6
ประณตศลปไทย ชาต ไทย เปนชาต่มศลปะวัฒนธรรม และประวัตความเปนมาท ่ยาวนาน ประเทศหน ่งใน ภูมภาคเอเซยตะวันออกเฉยงใต$ โดยปรากฎหลักฐาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ ท ่เปนงานประณศลป.จํานวนมาก ท ่ผ2านการคดค$น สร$างสรรค3 ประดษฐ3 ข นมาด$วยความเพยรพยายาม ประณตร บรรจง สบต2อกันมาเปนเวลานานหลายร$อยป9 หรออาจถงพันป9 งานท ่จัดว2าเปนประณตศลป. ของไทย ท ่มลักษณะเฉพาะตัว ได$แก2งานศลปะดังต2อไปน 1. เคร ่องเงน หมายถง เคร ่องเงนชนดท ่ทําเปนเคร ่องรูปพรรณ เคร ่องถม และเคร ่องลงยา สท ่ทําในประเทศไทย ทําด$วยโลหะเงนมาตรฐาน ให$ม โลหะอ ่นๆ เจอปนได$ ไม2เกน ร$อยละ 7.5 ของ ําหนัก ส2วนประกอบของเคร ่องเงนไทย ต$องแข็งแรง ทนทาน มลวดลายท ่ชัดเจน เรยบร$อย ในประเทศไทยมหลักฐานของการใช$ โลหะเงนมาตังแต2 ก2อนยุคทวาราวด เร ่อยมาจนถง ป?จจุบัน ในแต2ละท$องถ ่น ภาคใต$ ภาคกลาง และภาคเหนอ โดยเฉพาะ เคร ่องเงนของล$านนา นับว2ามช ่อเสยงมาก กระบวนการผลตเคร ่องเงน มขันตอนสําคัญ 3 ขันตอน ค1. การหลอม เปนขันตอนแรกในการผลต เปนการเตรยมวัตถุดบ เพ ่อใช$ทํางานขันต2อไป 2. การข นรูป เปนการเตรยมภาชนะให$เปนรูปแบบตามต$องการ โดยทั่วไป ม 6 แบบ คอ การข นรูปด$วยค$อน การตัดต2อด$วยการหล2อ ด$วยการชักลวด ด$วยการสาน และด$วยการบุ 3. การตกแต2งเคร ่องเงน เปนการทํางานขันสุดท$าย เพ ่อให$เกดความสวยงาม วการ ตกแต2งเคร ่องเงนโดยทั่วไป ม 7 ลักษณะ คอ การสลักดุน การเพลา การแกะลายเบา การถมยาดํา การถมยาทอง หรอตะทอง การลงยาส และการประดับหรอฝ?งอัญมณ ลวดลายท ่ปรากฎอยู2 ในเคร ่องเงนไทย มักเปนลวดลายธรรมชาต รูปเทวดา รูปสัตว3หม พานต3 รูปตัวละครในวรรณคด รูปสัตว3 12 ราศ และลวดลายไทย

Thai Handicraft

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เพลิดเพลินสนุกสนานอีกด$วย ถือเปนการแสดงออกถึงความเปนเอกลักษณ3 ทางด$านวัฒนธรรม ประเพณีอย2างหนึ่งของชาติไทยและพระราชวงศ3 ซึ่งมีอารยธรรมสูงส2งมาแต2โบราณกาล

Citation preview

ประณีตศิลปไทย ชาตไิทย เป�นชาติที่มีศิลปะวัฒนธรรม และประวัติความเป�นมาที่ยาวนาน ประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต$ โดยปรากฎหลักฐาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เป�นงานประณีตศิลป.จํานวนมาก ที่ผ2านการคิดค$น สร$างสรรค3 ประดิษฐ3 ข้ึนมาด$วยความเพียรพยายาม ประณีต วิจิตร บรรจง สืบต2อกันมาเป�นเวลานานหลายร$อยป9 หรืออาจถึงพันป9 งานที่จัดว2าเป�นประณีตศิลป.ของไทย ที่มีลักษณะเฉพาะตัว ได$แก2งานศิลปะดังต2อไปน้ี

1. เครื่องเงิน หมายถึง เคร่ืองเงินชนิดที่ทําเป�นเครื่องรูปพรรณ เครื่องถม และเครื่องลงยาสีที่ทําในประเทศไทย ทําด$วยโลหะเงินมาตรฐาน ให$มโีลหะอ่ืนๆ เจือปนได$ไม2เกิน ร$อยละ 7.5 ของน้ําหนัก ส2วนประกอบของเคร่ืองเงินไทย ต$องแข็งแรง ทนทาน มีลวดลายที่ชัดเจน เรียบร$อย ในประเทศไทยมีหลักฐานของการใช$โลหะเงินมาต้ังแต2 ก2อนยุคทวาราวดี เรื่อยมาจนถึงป?จจุบัน ในแต2ละท$องถิ่น ภาคใต$ ภาคกลาง และภาคเหนือ โดยเฉพาะ เคร่ืองเงินของล$านนา นับว2ามีชื่อเสียงมาก กระบวนการผลิตเคร่ืองเงิน มีขั้นตอนสําคัญ 3 ขั้นตอน คือ 1. การหลอม เป�นข้ันตอนแรกในการผลิต เป�นการเตรียมวัตถุดิบ เพื่อใช$ทํางานขั้นต2อไป 2. การขึ้นรูป เป�นการเตรียมภาชนะให$เป�นรูปแบบตามต$องการ โดยท่ัวไป มี 6 แบบ คือ การขึ้นรูปด$วยค$อน การตัดต2อด$วยการหล2อ ด$วยการชักลวด ด$วยการสาน และด$วยการบุ 3. การตกแต2งเครื่องเงิน เป�นการทํางานขั้นสุดท$าย เพื่อให$เกิดความสวยงาม วิธีการตกแต2งเคร่ืองเงินโดยทั่วไป มี 7 ลักษณะ คือ การสลักดุน การเพลา การแกะลายเบา การถมยาดํา การถมยาทอง หรือตะทอง การลงยาสี และการประดับหรือฝ?งอัญมณี ลวดลายที่ปรากฎอยู2ในเครื่องเงินไทย มักเป�นลวดลายธรรมชาติ รูปเทวดา รูปสัตว3หิมพานต3 รูปตัวละครในวรรณคดี รูปสัตว3 12 ราศี และลวดลายไทย

2. เคร่ืองทอง เป�นสินแร2ที่มีราคา และมนุษย3นิยมนํามาใช$เป�นวัตถุในการแลกเปลี่ยน

ความสําคัญของทองเกิดจากการที่มีค2าสูงไม2เปลี่ยนแปลงไปตามป?จจัยต2างๆ มากนัก มีคตวามสวยงาม มีสีเหลืองสว2างสดใสปละมีประกายสุกปลั่งเสมอ ไม2เป�นสนิม มีความอ2อนเหนียวจนสามารถนํามาตีเป�นแผ2นบางมากๆ ขนาด 0.000005 นิ้วได$ และเป�นโลหะที่ไม2ละลายในกรดชนิดใด แต2จะละลายได$อย2างช$าๆ ในสารละลายผสมระหว2างกรดดินประสิวกับกรดเกลือ กระบวนการในการทําเครื่องทอง ในอดีต มีหลายวิธีแตกต2างกันออกไป ตามแต2เทคนิค หรือวัสดุ อุปกรณ3ที่นํามาใช$ ดังน้ีคือ การหุ$ม การปGด(การลงรักปGดทอง) การบุ การดุน การหล2อ การสลัก การาไหล2หรือกะไหล2 การคร่ํา เป�นต$น เคร่ืองทองที่นิยมทํากันมัก เป�นวัตถุเกี่ยวกับของสําคัญ และมีค2า เช2น เครื่องราชูปโภค เครื่องยศ เครื่องใช$สอย เคร่ืองประดับ เคร่ืองพุทธบูชา เคร่ืองประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา พระพุทธรูป พระพิมพ3 แผ2นทองจารึก(สุพรรณบัฏ) ฯลฯ

3. เคร่ืองถม จัดเป�นงานประณีตศิลป.ชนิหน่ึงที่มีมาแต2โบราณ และสืบทอดต2อมา

จนกระท่ังถึงป?จจุบัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให$ความหมายของเคร่ืองถมไว$ว2า "...เรียกภาชนะหรือเคร่ืองประดับที่ทําโดยใช�ผงยาดําผสมน้ําประสานทอง ถมลงบนลวดลายที่

แกะสลักบนภาชนะ หรือเครื่องประดับน้ัน แล�วขัดผิวให�เงางามว'า เครื่องถม หรือ ถม เช'น ถมนคร

ถมทอง ถมเงิน..." เคร่ืองถม มีหลายประเภท จําแนกได$ดงัน้ี 1. ถมดํา หรือ ถมเงิน เป�นการทําเคร่ืองถมที่เก2าที่สุด ทําโดยการแกะสลักลวดลาย ลงบพื้นผิวภาชนะเครื่องเงิน จนเป�นร2องลึก แล$วลงยาถมดําลงไปในร2องลึกน้ันจนเต็ม 2. ถมตะทอง โดยการใช$ "ทองเป9ยก" เป�นแผ2นทองบดละเอียดผสมปรอทบริสุทธ์ิแล$วนํามาถมลายที่สลักไว$ 3. ถมป?ด ทําจากภาชนะที่เป�นทองแดงและลงนํ้ายาสีต2างๆ

4. เคร่ืองมุก การประดับมุก เป�นงานประณีตศิลป.ที่เกิดจากความคิดสร$างสรรค3 ในการ

ตกแต2งวัสดุให$สวยงามของคนไทยมาแต2โบราณ โดยใช$เปลือกหอยมุก ซึ่งมีทั้งหอยมุกทะเล และหอยมุกน้ําจืด นํามาฉลุเป�นลวดลายชิ้นเล็กๆ ประดับลงไปบนภาชนะ บานประตู หน$าต2าง ตู$ ฯลฯ

โดยใช$รักสีดํา เป�นตัวเช่ือมให$ช้ินมุก เกาะติดฝ?งลงไปกับภาชนะ หรือวัสดุ สีขาวแกมชมพูและความแวววาวของหอยมุก จะตัดกับสีดําของรัก ทําให$ภาชนะ เครื่องใช$ หรือวัตถุชิ้นน้ันๆ สวยงามมาก ภาชนะที่นิยมประดับมุก ได$แก2 พาน กล2อง หีบ เครื่องใช$สําหรับพระสงฆ3 ถาด ฯลฯ

5. ไม แกะสลัก ไม$ที่นิยมนํามาแกะสลักมากที่สุด คือ ไม$สัก ไม$ตะเคียน ไม$ชิงชัน ไม$ประดู2 ไม$มะค2า ชนชาติไทยมีฝ9มือ ทางด$านการแกะสลักไม$มาแต2โบราณ และมีศิลปวัตถุที่แกะสลักจากไม$เป�นจํานวนมาก เนื่องจากในภูมิภาคแถบน้ี มไีม$สักและไม$อ่ืนๆ ที่นํามาแกะสลักได$จํานวนมาก แต2ป?จจุบันได$ลดลงอย2างรวดเร็ว ทําให$หาได$ยากขึ้น ไม$แกะสลักมักนํามาทําเป�นบานประตู หน$าต2าง พระพุทธรูป ลวดลายประดับตกแต2งอาคาร สิ่งของเครื่องใช$ต2างๆ การแกะสลักไม$ มีขั้นตอนที่สําคัญๆ อยู2 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบลวดลาย การแกะสลักลาย และการตกแต2ง

6. เคร่ืองป%&นดินเผาไทย มนุษย3รู$จักทําเครื่องป?Pนดินเผา มาตั้งแต2สมัยหินกลาง ในยุคก2อน

ประวัติศาสตร3 เม่ือ 10,000-7,000 ป9 มาแล$ว และทํากันมาจนถึงป?จจุบัน ในทุกภูมิภาคของโลก อาจกล2าวได$ว2า ชาตใิดๆ ก็รู$จักการทําเครื่องป?Pนดินเผาทั้งส้ิน ในประเทศไทย มีการทําเคร่ืองป?Pนดินเผาอยู2ทุกภูมิภาค ในสมัยด้ังเดิมเป�นการเผาดินดิบ ต2อมามีการเคลือบด$วยนํ้ายา

เคลือบ และพัฒนามาสู2การเขียนลวดลายลักษณะต2างๆ จากสีเดียว (เอกรงค3) มาเป�นหลายสี (พหุรงค3) ซึ่งมีมาต้ังแต2สมัยอยุธยา ซึ่งใช$สี 5 สี เรียกว2า ลายเบญจรงค3 และต2อมาในสมัยรัตนโกสินทร3 มีการเขียนลายทอง ที่เรียกว2าเบญจรงค3ลายน้ําทอง

7. งาช างแกะสลัก เป�นงานประณีตศิลป.ที่มีความละเอียด และต$อใช$ฝ9มือที่เชี่ยวชาญเป�นอย2างย่ิง โดยปกติงาช$างเป�นของมีค2าซึ่งต$องเก็บรักษาไว$อย2างดี เดิมมีสีขาวนวล เม่ือนานไป อาจเปล่ียนเป�นสีเข$มขึ้นถึงนํ้าตาล และมีรอยแตกราน อย2างที่เรียกว2า แตกลายงา งาช$างสลักนิยมนํามาทําเป�น พระพุทธรูป กล2อง หรือตลับ ตราสัญลักษณ3 ตุSกตา ด$ามหรือปลอกมีด ฯลฯ

8. เรือพระราชพิธี เป�นงานประณีตศิลป.อีกประเภทหน่ึงของวัฒนธรรมไทย ซึ่งผกูพันกันแม2น้ํามาต้ังแต2โบราณกาลโดยใช$เรือ ชนิดต2างๆ เรือพระราชพิธี มักใช$ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ซึ่งเป�นริ้วขบวนเรือที่จัดขึ้นในการที่พระเจ$าอยู2หัว เสด็จพระราชดําเนินไปในการต2างๆ ทั้งเป�นการส2วนพระองค3 และพระราชพิธี ซึ่งมีมาต้ังแต2สมัยสุโขทัย การจัดชบวนพยุหยาตราทางชลมารคน้ี กล2าวได$ว2า มีวิวัฒนาการมาจากการจัดกระบวนทัพเรือ ในยามว2างจึงมีการจัดขบวนทัพเพื่อฝTกซ$อม มีการตกแต2งเรืออย2างสวยงาม และมีการประโคมดนตรี ไปในแระบวนเพื่อความ

เพลิดเพลินสนุกสนานอีกด$วย ถือเป�นการแสดงออกถึงความเป�นเอกลักษณ3 ทางด$านวัฒนธรรมประเพณีอย2างหนึ่งของชาติไทยและพระราชวงศ3 ซึ่งมีอารยธรรมสูงส2งมาแต2โบราณกาล