหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดเทาที่มีอยู จึงจะเปนองคประชุม

มาตรา ๑๓ การประชุมใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

การนัดประชุมตองทําเปนหนังสือและแจงใหกรรมการทุกคนทราบลวงหนาไมนอยกวา

สามวัน เวนแตกรรมการนั้นจะไดทราบการบอกนัดในที่ประชุมแลว กรณีดังกลาวนี้จะทําหนังสือ

แจงนัดเฉพาะกรรมการที่ไมไดมาประชุมก็ได

บทบัญญัติในวรรคสองมิใหนํามาใชบังคับในกรณีมีเหตุจําเปนเรงดวนซ่ึงประธานกรรมการ

จะนัดประชุมเปนอยางอื่นก็ได

มาตรา ๑๔ ประธานกรรมการมีอํานาจหนาที่ดําเนินการประชุม และเพื่อรักษาความ

เรียบรอยในการประชุมใหประธานกรรมการมีอํานาจออกคําส่ังใด ๆ ตามความจําเปนได

ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มา

ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งทําหนาที่เปนประธานในที่ประชุม

มาตรา ๑๕ การลงมติของที่ประชุมใหถือเสียงขางมากของจํานวนกรรมการทั้งหมดเทาที่มี

อยูไมวาเปนการลงมติในการวินิจฉัยหรือใหความเห็นชอบตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้

กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่

ประชุมออกเสียงเพิ่มข้ึนอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

มาตรา ๑๖ ในการประชุมตองมีรายงานการประชุมเปนหนังสือ

Page 28: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๘ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

ถามีความเห็นแยงใหบันทึกความเห็นแยงพรอมทั้งเหตุผลไวในรายงานการประชุม และ

ถากรรมการฝายขางนอยเสนอความเห็นแยงเปนหนังสือก็ใหบันทึกไวดวย

มาตรา ๑๗ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) เสนอนโยบาย มาตรการ และแผนพัฒนาการปองกันและปราบปรามการทุจริตใน

ภาครัฐตอคณะรัฐมนตรี

(๒) เสนอแนะและใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการปรับปรุงกฎหมาย กฎ

ขอบังคับ หรือมาตรการตาง ๆ เพื่อปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

(๓) เสนอแนะตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการกําหนดตําแหนงของเจาหนาที่ของรัฐ

ซ่ึงตองย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกนัและปราบปรามการทุจริต

(๔) ไตสวนขอเท็จจริงและชี้มูลเกี่ยวกับการกระทําการทุจริตในภาครัฐของเจาหนาที่ของรัฐ

(๕) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมทั้งความเห็นสงพนักงานอัยการเพื่อฟอง

คดีอาญาตอเจาหนาที่ของรัฐ

(๖) จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานประจําปเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอตอสภาผูแทนราษฎร

วุฒิสภา และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบดวย

(๗) แตงต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินการตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย

(๘) ปฏิบัติการอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หรือการอื่นใดเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม

การทุจริตในภาครัฐตามที่คณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย

มาตรา ๑๘ ในการปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๑๗ (๔) และ (๕) ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท.

มีอํานาจดังตอไปนี้ดวย

(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกใหสถาบันการเงิน สวนราชการ องคกรหรือหนวยงานของ

รัฐหรือรัฐวิสาหกิจ สงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของมาเพื่อใหถอยคํา สงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือสงบัญชี

เอกสารหรือหลักฐานใด ๆ มาเพื่อไตสวนหรือเพื่อประกอบการพจิารณา

(๒) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใด ๆ มาเพื่อใหถอยคํา สงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือ

สงบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ มาเพื่อไตสวนหรือเพื่อประกอบการพิจารณา

Page 29: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๙ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

(๓) ดําเนินการขอใหศาลที่มีเขตอํานาจออกหมายเพื่อเขาไปในเคหสถาน สถานที่ทําการหรือ

สถานที่อื่นใด รวมทั้งยานพาหนะของบุคคลใด ๆ ในเวลาระหวางพระอาทิตยข้ึนและพระอาทิตยตก

หรือในระหวางเวลาที่มีการประกอบกิจการเพื่อตรวจสอบ คน ยึด หรืออายัด เอกสาร ทรัพยสิน หรือ

พยานหลักฐานอื่นใดซึ่งเกี่ยวของกับเร่ืองที่ไตสวนขอเท็จจริง และหากยังดําเนินการไมแลวเสร็จในเวลา

ดังกลาวใหสามารถดําเนินการตอไปไดจนกวาจะแลวเสร็จ

(๔) ขอใหหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐใหความชวยเหลือสนับสนุน

หรือเขารวมปฏิบัติหนาที่ไดตามความเหมาะสม โดยใหหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของหนวยงาน

ของรัฐปฏิบัติการตามที่ขอไดตามสมควรแกกรณี

คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจมอบหมายใหอนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่

ป.ป.ท. ดําเนินการตามวรรคหนึ่งแทนได ทั้งนี้ ให เปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่

คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

มาตรา ๑๙ เพื่อประโยชนในการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ คณะกรรมการ

ป.ป.ท. จะแจงใหหนวยงานใดดําเนินการจัดใหกรรมการหรืออนุกรรมการไตสวนขอเท็จจริงเขาถึง

ขอมูลเกี่ยวกับผูถูกกลาวหา หรือบุคคลอื่นที่มีเหตุอันควรเชื่อไดวาจะเกี่ยวของในเรื่องที่กลาวหา

เพื่อประโยชนในการไตสวนขอเท็จจริงหรือเพื่อประโยชนในการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ท.

หรือคณะอนุกรรมการไตสวนขอเท็จจริง

หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กรรมการหรืออนุกรรมการไตสวนจะขอเขาถึงขอมูลของ

หนวยงานใดตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด ทั้งนี้ ภายใตบังคับ

ของกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลขาวสารของหนวยงานนั้น

มาตรา ๒๐ ในกรณีที่กรรมการ อนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท.

ผูใดมีสวนไดเสียไมวาโดยทางตรงหรือทางออมในเร่ืองใด คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจมีมติมิใหผูนั้น

เขารวมดําเนินการไตสวนขอเท็จจริง พิจารณา หรือวินิจฉัยเร่ืองนั้น แลวแตกรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ

วิธีการและเง่ือนไขที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด มาตรา ๒๑ ในกรณีที่กรรมการผูใดถูกกลาวหาตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. วากระทําการ

ทุจริตตอหนาที่หรือรํ่ารวยผิดปกติหรือมีทรัพยสินเพิ่มข้ึนผิดปกติ และคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติรับคํากลาวหาไวดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ

Page 30: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๐ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

ปองกันและปราบปรามการทุจริต การปฏิบั ติหนาที่ของกรรมการผูนั้นตอไปใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด โดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจกําหนดใหกรรมการผูนั้นยุติการปฏิบัติหนาที่ไวกอนก็ได

ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวาคํากลาวหาไมมีมูลความผิด ใหกรรมการที่ยุติการปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่งมีสิทธิไดรับเงินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทนอยางอื่นในระหวางที่ยุติการปฏิบัติหนาที่เต็มจํานวน

มาตรา ๒๒ ใหกรรมการไดรับเงินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทน อยางอื่นตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา

ใหกรรมการโดยตําแหนงไดรับเงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทนอยางอื่นตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

ใหอนุกรรมการไดรับเบี้ยประชุมและประโยชนตอบแทนอยางอื่นตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

หมวด ๒

การไตสวนขอเท็จจริง

มาตรา ๒๓ ภายใตบั ง คับมาตรา ๒๕ และมาตรา ๒๖ เมื่ อมี กรณี ดั งต อไปนี้

ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงโดยเร็ว ตามหลักเกณฑและวิธีการที่

คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

(๑) เมื่อไดรับการกลาวหาตามมาตรา ๒๔

(๒) เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาเจาหนาที่ของรัฐผูใดกระทําการทุจริตในภาครัฐ

(๓) เมื่อไดรับเร่ืองจากพนักงานสอบสวนตามมาตรา ๓๐

(๔) เมื่อไดรับเร่ืองจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อดําเนินการไตสวนขอเท็จจริง

บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งใหใชบังคับกับกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐหรือบุคคลอื่นเปนตัวการ

ผูใช หรือผูสนับสนุนดวย

มาตรา ๒๔ การกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐวากระทําการหรือเกี่ยวของกับการกระทําการทุจริต

ในภาครัฐ จะทําดวยวาจาหรือทําเปนหนังสือก็ได

Page 31: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๑ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

ในกรณีที่กลาวหาดวยวาจา ใหพนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. บันทึกคํากลาวหา

และจัดใหลงลายมือชื่อผูกลาวหาในบันทึกการกลาวหานั้นไว และในกรณีที่ผูกลาวหาไมประสงคจะ

เปดเผยตน หามไมใหพนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. เปดเผยชื่อหรือที่อยู รวมทั้งหลักฐาน

อื่นใดที่เปนการสําแดงตัวของผูกลาวหา

ในกรณีที่กลาวหาเปนหนังสือ ผูกลาวหาจะตองลงชื่อและที่อยูของตน แตหากผูกลาวหาจะ

ไมลงชื่อและที่อยูของตนตองระบุพฤติการณแหงการกระทําของเจาหนาที่ของรัฐ ซ่ึงถูกกลาวหาและ

พยานหลักฐานเบื้องตนไวใหเพียงพอที่จะดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงตอไปได

มาตรา ๒๕ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงเร่ืองกลาวหาที่รับไวดังตอไปนี้ใหคณะกรรมการ

ป.ป.ช. ดําเนินการตอไป

(๑) เร่ืองกลาวหาบุคคลซ่ึงมิใชเจาหนาที่ของรัฐ แตอยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ

ป.ป.ช.

(๒) เร่ืองกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. วากระทํา

ความผิดรวมกับบุคคลซ่ึงมิใชเจาหนาที่ของรัฐ แตเปนบุคคลซ่ึงอยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ

ป.ป.ช.

(๓) เร่ืองกลาวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. แจงใหสงใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณา

ในกรณีเร่ืองกลาวหาตาม (๓) ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. ได ดํา เนินการไตสวนขอ เท็จจริง

ไวแลว ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดวย

ทั้งนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะถือสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงดังกลาวเปนสํานวนการไตสวน

ขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

หรือจะดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงใหมก็ได

มาตรา ๒๖ หามมิใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. รับหรือพิจารณาเรื่องดังตอไปนี้

(๑) เร่ืองที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. รับไวพิจารณาหรือไดวินิจฉัยเสร็จเด็ดขาดแลว

(๒) เร่ืองที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ไดวินิจฉัยเสร็จเด็ดขาดแลว และไมมีพยานหลักฐานใหม

ซ่ึงเปนสาระสําคัญแหงคดี

Page 32: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๒ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

(๓) เร่ืองที่ผูถูกกลาวหาถูกฟองเปนคดีอาญาในประเด็นเดียวกันและศาลประทับฟองหรือ

พิพากษาหรือมีคําส่ังเสร็จเด็ดขาดแลวโดยไมมีการถอนฟองหรือทิ้งฟอง หรือเปนกรณีที่ศาลยังไมได

วินิจฉัยในเนื้อหาแหงคดี

(๔) เร่ืองที่ผูถูกกลาวหาพนจากการเปนเจาหนาที่ของรัฐกอนถกูกลาวหาเกินกวาหาป

มาตรา ๒๗ คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะไมรับหรือส่ังจําหนายเร่ืองที่มีลักษณะดังตอไปนี้ก็ได

(๑) เร่ืองที่ไมระบุพยานหลักฐานหรือระบุพฤติการณแหงการกระทําที่ชัดเจนเพียงพอที่จะ

ดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงได

(๒) เร่ืองที่ลวงเลยมาแลวเกินหาปนับแตวันเกิดเหตุจนถึงวันที่มีการกลาวหาและเปนเร่ืองที่

ไมอาจหาพยานหลักฐานเพียงพอที่จะดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงตอไปได

(๓) เร่ืองที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวาไมใชเปนการกระทําผิดวินัยอยางรายแรง

(๔) เร่ืองที่องคกรบริหารงานบุคคลหรือหนวยงานของรัฐกําลังพิจารณาอยูหรือไดพิจารณา

เปนที่ยุติแลว และไมมีเหตุแสดงใหเห็นวาการพิจารณานั้นไมชอบ

มาตรา ๒๘ เร่ืองใดที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ไมรับหรือส่ังจําหนายตามมาตรา ๒๗ (๑)

(๒) หรือ (๓) ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาเห็นสมควรใหแจงผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่ของรัฐ

ผูถูกกลาวหาดําเนินการตามอํานาจหนาที่โดยเร็วและแจงผลการดําเนินการใหคณะกรรมการ ป.ป.ท ทราบ

มาตรา ๒๙ คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจมอบหมายใหเลขาธิการเปนผูพิจารณารับหรือไมรับ

เร่ืองใดไวพิจารณาตามมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๒๗ แลวรายงานใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ทราบ

ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

มาตรา ๓๐ ในกรณีที่มีการรองทุกขหรือกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนใหดําเนินคดีกับ

เจาหนาที่ของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ อันเนื่องมาจากการกระทําการทุจริตในภาครัฐ ใหพนักงาน

สอบสวนสงเร่ืองใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีการรองทุกขหรือกลาวโทษ

เพื่อดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงตอไป ในการนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจแจงใหพนักงานสอบสวน

ดําเนินการสอบสวนเสียกอนและสงสํานวนการสอบสวนใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามระยะเวลาที่

กําหนด โดยคณะกรรมการ ป.ป.ท. จะถือวาสํานวนการสอบสวนดังกลาวทั้งหมดหรือบางสวนเปน

สํานวนการไตสวนขอเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ก็ได

Page 33: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๓ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งใหสํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมสอบสวนคดี

พิเศษและหนวยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวของทําความตกลงกับสํานักงาน โดยกําหนดขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ตาง ๆ รวมถึงการจัดทําสํานวนการสอบสวน การควบคุมตัว การปลอยชั่วคราว และการดําเนินการ

อื่น ๆ เพื่อถือปฏิบัติรวมกัน

มาตรา ๓๑ เร่ืองที่พนักงานสอบสวนสงมายังคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามมาตรา ๓๐

ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาแลวเห็นวาเปนกรณีดังตอไปนี้ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงเร่ือง

กลับไปยังพนักงานสอบสวนเพื่อดําเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาตอไป

(๑) เร่ืองที่ไมใชกรณีตามมาตรา ๒๓

(๒) เร่ืองที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ตองหามมิใหรับหรือพิจารณาตามมาตรา ๒๖ (๑) (๒)

และ (๓)

(๓) เร่ืองที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ตองหามมิใหรับหรือพิจารณาตามมาตรา ๒๖ (๔)

ในกรณีตาม (๑) และ (๓) ถาเปนเร่ืองที่อยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.

ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงเร่ืองใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาดําเนินการตอไป

มาตรา ๓๒ คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะแตงต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินการไตสวน

ขอเท็จจริงแทนหรือมอบหมายใหพนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. ดําเนินการแสวงหาขอมูล

และรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อที่จะทราบขอเท็จจริงหรือมูลความผิดก็ได โดยคํานึงถึงความเหมาะสม

และระดับและตําแหนงของผูถูกกลาวหาดวย

คณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งตองแตงต้ังจากบุคคลซ่ึงมีความซื่อสัตยสุจริตและมีความรู

ความสามารถในการปฏิบัติหนาที่นั้น

การปฏิบัติหนาที่ของคณะอนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. และเจาหนาที่ ป.ป.ท. ตามวรรคหนึ่ง

ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

มาตรา ๓๓ เพื่อประสิทธิภาพในการไตสวนขอเท็จจริง คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจแตงต้ัง

ผูแทนภาคประชาชนเขารวมในคณะอนุกรรมการไตสวนขอเท็จจริงก็ได

การไดมาซ่ึงผูแทนภาคประชาชนที่จะแตงต้ังตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและ

วิธีการที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนดขึ้นโดยใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา

Page 34: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๔ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

ผูแทนภาคประชาชนที่ไดรับแตงต้ังตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิไดรับคาตอบแทน คาเดินทาง

คาที่พัก และสิทธิประโยชนอื่น ตามที่กําหนดไวในระเบียบกระทรวงยุติธรรม โดยความเห็นชอบของ

กระทรวงการคลัง

มาตรา ๓๔ คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจแตงต้ังบุคคลเปนที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญเพื่อให

คําปรึกษาหรือชวยเหลือคณะกรรมการ ป.ป.ท. หรือคณะอนุกรรมการไตสวนขอเท็จจริงหรือ

ดําเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย แลวแตกรณี

การแตงต้ังที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่

คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด โดยใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญ มีสิทธิไดรับคาตอบแทน คาเดินทาง คาที่พัก และสิทธิประโยชนอื่น

ตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

มาตรา ๓๕ หามมิใหแตงต้ังบุคคลซ่ึงมีเหตุดังตอไปนี้เปนอนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท.

หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. ในการไตสวนขอเท็จจริง

(๑) รูเห็นเหตุการณหรือเคยสอบสวนหรือพิจารณาเกี่ยวกับเร่ืองที่กลาวหา เวนแตในฐานะอื่น

ที่มิใชในฐานะพนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. มากอน

(๒) มีสวนไดเสียในเร่ืองที่กลาวหา

(๓) มีสาเหตุโกรธเคืองกับผูกลาวหาหรือผูถูกกลาวหา

(๔) เปนผูกลาวหา หรือผูถูกกลาวหา หรือเปนคูสมรส บุพการี ผู สืบสันดานหรือพี่นอง

รวมบิดามารดาหรือรวมบิดาหรือมารดากับผูกลาวหาหรือผูถูกกลาวหา

(๕) มีความสัมพันธใกลชิดในฐานะญาติ หรือเปนหุนสวน หรือมีผลประโยชนรวมกันหรือ

ขัดแยงกันทางธุรกิจกับผูกลาวหาหรือผูถูกกลาวหา

ผูมีสวนไดเสียจะคัดคานอนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. ซ่ึงมีเหตุ

ตามวรรคหนึ่งก็ได โดยย่ืนคํารองตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. และใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. วินิจฉัย

โดยพลัน ในระหวางที่รอการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหอนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท.

หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. ซ่ึงถูกคัดคานระงับการปฏิบัติหนาที่ไวพลางกอน

Page 35: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๕ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

มาตรา ๓๖ ในการไตสวนขอเท็จจริง ใหแจงขอกลาวหาแกผูถูกกลาวหาทราบและกําหนด

ระยะเวลาตามสมควรที่ผูถูกกลาวหาจะมาชี้แจงขอกลาวหาและแสดงพยานหลักฐานหรือนําพยานบุคคล

มาใหถอยคําประกอบการชี้แจง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

ในการชี้แจงขอกลาวหาและการใหถอยคํา ผูถูกกลาวหามีสิทธินําทนายความหรือบุคคล

ซ่ึงผูถูกกลาวหาไววางใจเขาฟงการชี้แจงหรือใหถอยคําของตนได

มาตรา ๓๗ กอนที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติวาเจาหนาที่ของรัฐผูใดกระทําการทุจริตใน

ภาครัฐ ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติวาการที่เจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหายังอยูในตําแหนงหนาที่

ตอไป จะเปนอุปสรรคตอการไตสวนขอเท็จจริง สมควรสั่งพักราชการ พักงานหรือใหพนจากตําแหนง

หนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหานั้นไวกอน ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงเร่ืองใหผูบังคับบัญชา

ของผูถูกกลาวหาดําเนินการสั่งพักราชการ พักงานหรือใหพนจากตําแหนงหนาที่ แลวแตกรณี

ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลที่ใชบังคับแกเจาหนาที่ของรัฐ

ผูถูกกลาวหานั้น

ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่ของรัฐไมเห็นดวยกับมติของคณะกรรมการ ป.ป.ท.

ตามวรรคหนึ่ง ใหเสนอเร่ืองตอนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาลเพื่อพิจารณา เมื่อนายกรัฐมนตรี

วินจิฉัยประการใด ใหผูบังคับบัญชาดําเนินการไปตามคําวินิจฉัยนั้น

ในกรณีที่ผลการไตสวนขอเท็จจริงปรากฏวาขอกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นไมมีมูล

ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แจงใหผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นทราบภายในเจ็ดวันนับแต

วันที่มมีติ และใหผูบังคับบัญชาดําเนินการสั่งใหเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นกลับเขารับราชการหรือกลับเขาทํางาน

ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับที่ใชบังคับแกเจาหนาที่ของรัฐผูนั้น

มาตรา ๓๘ หามมิใหกรรมการ อนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท.

กระทําการใด ๆ อันเปนการลอลวงหรือขูเข็ญ หรือใหสัญญากับผูถูกกลาวหาหรือพยาน เพื่อจูงใจให

ผูนั้นใหถอยคําใด ๆ ในเรื่องที่ไตสวนขอเท็จจริง

ถอยคําใดที่ไดมาโดยฝาฝนวรรคหนึ่งไมอาจรับฟงเปนพยานหลักฐานได

มาตรา ๓๙ เมื่อดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงเสร็จแลว ใหจัดทําสํานวนการไตสวน

ขอเท็จจริงเสนอตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

Page 36: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๖ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

เพื่อประโยชนแหงความเปนธรรม คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะส่ังใหมีการไตสวนขอเท็จจริง

เพิ่มเติมหรือต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อไตสวนขอเท็จจริงใหมก็ได

มาตรา ๔๐ เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติวาเจาหนาที่ของรัฐผูใดกระทําการทุจริตใน

ภาครัฐ และเปนกรณีมีมูลความผิดทางวินัย ใหประธานกรรมการสงรายงานและเอกสารที่มีอยู

พรอมทั้งความเห็นไปยังผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงต้ังถอดถอนผูถูกกลาวหาผูนั้น เพื่อพิจารณา

โทษทางวินัยตามฐานความผิดที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ไดมีมติโดยไมตองแตงต้ังคณะกรรมการ

สอบสวนวินัยอีก ในการพิจารณาโทษทางวินัยแกผู ถูกกลาวหา ใหถือวารายงาน เอกสาร และ

ความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนสํานวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวน

วินัย ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลของผูถูกกลาวหานั้น ๆ

แลวแตกรณี

สําหรับผูถูกกลาวหาซ่ึงไมมีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับเกี่ยวกับวินัย เมื่อคณะกรรมการ

ป.ป.ท. มีมติวาผูถูกกลาวหาดังกลาวไดกระทําผิดในเร่ืองที่ถูกกลาวหา ใหประธานกรรมการสงรายงาน

และเอกสารที่มีอยูพรอมทั้งความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ไปยังผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจ

แตงต้ังถอดถอนเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไป

มาตรา ๔๑ เมื่อไดรับรายงานตามมาตรา ๔๐ ใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงต้ังถอดถอน

พิจารณาลงโทษภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับเร่ืองและใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงต้ัง

ถอดถอนสงสําเนาคําส่ังลงโทษดังกลาวไปใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ทราบภายในสิบหาวันนับแตวันที่

ไดออกคําส่ัง

มาตรา ๔๒ ผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงต้ังถอดถอนผูใดละเลยไมดําเนินการตาม

มาตรา ๔๑ ใหถือวาผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงต้ังถอดถอนผูนั้นกระทําความผิดวินัยหรือ

กฎหมายตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลของผูถูกกลาวหานั้น ๆ

มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาของผูถูกกลาวหาไมดําเนินการทางวินัยตามมาตรา ๔๑

หรือคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวาการดําเนินการทางวินัยของผูบังคับบัญชาตามมาตรา ๔๑ ไมถูกตอง

หรือไมเหมาะสมใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. เสนอความเห็นไปยังนายกรัฐมนตรี และใหนายกรัฐมนตรี

มีอํานาจสั่งการตามที่ เ ห็นสมควรหรือในกรณีที่ จําเปนคณะกรรมการ ป.ป .ท . จะสงเ ร่ืองให

คณะกรรมการขาราชการพลเรือนตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน หรือคณะกรรมการอื่น

Page 37: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๗ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

ซ่ึงมีหนาที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคล

สําหรับเจาหนาที่ของรัฐ หรือคณะกรรมการที่ทําหนาที่บริหารรัฐวิสาหกิจ หรือผูส่ังแตงต้ังกรรมการ

อนุกรรมการ ลูกจางของสวนราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ แลวแตกรณี พิจารณา

ดําเนินการตามอํานาจหนาที่เพื่อใหมีการดําเนินการที่ถูกตองเหมาะสมตอไปก็ได

มาตรา ๔๔ ผูถูกกลาวหาที่ถูกลงโทษตามมาตรา ๔๑ จะใชสิทธิอุทธรณดุลพินิจในการ

กําหนดโทษของผูบังคับบัญชาตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลสําหรับ

ผูถูกกลาวหานั้น ๆ ก็ได ทั้งนี้ ตองใชสิทธิดังกลาวภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับทราบคําส่ัง

ดังกลาว

มาตรา ๔๕ ในกรณีที่การกระทําของเจาหนาที่ของรัฐตามมาตรา ๔๐ เปนความผิดทาง

อาญาดวย ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงเร่ืองพรอมทั้งสํานวนการไตสวนขอเท็จจริง รายงาน เอกสาร

และความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหพนักงานอัยการดําเนินคดีตอไป โดยใหถือวาการ

ดําเนินการและสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนการสอบสวนและสํานวน

การสอบสวนของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

ในกรณีที่พนักงานอัยการมีความเห็นวาขอเท็จจริง รายงาน เอกสาร หรือความเห็นของ

คณะกรรมการ ป.ป.ท. ที่ได รับยังไมสมบูรณพอที่ จะดําเนินคดีได ใหพนักงานอัยการแจงให

คณะกรรมการ ป.ป.ท. ทราบเพื่อไตสวนขอเท็จจริงเพิ่มเติม โดยใหระบุขอที่ไมสมบูรณนั้นให

ครบถวนในคราวเดียวกัน ในกรณีจําเปนคณะกรรมการ ป.ป.ท. จะรวมกับอัยการสูงสุดต้ังคณะทํางาน

รวมกันเพื่อไตสวนขอเท็จจริงเพิ่มเติมก็ได

ในกรณีที่พนักงานอัยการเห็นควรส่ังไมฟอง แตคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติยืนยันใหฟอง

ใหสงเร่ืองใหอัยการสูงสุดวินิจฉัย คําวินิจฉัยของอัยการสูงสุดใหเปนที่สุด

บทบัญญัติในมาตรานี้ใหนํามาใชบงัคับในกรณีที่พนักงานอัยการย่ืนอุทธรณ ฎีกา หรือถอนฟอง

ถอนอุทธรณ ถอนฎีกา โดยอนุโลม

มาตรา ๔๖ ในกรณีที่พนักงานอัยการมีคําส่ังฟองและจําเปนตองนําตัวผูถูกกลาวหาไปศาล

ใหแจงใหผูถูกกลาวหามาพบพนักงานอัยการตามเวลาที่กําหนดและในกรณีมีความจําเปนตองจับตัว

ผูถูกกลาวหา ใหพนักงานอัยการแจงพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจที่มีเขตอํานาจเหนือทองที่ที่ผูถูก

กลาวหามีภูมิลําเนาหรือที่อยูเปนผูดําเนินการ และเพื่อการนี้ใหผูบังคับบัญชา หรือผูมีอํานาจแตงต้ัง

Page 38: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๘ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

ถอดถอนเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหา พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจดังกลาว มีอํานาจรองขอ

ตอศาลที่มีเขตอํานาจเหนือทองที่นั้นใหออกหมายจับได ทั้งนี้ ใหนําบทบัญญัติเร่ืองการจับ การขัง

และการปลอยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใชบังคับ

ในกรณีที่มีการจับกุม ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจสงตัวผูถูกจับพรอมทั้งบันทึกการ

จับไปยังศาลแลวแจงใหพนักงานอัยการทราบภายในสี่สิบแปดชั่วโมง

มาตรา ๔๗ กรณีที่ผูถูกกลาวหาเปนขาราชการทหาร ในการดําเนินคดีอาญาตามมาตรา ๔๕

และมาตรา ๔๖ ใหพนักงานอัยการเปนผูฟองคดี โดยถือเปนอัยการทหารตามกฎหมายวาดวย

พระธรรมนูญศาลทหารหรือจะมอบหมายใหอยัการทหารเปนผูฟองคดีแทนก็ได

มาตรา ๔๘ ในการไตสวนขอเท็จจริง ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นควรตรวจสอบ

ทรัพยสินและหนี้สินของเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหา และเปนกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐผูนั้นตองย่ืน

บัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินไวตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. แลว ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท.

ขอความรวมมือจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหสงบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินที่ย่ืนไวมาให

ตรวจสอบได แตถาเปนกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหามิไดเปนผูที่ตองย่ืนบัญชีแสดงรายการ

ทรัพยสินและหนี้สินไวตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีอํานาจสั่งใหเจาหนาที่

ของรัฐผูนั้นย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามรายการและภายในเวลาที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนดได

ในการไตสวนตามวรรคหนึ่งหรือในกรณีอื่นใดที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีเหตุอันควรสงสัย

วาเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหารํ่ารวยผิดปกติหรือมีทรัพยสินเพิ่มข้ึนผิดปกติใหสงเร่ืองทั้งหมด

พรอมทั้งสํานวนการไตสวนและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการตามอํานาจ

หนาที่ตอไป ในกรณีเชนนั้นคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะถือเอาสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงของ

คณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยจะไตสวน

ขอเท็จจริงเพิ่มเติมดวยหรือไมก็ได

ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไตสวนแลวเห็นวาเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นมิไดรํ่ารวยผิดปกติ

หรือมิไดมีท รัพย สินเพิ่ม ข้ึนผิดปกติ แตมีกรณีตองดําเนินการเกี่ ยวกับการทุจ ริตในภาครัฐ

คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะสงเร่ืองคืนใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ดําเนินการตามอํานาจหนาที่ หรือจะ

ไตสวนและชี้มูลตามอํานาจหนาที่ของตนตอไปก็ได

Page 39: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๑๙ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

มาตรา ๔๙ ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติวาขอกลาวหาใดมีมูลนอกจากดําเนินการ

ตามมาตรา ๔๐ หรือมาตรา ๔๕ แลว หากปรากฏวาเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหาไดอนุมัติ อนุญาต

ออกเอกสารสิทธิ ใหสิทธิประโยชนหรือการส่ังการใด ๆ แกบุคคลใดโดยมิชอบ หรืออาจเปนเหตุให

เสียหายแกทางราชการ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แจงใหหัวหนาหนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณา

ดําเนินการสั่งยกเลิกหรือเพิกถอนการอนุมัติ อนุญาต ออกเอกสารสิทธิ ใหสิทธิประโยชน หรือการส่ัง

การใด ๆ นั้น ตอไปดวย

มาตรา ๕๐ เจาหนาที่ของรัฐผูใดถูกกลาวหาวากระทําการทุจริตในภาครัฐ และคณะกรรมการ

ป.ป.ท. มีมติรับไวพิจารณาตามพระราชบัญญัตินี้ แมภายหลังเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นจะพนจาก

การเปนเจาหนาที่ของรัฐไปแลวดวยเหตุอื่นไมเกินหาป นอกจากตาย ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท.

มีอํานาจดําเนินการตอไปได แตตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสองปนับแตวันที่ผูถูกกลาวหานั้นพน

จากการเปนเจาหนาที่ของรัฐ หรือวันที่มีการกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐนั้นในกรณีที่มีการกลาวหา

เมื่อเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นพนจากตําแหนง แลวแตกรณี

ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติวาผูถูกกลาวหาตามวรรคหนึ่งกระทําการทุจริตใน

ภาครัฐ ใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงต้ังถอดถอนผูถูกกลาวหาดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไป

ไดเสมือนวาผูนั้นยังเปนเจาหนาที่ของรัฐ และในกรณีที่การกระทําความผิดดังกลาวเปนความผิดทาง

อาญาดวย ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ดําเนนิการตามมาตรา ๔๕

หมวด ๓

สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

มาตรา ๕๑ ใหมีสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เปนสวนราชการมีฐานะเปนกรมในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ซ่ึงอยูในบังคับบัญชา ข้ึนตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม โดยมีเลขาธิการเปนขาราชการพลเรือนสามัญ มีหนาที่ควบคุมดูแลและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการของสํานักงาน ข้ึนตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม และเปนผูบังคับบัญชาขาราชการและเจาหนาที่ในสํานักงาน โดยมีรองเลขาธิการเปนผูชวยส่ังและปฏิบัติราชการ ทั้งนี้ ในสวนของการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหเลขาธิการปฏิบัติงานขึ้นตรงตอประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

Page 40: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒๐ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

สํานักงานมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) รับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการ ป.ป.ท. รวมตลอดทั้งสนับสนุนและอํานวย

ความสะดวกใหการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

(๒) ประสานงานและใหความรวมมือกับสวนราชการและหนวยงานของรัฐอื่นที่เกี่ยวของ

กับการปองกันและแกไขปญหาการทุจริต

(๓) ประสานงานและใหความรวมมือระหวางประเทศเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม

การทุจริต

(๔) รวบรวมและเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการทุจริต

(๕) จัดใหมีหรือใหความรวมมือกับองคกรอื่นในการศึกษาอบรมและพัฒนาความรูเกี่ยวกับ

การปองกันและแกไขปญหาการทุจริต

(๖) ปฏิบั ติการอื่นตามที่ กํ าหนดในพระราชบัญญั ตินี้ และกฎหมายอื่น หรือตามที่

คณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย

เพื่อประโยชนในการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ใน (๓) ใหสํานักงานหารือและทําความตกลง

รวมกันกับสํานักงาน ป.ป.ช.

มาตรา ๕๒ ใหผูที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. แตงต้ังใหปฏิบัติหนาที่พนักงาน ป.ป.ท. และ

เจาหนาที่ ป.ป.ท. เปนผูดํารงตําแหนงที่มีเหตุพิเศษตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน และ

มีสิทธิไดรับเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษดังกลาว

ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีอํานาจกําหนดเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงตามวรรคหนึ่ง โดยมี

อัตราเทียบเคียงไดกับตําแหนงพนักงานไตสวน และพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตตามลําดับ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามระเบียบ

ที่คณะกรรมการ ป.ป.ท กําหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังและใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๓ เพื่อประโยชนในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานอาจจัดใหมี

มาตรการคุมครองเบื้องตนสําหรับผูกลาวหา ผูเสียหาย ผูทําคํารอง ผูรองทุกขกลาวโทษ ผูใหถอยคํา หรือผูที่แจงเบาะแส หรือขอมูลใดเกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ หรือขอมูลอื่นอันเปนประโยชนตอการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

Page 41: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒๑ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

มาตรา ๕๔ ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวาคดีใดสมควรใหจัดใหมีมาตรการ

คุมครองชวยเหลือแกบุคคลตามมาตรา ๕๓ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แจงใหหนวยงานที่เกี่ยวของ

เพื่อดําเนินการใหมีมาตรการในการคุมครองบุคคลดังกลาว โดยใหถือวาบุคคลดังกลาวเปนพยาน

ที่มีสิทธิไดรับความคุมครองตามกฎหมายวาดวยการคุมครองพยานในคดีอาญา ทั้งนี้ ใหคณะกรรมการ

ป.ป.ท. เสนอความเห็นดวยวาสมควรใชมาตรการทั่วไป หรือมาตรการพิเศษตามกฎหมายวาดวย

การคุมครองพยานในคดีอาญาสําหรับบุคคลดังกลาวดวย

ในกรณีเกิดความเสียหายแกชีวิต รางกาย อนามัย ชื่อเสียง ทรัพยสิน หรือสิทธิอยางหนึ่ง

อยางใดของบุคคลตามวรรคหนึ่งหรือสามี ภริยา ผูบุพการี ผู สืบสันดาน หรือบุคคลอื่นที่มี

ความสัมพันธใกลชิดกับบุคคลดังกลาว เพราะมีการกระทําผิดอาญาโดยเจตนา เนื่องจากการดําเนินการ

หรือการใหถอยคํา หรือแจงเบาะแส หรือขอมูลตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหบุคคลนั้นมีสิทธิย่ืน

คํารองตอหนวยงานที่รับผิดชอบเพื่อขอรับคาตอบแทนเทาที่จําเปนและสมควรตามกฎหมายวาดวย

การคุมครองพยานในคดีอาญาดวย

มาตรา ๕๕ คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจจัดใหมีรางวัลตอบแทนหรือประโยชนอื่นใดแก

บุคคลตามมาตรา ๕๓ ตามระเบียบที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

มาตรา ๕๖ ในกรณีบุคคลตามมาตรา ๕๓ เปนเจาหนาที่ของรัฐและคณะกรรมการ ป.ป.ท.

เห็นวาการดําเนินการหรือใหถอยคํา หรือแจงเบาะแสหรือขอมูลของบุคคลดังกลาวเปนประโยชนตอ

การปองกันและปราบปรามการทุจริตอยางย่ิง และสมควรไดรับการยกยองใหเปนแบบอยางแก

เจาหนาที่ของรัฐและประชาชนโดยทั่วไป คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อการ

พิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดือน และระดับตําแหนงใหแกบุคคลนั้นเปนกรณีพิเศษก็ได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ

วิธีการและเง่ือนไขที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

มาตรา ๕๗ ในกรณีบุคคลตามมาตรา ๕๓ เปนเจาหนาที่ของรัฐเมื่อบุคคลนั้นรองขอตอ

คณะกรรมการ ป.ป.ท. วาหากยังคงปฏิบัติหนาที่ในสังกัดเดิมตอไป อาจถูกกลั่นแกลงหรือไดรับการ

ปฏิบัติโดยไมเปนธรรม อันเนื่องจากการกลาวหาหรือการใหถอยคํา หรือแจงเบาะแสหรือขอมูลนั้น

และคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาแลวเห็นวามีเหตุอันควรเชื่อไดวานาจะมีเหตุดังกลาว ใหเสนอตอ

นายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการใหไดรับความคุมครองหรือมีมาตรการอื่นใดตามที่เห็นสมควรตอไป

Page 42: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒๒ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

มาตรา ๕๘ บุคคลหรือผูถูกกลาวหารายใดซึ่งมีสวนเกี่ยวของในการกระทําผิดกับเจาหนาที่

ของรัฐซ่ึงเปนผูถูกกลาวหารายอื่น หากไดใหถอยคําหรือแจงเบาะแสหรือขอมูลอันเปนสาระสําคัญใน

การที่ จะใช เปนพยานในการวินิ จ ฉัยชี้ มู ลการกระทํ าผิ ดของ เจ าหน าที่ ของ รัฐรายอื่ นนั้ น

หากคณะกรรมการ ป.ป.ท . เห็นสมควรจะกันผูนั้นไว เปนพยานโดยไมดําเนินคดีก็ได ทั้งนี้

ตามหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

หมวด ๔

เบ็ดเตล็ด

มาตรา ๕๙ ใหสํานักงานจัดทําบัญชีเร่ืองกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐที่คณะกรรมการ ป.ป.ท.

รับไวพิจารณาและผลการดําเนินการ เพื่อสงใหสํานักงาน ป.ป.ช ตามพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตทราบ เพื่อเปนการประสานงานตามระยะเวลา

วิธีการ และรายการที่ตกลงรวมกัน

มาตรา ๖๐ ในการปฏิบติัหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการ อนุกรรมการ พนักงาน

ป.ป.ท. และเจาหนาที่ ป.ป.ท. เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

ในการดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการ อนุกรรมการ และพนักงาน

ป.ป.ท. เปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญและเจาหนาที่ ป.ป.ท. เปนพนักงานฝายปกครองหรือ

ตํารวจโดยใหมีอํานาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเชนเดียวกับพนักงานสอบสวนดวย

เวนแตอํานาจในการจับและคุมขัง ใหแจงพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจเปนผูดําเนินการ

มาตรา ๖๑ คาใชจายในเร่ืองดังตอไปนี้ รวมทั้งวิธีการเบิกจายใหเปนไปตามระเบียบ

กระทรวงยุติธรรมโดยไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง

(๑) การไตสวนขอเท็จจริง การแสวงหาขอมูลและรวบรวมพยานหลักฐาน

(๒) การมาชวยปฏิบัติของหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐตาม

มาตรา ๑๘ (๔)

(๓) การดํา เนินการอื่นใดอัน จํา เปนแกการปองกันและปราบปรามการทุจ ริตตาม

พระราชบัญญัตินี้

Page 43: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒๓ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

หมวด ๕

บทกําหนดโทษ

มาตรา ๖๒ ผูใดไมมาใหถอยคําหรือไมสงเอกสารหรือหลักฐานหรือไมดําเนินการใด ๆ

ตามมาตรา ๑๘ (๑) และ (๒) โดยไมมีเหตุอันสมควร ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือ

ปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๖๓ ผูใดไมปฏิบัติตามคําส่ังของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ที่ ส่ังตามมาตรา ๔๘

ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๖๔ ผูใดเปดเผยขอความ ขอเท็จจริง หรือขอมูลที่ไดมาเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่

ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยมิไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ท. และมิใชการกระทําตามหนาที่

ราชการหรือเพื่อประโยชนแกการตรวจสอบหรือไตสวนขอเท็จจริง หรือเพื่อประโยชนแกทางราชการ

หรือประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือ

ทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๖๕ กรรมการ อนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนาที่ ป.ป.ท. ผูใดกระทํา

การทุจริตในภาครัฐ ตองระวางโทษเปนสองเทาของโทษที่กําหนดไวสําหรับความผิดนั้น

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๖๖ ใหดําเนินการแตงต้ังคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

ใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

มาตรา ๖๗ ใหกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

สํานักงาน ก.พ.ร. สํานักงาน ก.พ. สํานักงบประมาณและหนวยงานที่ เกี่ยวของรวมกันจัดทํา

โครงสรางสํานักงาน กรอบอัตรากําลังขาราชการและพนักงานราชการและกําหนดงบประมาณ

รวมถึงการดําเนินการอื่นใดอันจําเปน เพื่อรองรับการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ของสํานักงาน

ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐตามพระราชบัญญัตินี้ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่

พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

Page 44: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒๔ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

ในระยะเริ่มแรก การกําหนดโครงสราง อัตรากําลังและงบประมาณตามวรรคหนึ่ง

ตองรองรับการปฏิบัติงานตามอํานาจหนาที่ของสํานักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

ในเขตพื้นที่ตามความจําเปนและเหมาะสมดวย

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท

นายกรัฐมนตรี

Page 45: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช

หนา ๒๕ เลม ๑๒๕ ตอนที ่ ๒๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายสําคัญและเรงดวนในการปองกันและปราบปรามการทุจริต แตยังไมมีสวนราชการในสวนของฝายบริหารท่ีมีอํานาจหนาท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริตโดยตรง ทําใหรัฐบาลไมสามารถกํากับดูแลและผลักดันเพ่ือใหการดําเนินการตามนโยบายดังกลาวเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและตรงตามเปาหมายที่วางไว อีกท้ังคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติซ่ึงเปนองคกรอิสระที่มีอํานาจในการปองกันและปราบปรามการทุจริตของเจาหนาท่ีของรัฐมีภารกิจท่ีอยูในความรับผิดชอบจํานวนมาก สมควรที่จะมีสวนราชการในฝายบริหารท่ีรับผิดชอบในการดําเนินการดานนโยบายดังกลาว และเปนศูนยกลางประสานงานกับหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของท้ังหมด รวมทั้งกําหนดมาตรการตาง ๆ เพ่ือใหการปองกันและปราบปรามการทุจริตในฝายบริหารสามารถดําเนินการในลักษณะบูรณาการและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

Page 46: Nakhonratchasima - ความเป็นมา · 2010. 6. 4. · ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่คณะกรรมการป.ป.ช