15
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ จากแบบฝกการอาน ออกเสียงPronunciation จากหนังสือเรียน Different ชั้นมัธยมศึกษาปที3 และแบบฝกหัดอาน Passwords book 3 ผูวิจัย นางพัชรินทร เครือเทพ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปที3 ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนอัสสัมชัญ ธนบุรี

งานวิจัยในชั้นเรียนswis.act.ac.th/html_edu/act/temp_emp_research/514.pdf · ชั้นมัธยมศึกษาป3 ... แนวการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

  • Upload
    ngomien

  • View
    224

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

งานวิจัยในช้ันเรียน

เรื่อง

การพัฒนาการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ จากแบบฝกการอาน

ออกเสียงPronunciation จากหนังสือเรียน Different ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และแบบฝกหัดอาน Passwords book 3

ผูวิจัย

นางพัชรินทร เครือเทพ

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ

ช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 3

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนอัสสัมชัญ ธนบุรี

คํานํา

แบบรายงานการวิจัยฉบับนี้เปนการทําการวิจัยเพ่ือการสอนความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ (Pronunciation) จากหนังสือเรียน Different ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 และแบบฝกหัดอาน Passwords book 3

โดยวิธีการพัฒนาการเรียนการสอน วิชาภาษาอังกฤษ เรื่องการพัฒนาความสามารถในดานการอานออกเสียงทางการเรียนสําหรับนักเรียนท่ีเรียนออนในดานการอาน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 โดยใชเอกสารประกอบการเรียนท่ีสรางขึ้น โดยการวิจัยครั้งนี้ไดทําเปนแบบประเมินผลงาน 2 ครั้ง เพ่ือเปรียบเทียบพัฒนาการ สาเหตุของการจัดทํางานวิจัยช้ินนี ้คือ เพ่ือสงเสริมใหนักเรียน เรียนอยางมีความสุข และไดรับความรู การฝกฝนท่ีตอเนื่องซ่ึงตอไปจะทําใหนักเรียนชอบการเรียนและไดรับความรูและนําไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

ดังนั้นในการจัดทําแบบรายงานการวิจัยช้ินนี้ ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปนประโยชนตอการเรียนการสอน และเปนการเรียนการสอนท่ีนักเรียนจะไดรับความรูไดด ี

มิสพัชรินทร เครือเทพ ผูทําการวิจัย

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา เนื่องจากภาษาอังกฤษเปนภาษาท่ีสําคัญอีกแขนงหนึ่งในการติดตอส่ือสารไมวาจะเปนดานการศึกษา ดานธุรกิจตาง ๆ ตลอดจนการใชเทคโนโลยี ซ่ึงปจจุบันภาษาอังกฤษมีความสําคัญอยางมากในการติดตอส่ือสารและตองอาศัยทักษะตาง ๆ เชน การฟง การพูด การเขียนและการอาน ทักษะท้ัง 4 นี้ มีความสําคัญมากตอการส่ือสาร และทักษะการอานเปนทักษะหนึ่งของการพูดอานออกเสียง ถาเราสามารถอานไดถูกตองตามสําเนียงเจาของภาษา และเขาใจได เราจะสามารถเช่ือมโยงไปสูทักษะอ่ืน ๆ เชนการพูด ก็สามารถทําใหพูดออกเสียงถูกตองชัดเจน และทําใหการติดตอส่ือสารเปนไปไดดวยด ีและนอกจากนี้ยังสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศึกราช 2542 และท่ีสําคัญผูเรียนยังขาดทักษะดานการอานออกเสียงภาษาอังกฤษท่ีถูกตองตามสําเนียงของเจาของภาษา จึงทําใหผลสําฤทธ์ิในการเรียนอยูในเกณฑท่ีต่ํา จากการสํารวจโดยใช การสุม เรียก อานเปนรายบุคคลและรายกลุม ตลอดระยะเวลาในการเรียนการสอน โดยใชเทปประกอบการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ Different เปนเครื่องมือในการออกเสียง โดยเริ่มตั้งแตบทเรียน 8-16 โดยอาศัยแบบประเมินเกณฑการอานกอนเรียน – หลังเรียน เปนเครื่องมือในการประเมิน จึงหาแนวทางในการแกไขปญหาการฝกออกเสียงภาษาอังกฤษ (Pronunciation) วัตถุประสงคของการวิจัย

1.เพ่ือตองการใหนักเรียนอาน ออกเสียง Phonetic pronunciation ไดดีขึ้น 2.เพ่ือพัฒนาทักษะดานการพูดออกเสียงไดถูกตามหลักเจาของภาษา 3.เพ่ือใหนักเรียนมีผลสําฤทธ์ิในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษดีขึ้น

ประชากร นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 /9 จํานวน 18 คน โรงเรียนอัสสัมชัญ ธนบุรี กลุมตัวอยาง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 / 9 ภาคเรียนท่ี2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียน

อัสสัมชัญ ธนบุรี จํานวน 18 คน

ประเภทของงานวิจัย วิจัยแบบสํารวจ โดยการสุมตัวอยาง ตัวแปรตน การสอนทักษะการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ Pronunciation ในแบบเรียน ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธ์ิดานการอานภาษาอังกฤษท่ีพัฒนาขึ้น

ระยะเวลา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิดานการอานออกเสียงภาษาอังกฤษท่ีดีขึ้น

ม่ันใจในการใชภาษาส่ือสาร และมีเจตคติท่ีดีตอการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ

บทที ่2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

แนวการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

แนวการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรนี้มุงใหผูเรียนมีความสามารถในการส่ือสารควบคูกัน 2 ดาน ไดแก ความสามารถในการใชภาษาเพ่ือเขาสูสังคมและวัฒนธรรมและความสามารถในการใชภาษา เพ่ือส่ือความไดอยางถูกตองตามหลักภาษา และเหมาะสมกับสถานการณ โดยมีแนวหลักการดังนี้

1. จัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง 2. จัดการเรียนการสอนดวยกิจกรรมท่ีมีความหมายและหลากหลาย ฝกการส่ือสารใน

สถานการณตางๆ เพ่ือ ใหผูเรียนสามารถใชภาษาในสถานการณจริง 3. จัดใหผูเรียนไดฝกฝนการส่ือสารดวยการฟงและการพูดในระดับเตรียมความพรอม

เพ่ิมเติมการฝกฝนการส่ือสารดวยการอาน การเขียน และการสะกดคําในระดับอานออกเขียนได และฝกฝนการสงสารและรับสารดวยการฟง พูด อาน และเขียน ในการเรียนภาษาอังกฤษระดับมาตรฐานพ้ืนฐานตอนตน เนื่องจากภาษาอังกฤษเปนภาษาท่ีสําคัญอีกแขนงหนึ่งในการตดิตอส่ือสารไมวาจะเปนดานการศึกษา ดานธุรกิจตาง ๆ ตลอดจนการใชเทคโนโลยี ซ่ึงปจจุบันภาษาอังกฤษมีความสําคัญอยางมากในการติดตอส่ือสารและตองอาศัยทักษะตาง ๆ เชน การฟง การพูด การเขียนและการอาน ทักษะท้ัง4นี้ มีความสําคัญมากตอการส่ือสาร และทักษะการอานเปนทักษะหนึ่งของการพูดอานออกเสียง ถาเราสามารถอานไดถูกตองตามสําเนียงเจาของภาษา และเขาใจได เราจะสามารถเช่ือมโยงไปสูทักษะอ่ืน ๆ เชนการพูด ก็สามารถทําใหพูดออกเสียงถูกตองชัดเจน และทําใหการติดตอส่ือสารเปนไปไดดวยด ีและนอกจากนี้ยังสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศึกราช 2542 และท่ีสําคัญผูเรียนยังขาดทักษะดานการอานออกเสียงภาษาอังกฤษท่ีถูกตองตามสําเนียงของเจาของภาษา จึงทําใหผลสําฤทธ์ิในการเรียนอยูในเกณฑท่ีต่ํา จากการสํารวจโดยใช การสุม เรียก อานเปนรายบุคคลและรายกลุม ตลอดระยะเวลาในการเรียนการสอน โดยใชเทปประกอบการเรียนวิชาภาษาอังกฤษDifferent เปนเครื่องมือในการออกเสียง โดยเริ่มตั้งแตบทเรียน 8-16 และหนังสือPasswords 3 โดยอาศัยแบบประเมินเกณฑการอานกอนเรียน – หลังเรียน เปนเครื่องมือในการประเมิน

จึงหาแนวทางในการแกไขปญหาการฝกออกเสียงภาษาอังกฤษ (Pronunciation)

บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน

กลุมเปาหมาย กลุมตัวอยาง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 / 9 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนอัสสัมชัญ ธนบุรี จํานวน 18 คน วิธีดําเนินการวิจัย

3.1 การสรางชุดการสอน

สําหรับการสรางชุดการสอนเพ่ือพัฒนาการสะกดคําภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 นั้น ผูวิจัยเริ่มจากการศึกษาวิธีการสรางชุดการสอน การออกแบบแผนการจัดการเรียนรูท่ีดี คูมือครู และเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการการสะกดคํา ตลอดจนการกําหนดขอบเขตและวัตถุประสงคของนวัตกรรม และกําหนดเคาโครงนวัตกรรมชุดการสอนการสะกดคําภาษาอังกฤษ ประกอบดวย หนังสือ Different และ Passwords Book 3 ใบความรู ส่ือการการสอนตางๆ บัตรอักษร บัตรคํา กิจกรรมการเรียนการสอน และชุดแบบฝกทักษะการสะกดคํา

จากนั้นกําหนดรูปแบบของนวัตกรรมชุดการสอนสะกดคําภาษาอังกฤษ ซ่ึงคํานึงถึงความถูกตองและเนื้อหาตามหลักวชิาการ โดยผูวิจัย

ผูวิจัยทําการประเมินความสอดคลองของชุดการสอนสะกดคําภาษาอังกฤษ โดยใชแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับชุดการสอน การวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากการคํานวณหาคาเฉล่ีย (X-bar) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ดังรายการตอไปนี ้ 1. ความสอดคลองกับวัตถุประสงคของหลักสูตร 2. ความเหมาะสมของบทบาทของครูในการเรียนการสอน 3. ชุดการสอนสะกดคําภาษาอังกฤษ สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 4. สามารถปฏิบัติไดจริงทุกขั้นตอน 5. เนื้อหามีความยากงายเหมาะสมกับนักเรียน 6. กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีจัดไวสอดคลองกับเวลา 7. ความเหมาะสมของส่ือการเรียนการสอน 8. กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีจัดไว เราความสนใจของนักเรียน 9. ชุดการสอนสะกดคําชวยพัฒนาทักษะการสะกดคําของนักเรียนได 10. ความเหมาะสมของการวัดและประเมินผล

กลุมเปาหมาย 1. กลุมเปาหมาย ไดแก นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/9 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 18 คน 2. ตัวแปรท่ีศึกษา 2.1 ตัวแปรตน ไดแก เอกสารประกอบการเรียน 2.2 ตัวแปรตาม ไดแก ความสามารถทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/9 3. วิธีการนําไปใช ใชเอกสารประกอบการเรียนในการฝก 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 โดยมีการทดสอบทักษะความสามารถทางการเรียน ดังนี ้ 3.1 ทดสอบวัดความสามารถในการเรียนกอนการฝก 1 ครั้ง 3.2 ทดสอบความสามารถในการฝกปฏิบัติเปนระยะ ๆ เม่ือจบขั้นตอนการฝกแต ละเนื้อหา 3.3 ทดสอบวัดความสามารถในการเรียนหลังการฝก 1 ครั้ง 4. การเก็บรวบรวมขอมูล

ขอมูล/ผลท่ีจะเก็บ วิธีการ เครื่องมือ จํานวนครั้ง/ระยะเวลาท่ีเก็บ

คะแนนความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษ

การทดสอบ อาน

แบบทดสอบ จํานวน 1 ฉบับ

ทดสอบ 2 ครั้ง กอนการฝก 1 ครั้ง หลังการฝก 1 ครั้ง

คะแนนทักษะการปฏิบัตกิารอาน

การตรวจผลงาน แบบฝกปฏิบัต ิ

ตรวจผลงาน 2 ครั้ง เม่ือจบแตละเนื้อหา

5. วิธีการวิเคราะหขอมูล

5.1 หาคาเฉล่ียคะแนนความสามารถทางการเรียนภาษาอังกฤษกอนและหลังการฝกอาน

5.2 เปรียบเทียบคะแนนความแตกตางระหวางกอนฝกและหลังฝกเปนรายบุคคล 5.3 หาคารอยละจํานวนนักเรียนท่ีมีขอบกพรองในการอานภาษาอังกฤษ

6. สถิติท่ีใช ไดแก คารอยละ และคาเฉล่ีย ตารางที ่ 1 คาสถิติพ้ืนฐานคะแนนความกาวหนาทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/9 จากการทดสอบ 2 ครั้ง

จํานวนนักเรียน คาเฉล่ีย(N) (X)

ทดสอบกอนฝก 18 5.83ทดสอบหลังฝก 18 8.16

รายการ

จากตารางท่ี 1 พบวา ความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/9 จากการทดสอบ 2 ครั้ง เทากับ 5.83 และ 8.16 ซ่ึงแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา นักเรียนมีความกาวหนาในการเรียนสูงขึ้น คะแนนความสามารถในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ กอนและหลังการฝกอาน ตารางที ่2 เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/9 กอนและหลังการฝก จํานวน 18 คน จากตารางท่ี 2 พบวา คะแนนเฉล่ียกอนเรียนของนักเรียนเทากับ 5.83 คะแนนเฉล่ียหลังเรียนเทากับ 8.16 ดังนั้น นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียเพ่ิมขึ้นโดยเฉล่ีย = 8.16 – 5.83 = 2.33

บทที่ 4 ผลการวิจัย

ผลการวิเคราะขอมูล การใชแบบฝกPronunciation จากหนังสือ Different ม.3 เปนแบบฝกเพ่ือพัฒนาทักษะดานการอานออกเสียงภาษาอังกฤษหนังสือ Password 3 พบวานักเรียนมีทักษะการอานออกเสียงท่ีดีขึ้น ถูกตองชัดเจน และมีผลสัมฤทธ์ิการอานอยูในเกณฑท่ีพัฒนาด ี

แบบฝกหัด Pronunciation LESSON 8

LESSON 9

LESSON 10

LESSON 11

LESSON 12

LESSON 13 LESSON 14

LESSON 15

LESSON 16

รายช่ือนักเรียนเกณฑประเมินการอาน 1 16224 1-1037-01328-97-5 ด.ช. เมษ กังวานกิจ 2 16793 1-1022-00130-81-1 ด.ช. ปาณัท แลม 3 16832 1-1017-00159-25-6 ด.ช. กรเมธ อนุศิริกุล 4 16950 1-1014-02046-10-1 ด.ช. ธนพัฒน มานะสัมภวงค 5 16961 1-1020-02127-39-2 ด.ช. สิทธิธัช ไพบูลยวรากิจ 6 17002 1-1008-01006-06-3 ด.ช. ภาคิน โชติรัตนดล 7 17078 1-1020-02327-22-7 ด.ช. ขจรพัฒน เกียรติชัยปรีชา 8 20376 1-8404-00068-71-1 ด.ช. กิตตินันท รัตนรักษ 9 20745 1-1015-00752-91-3 ด.ช. เสฐียรพงษ ลิลิตวงษ

10 20764 1-7099-00952-87-3 ด.ช. สรวิศ ศรีออน 11 20789 1-1017-00161-31-5 ด.ช. ศุภณัฐ มณีศิลาสันต 12 20793 1-1014-02035-81-8 ด.ช. ธนพล ธีรไกรศรี 13 20815 1-1028-00057-43-0 ด.ช. ธัชภูมิ วิโรจนสุรัตน 14 20832 1-1022-00127-34-8 ด.ช. คุณากร หมีเงิน 15 20842 1-1015-00762-67-6 ด.ช. เสฐียรโกเศศ ทรงฮง 16 20846 1-1033-00151-41-1 ด.ช. มติธร ชัยมังคโล 17 20875 1-1014-02057-92-7 ด.ช. อภิมุข นันทคุณาธิป 18 21466 1-1008-01006-37-3 ด.ช. ยุทธนา เกียรติศิริลักษณ

คะแนนสอบกอน – หลังเรียนงานวิจัย Pre-Post test

เลขท่ี ช่ือ – นามสกุล คะแนนกอนเรียน 10 คะแนนหลังเรียน 10 1 ด.ช. เมษ กังวานกิจ 7 9 2 ด.ช. ปาณัท แลม 8 10 3 ด.ช. กรเมธ อนุศิริกุล 8 10 4 ด.ช. ธนพัฒน มานะสัมภวงค 5 8 5 ด.ช. สิทธิธัช ไพบูลยวรากิจ 3 5 6 ด.ช. ภาคิน โชติรัตนดล 5 8 7 ด.ช. ขจรพัฒน เกียรติชัยปรีชา 5 9 8 ด.ช. กิตตินันท รัตนรักษ 5 8 9 ด.ช. เสฐียรพงษ ลิลิตวงษ 4 7 10 ด.ช. สรวิศ ศรีออน 4 6 11 ด.ช. ศุภณัฐ มณีศิลาสันต 5 8 12 ด.ช. ธนพล ธีรไกรศร ี 4 7 13 ด.ช. ธัชภูมิ วิโรจนสุรัตน 5 8 14 ด.ช. คุณากร หมีเงิน 7 10 15 ด.ช. เสฐียรโกเศศ ทรงฮง 6 9 16 ด.ช. มติธร ชัยมังคโล 7 10 17 ด.ช. อภิมุข นันทคุณาธิป 6 9 18 ด.ช. ยุทธนา เกียรติศิริลักษณ 4 6

คะแนนรวม 98 147 คะแนนเฉล่ีย 5.83 8.16

คะแนนสูงสุด กอนเรียน หลังเรียน

ลําดับ คะแนน จํานวน คะแนน จํานวน

1 8 2 10 4 2 7 3 9 4 3 6 2 8 5 4 5 6 7 2 5 4 4 6 2

คะแนนต่ําสุด

กอนเรียน หลังเรียน ลําดับ

คะแนน จํานวน คะแนน จํานวน 1 3 1 5 1 2 4 4 6 2 3 5 6 7 2 4 6 2 8 5 5 7 3 9 4

คะแนนรวม – เฉล่ีย

กอนเรียน หลังเรียน ผลตาง รวม 98 147 49 เฉล่ีย 5.83 8.16 2.33

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย ภายหลังการพัฒนาความสามารถทางการเรียนภาษาอังกฤษ สําหรับเดก็นักเรียนมีความสามารถในการอานภาษาอังกฤษออนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/9 โดยใช เอกสารเสริมประกอบการเรียน ปรากฏวานักเรียนมีการพัฒนาความสามารถทางการเรียนดีขึ้น อภิปรายผล จากผลการใชเอกสารประกอบการเรียนท่ีสรางขึ้น ปรากฏวา นักเรียนมีความสามารถในการอานภาษาอังกฤษดีขึ้น ซ่ึงเม่ือพิจารณาความกาวหนาในการเรียนของนักเรียน พบวา นักเรียนสามารถพัฒนาไดตามระยะเวลาและจํานวนกิจกรรมท่ีฝก และเม่ือส้ินสุดการฝก พบวา นักเรียนมีทักษะการปฏิบัติและทักษะการจัดองคประกอบตางๆ ของผลงานดีขึ้น ท้ังนี้อาจเปนเพราะเครื่องมือท่ีใชในการพัฒนามีการจัดลําดับความยากงายท่ีเหมาะสมกับผูเรียน แสดงวาเอกสารประกอบการเรียนท่ีสรางขึ้นนี้ ชวยใหนักเรียนมีความสามารถทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษดีขึ้น ขอเสนอแนะ ควรฝกเพ่ิมเติมใหกับนักเรียนท่ียังมีขอบกพรองในดานทักษะการอานภาษาอังกฤษใหมีทักษะการอานไดถูกตอง และมีการปรับเปล่ียนสําเนียงและการออกเสียงท่ีถูกตองมากขึ้นเพ่ือนําไปใชในระดับสูงตอไปในอนาคตและใหเหมาะสมกับความถนัดและความสามารถของนักเรียน ตอไป