14
99 Vol.6 No.3 รศ.นพ. สมศักดิเทียมเก่า สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Management of Status Epilepticus in Adult บทนำ� ภาวะ status epilepticus (SE) คือภาวะ ที่ชักต่อเนื่องนานมากกว่า 5 นาทีแล้วไม่หยุด ชัก (practical definition) และถ้าภาวะ SE ไม่ สามารถควบคุมให้หยุดชักได้ภายใน 1 ชั่วโมง เรียกว่าภาวะ refractory SE (RSE) สิ่งที่น่าสนใจ คือว่า ทำาไมถึงเกิดภาวะ SE และ RSE เพราะการ ชักส่วนใหญ่จะหยุดเองภายในเวลาไม่นานเกิน 3-5 นาที การเกิดภาวะ SE เนื่องมาจากความไม่สมดุล ระหว่างกระบวนการยับยั้งและการกระตุ้นให้เกิด ชัก กล่าวคือ กระบวนการกระตุ้นให้ชักมีมากกว่า กระบวนการยับยั้งและถ้ากระบวนการดังกล่าว เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภาวะ SE ก็จะดำาเนินไปเป็น RSE ซึ่งไม่ตอบสนองต่อการรักษา ส่งผลให้มีอัตรา การเสียชีวิตสูง จากการศึกษาหลายการศึกษารวม ทั้งการศึกษาจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์ พบว่า อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย status epilepticus กรณีที่สามารถควบคุมการชักได้ภายใน 1 ชั่วโมง หลังจากเริ่มมีอาการชัก มีอัตราการเสียชีวิตไม่เกิน ร้อยละ 10 แต่ถ้าการชักนั้นไม่สามารถควบคุมไดภายใน 1 ชั่วโมง หรือเกิดภาวะ refractory status epilepticus จะมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 50 ดังนั้นการรักษา SE นั้นที่สำาคัญคือการควบคุม การชักให้หยุดได้ภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังจากมี อาการ บทความนี้จะกล่าวถึงสาเหตุของ SE กลไก การเกิดภาวะ SE, RSE ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด RSE วิธการรักษา รวมทั้งการรักษาใหม่ๆ และการ พยากรณ์โรค ส�เหตุของ SE จากการศึกษาของ Tsai และคณะ ศึกษาสาเหตุของภาวะ SE ในผู้ป่วยใหม่ 83 ราย ดังตารางที่1

Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

99

Vol.6 No.3

รศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า

สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Management of Status Epilepticus in Adult

บทนำ� ภาวะ statusepilepticus (SE)คือภาวะ

ที่ชักต่อเนื่องนานมากกว่า 5 นาทีแล้วไม่หยุด

ชัก (practical definition) และถ้าภาวะSE ไม่

สามารถควบคุมให้หยุดชักได้ภายใน 1 ชั่วโมง

เรียกว่าภาวะrefractorySE(RSE)สิ่งที่น่าสนใจ

คือว่าทำาไมถึงเกิดภาวะSEและRSEเพราะการ

ชกัสว่นใหญจ่ะหยดุเองภายในเวลาไมน่านเกนิ3-5

นาทีการเกิดภาวะSEเนื่องมาจากความไม่สมดุล

ระหว่างกระบวนการยับยั้งและการกระตุ้นให้เกิด

ชักกล่าวคือกระบวนการกระตุ้นให้ชักมีมากกว่า

กระบวนการยับยั้งและถ้ากระบวนการดังกล่าว

เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องภาวะSEก็จะดำาเนินไปเป็น

RSEซึง่ไมต่อบสนองตอ่การรกัษาสง่ผลใหม้อีตัรา

การเสยีชวีติสงูจากการศกึษาหลายการศกึษารวม

ทั้งการศึกษาจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์ พบว่า

อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยstatusepilepticus

กรณีที่สามารถควบคุมการชักได้ภายใน1ชั่วโมง

หลงัจากเริม่มอีาการชกัมอีตัราการเสยีชวีติไมเ่กนิ

ร้อยละ10แต่ถ้าการชักนั้นไม่สามารถควบคุมได้

ภายใน1ชัว่โมงหรอืเกดิภาวะrefractorystatus

epilepticus จะมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ

50ดงันัน้การรกัษาSEนัน้ทีส่ำาคญัคอืการควบคมุ

การชักให้หยุดได้ภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังจากมี

อาการ

บทความนี้จะกล่าวถึงสาเหตุของSEกลไก

การเกิดภาวะSE,RSEปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด

RSEวธิการรกัษารวมทัง้การรกัษาใหม่ๆ และการ

พยากรณ์โรค

ส�เหตุของ SE จากการศึกษาของ Tsa i และคณะ

ศึกษาสาเหตุของภาวะSE ในผู้ป่วยใหม่ 83 ราย

ดังตารางที่1

Page 2: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

100

Vol.6 No.3

สาเหตุ จำานวน (ร้อยละ)

Acutesymptomatic 45(54.2)

CNSinfection 16

Sepsis,metabolicdisturbance 11

Stroke 9

Alcohol,drugrelate 5

Hypoxia 4

Remotesymptomatic 29(34.9)

Previousstroke 22

Headinjury 6

PreviousCNSinfection 1

Idiopathic 6(7.2)

Progressivesymptomatic 3(3.6)

Braintumor 2

CNSlupus 1

อีกหนึ่งการศึกษาที่รวบรวมสาเหตุของSE

ทั้งผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลมชักมาก่อนและผู้

ป่วยรายใหม่โดยAminoff และคณะ รายงาน

สาเหตุของภาวะSEดังตารางที่2

สาเหตุ จำานวน (ร้อยละ)

Anticonvulsantnoncompliance 29

Alcoholrelate 26

CNSinfection 8

Refractoryepilepsy 6

Trauma 6

Tumorrelated 6

Acutestroke 6

Metabolicdisorders 4

Acutehypoxicischemicencephalopathy 4

Undeterminate 6

ตารางที่ 1 แสดงสาเหตุของภาวะSEในผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติโรคลมชัก

ตารางที่ 2 แสดงสาเหตุของภาวะSE

Page 3: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

101

Vol.6 No.3

การศกึษาในประเทศโดยปยิะเดชวลพีทิกัษเ์ดชและสมศกัดิ์เทยีมเกา่พบสาเหตขุองSEดงัตาราง

ที่3และ4

ตารางที่ 3สาเหตุอาการชักต่อเนื่องรุนแรง(รพ.หนองคาย)

ปัจจัยทั้งหมด

(52 ราย)

เสียชีวิต (22 ราย)

(ร้อยละ 42.0)

รอดชีวิต (30 ราย)

(ร้อยละ 57.7)

Cerebralinfarction 18 8(36.3) 10(33.3)

CNSinfection 10 5(22.7) 5(16.6)

Systemicinfection 0 4(10.1) 1(3.3)

Hypertensiveencephalopathy 3 1(4.5) 2(6.6)

Uremia 3 1(4.5) 2(6.6)

Intracerebralhemorrhage 2 1(4.5) 1(3.3)

Subduralhematoma 2 1(4.5) 1(3.3)

Organnophosphatepoisoning 2 2(6.6)

Mushroompoisoning 1 1(3.3)

Hepaticencephalopathy 1 1(3.3)

Postcardiacarrest 1 1(4.5)

Compressionskullbone 1 1(3.3)

Obstructivehydrocephalus 1 1(3.3)

CNSvasculitis 1 1(3.3)

Electrolyte imbalance (hypona-

tremia)

1 1(3.3)

Page 4: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

102

Vol.6 No.3

ตารางที่ 4 สาเหตุของSE(รพ.ศรีนครินทร์)

Cause/precipitating causes จำานวน (ร้อยละ)

Acutesymptomatic 21(52.5)

Encephalitis 6(15)

Cerebralinfarction 3(7.5)

Meningitis 3(7.5)

Hypertensiveencephalopathy 2(5)

Headinjury 1(2.5)

Craniotomy 1(2.5)

Post-cardiacarrest 1(2.5)

Intracerebralhemorrhage 1(2.5)

Cerebralvenoussinusthrombosis 1(2.5)

Septicencephalopathy 1(2.5)

Remotesymptomatic 3(7.5)

Post-cerebralinfarction 1(2.5)

Post-headinjury 1(2.5)

Post-intracerebralhemorrhage 1(2.5)

AEDswithdrawal 10(25)

Alcoholrelated 6(15)

สาเหตุของRSEที่พบได้ไม่บ่อยได้แก่an-

ti-NMDAreceptorlimbicencephalitic,anti

-glutamate receptor limbic encephalitic,

paraneoplasticlimbicencephalitic,limbic

encephalitics,Hashimoto’s encephalopa-

thy,SLEและanti-glycolipidautoantibody

syndrome

กลไกก�รเกิดภ�วะ SE การเกิดการชักต่อเนื่องจากการเสียสมดุล

ระหว่างกระบวนการยับยั้งการชักและการกระตุ้

นการชักซึ่งโดยทั่วไปแล้วเมื่อเกิดการชักร่างกาย

จะมีกระบวนการหยุดชักภายใน 2-3 นาที แต่

ภาวะ SE คือการชักอย่างต่อเนื่องนานมากกว่า

5-10นาทีเนือ่งจากการลดลงของpost-synaptic

GABA-A receptor ในขณะเดียวกันมีการเพิ่ม

ขึ้นของ post-synaptic glutamatergic ส่งผล

Page 5: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

103

Vol.6 No.3

ให้เกิดการเสียหน้าที่ของ synaptic inhibition

ร่วมกับGABA-A receptor ไม่ตอบสนองต่อ

GABA-Aทีป่ลดปลอ่ยออกมาจากpre-synaptic

(desensitization)ซึ่งกระบวนการข้างต้นเกิดขึ้น

อย่างต่อเนื่องยิ่งส่งผลให้เกิดการชักอย่างต่อเนื่อง

กลไกก�รเกิดภ�วะ RSE ภาวะSEถ้าไม่รีบรักษาอย่างรวดเร็วหรือ

ภายใน1ชัว่โมงแรกกระบวนการยบัยัง้การชกักจ็ะ

เสยีไปเรือ่ยๆเนือ่งจากมกีารลดลงของGABA-A

receptor, desensitization และ การเคลื่อน

ย้ายของGABA-Areceptorsubunitบางชนิด

บริเวณ synapse (trafficking of GABA-A

receptors)นอกจากนี้ยังพบover-expression

ของ P-glycoprotein บริเวณ hippocampus

และ cortexการลดลงของGABA-Asubunit

alpha1,2,3,4,5,beta2/3และgamma2

ในส่วนของกระบวนการกระตุ้นการชัก

(excitation)ผา่นglutamatergicไดแ้ก่NMDA

(N-methyl-D-aspartate),AMPAและkinate

ซึ่งกระบวนการดังกล่าวข้างต้น 2 กระบวนการ

ดำาเนินการสวนทางกัน กล่าวคือ กระบวนการ

การยับยั้งสูญเสียหน้าที่ ไปเรื่อยๆ ในขณะที่

กระบวนการกระตุ้นกลับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องส่ง

ผลให้มีneuronalinjuryและneuronaldeath

ส่งผลให้เกิดภาวะRSE ในที่สุด สุดท้ายผู้ป่วยก็

จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่นmetabolic

acidosis, rhabdomyolysis และภาวะติดเชื้อ

เนือ่งจากผูป้ว่ยหมดสติไดแ้ก่ภาวะตดิเชือ้ในปอด

ภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะและภาวะติดเชื้อใน

กระแสเลือด

กลไกก�รดื้อย�ในภ�วะ SE การชกัสว่นใหญเ่มือ่ใหย้าหยดุชกักลุม่ben-

zodiazepineหรือยากันชักก็จะสามารถควบคุม

การชักให้หยุดชักได้ แต่ทำาไมในผู้ป่วย SEและ

RSE ถึงไม่ตอบสนองต่อยาที่ให้ จากการศึกษา

พบวา่เนือ่งจากมกีารเพิม่ขึน้ของP-glycoprotein

ในกรณีSEซึ่งP-glycoproteinจะทำาให้ยาผ่าน

เข้าbloodbrainbarrier(BBB)ลดลงและทำาให้

กระบวนการนำายาออกจากbloodbrainbarrier

สงูขึน้(enhancedBBBefflux)รวมกบัการลดลง

ของGABA-Areceptorsubunitข้างต้นส่งผล

ให้ควบคุมการชักได้ยากขึ้น เนื่องจากได้ยาแล้วก็

ไม่ตอบสนองจึงส่งผลให้เกิดภาวะ SE อย่างต่อ

เนื่องและดำาเนินสู่ภาวะRSE

Neurotransmitterทีเ่กีย่วขอ้งกบัการเกดิ

SEแสดงในตารางที่5

Page 6: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

104

Vol.6 No.3

ตารางที่ 5 InitiationandmaintenanceofSE

Initiators Blockers of initiation phase Blockers of maintenance phase

LowNa+,HighK+ Na+ channelblockers NMDAantagonists

GABAA antagonists GABA

Aagonists Tachykinin antago-

nists

Glutamate agonists : NMDA,AMPA,kainate,lowMg

o++,low

Ca++,stimulationofglutamater-gicpathways

NMDAantagonists,highMg++ Galanin

Cholinergicmuscarinic ago-nists,stimulationofmuscarinicpathway

AMPA/kainateantagonists Dynorphin

Tachykinins(SP,NKB) Cholinergicmuscarinicanta-gosists

Galaninantagonists SP,NeurokininBantagonists

Opiatedagonists Galatin

Opiatekantagonists SomatostatinNPYOpiatedagonistsDynorphin(kantagonists)

AMPA, Aa-amino-3hydroxy-5-methylisoxazole-4-propionicacid;g-aminobutyricacid;NKB,neurokininB;NMDA,N-methyl-D-asparate;NPY,neuropeptideY;SP,substanceP.

ปัจจัยทำ�น�ยก�รเกิด RSE ผู้ป่วยSEบางส่วนจะเกิดภาวะRSEโดย

พบบ่อยในผู้ป่วยmeningo-encephalitics,

hypoxic ischemicencephalopathy,sepsis

หรือผู้ป่วยที่ชักนานเกิน24ชั่วโมง,ชักชนิดnon

–convulsiveSEและผู้สูงอายุมากกว่า65ปีนาย

แพทย์ปิยะเดช วลีพิทักษ์เดช ได้ศึกษาปัจจัยที่มี

ผลต่อการเกิดRSEแสดงดังตารางที่6

Page 7: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

105

Vol.6 No.3

ตารางที ่6ปจัจยัทีม่ผีลตอ่พยากรณโ์รคภาวะชกัตอ่เนือ่งโดยวเิคราะหท์ลีะปจัจยั(univariateanalysis)

ปัจจัย OR 95%CI P-value

อายุ

มากกว่าหรือเท่ากับ65ปี 2.25 0.68-6.71 0.10

น้อยกว่า65ปี 1

เพศ

ชาย 1.25 0.40-4.03 0.672

หญิง 1

ระยะเวลาเริ่มการรักษา(Timetotreatment)

น้อยกว่าหรือเท่ากับ1ชั่วโมง 1.25 0.33-3.45 0.92

มากกว่า1ชั่วโมง 1

อาการชัก(Seizuretype)

Generalizedconvulsion(GC) - 0.23

Complexpartialseizure(CP) - 0.17

Simplepartialseizure(SP) 1

ระยะเวลาชักต่อเนื่อง(SEduration)

>24ชั่วโมง 6.75 1.68-32.05 0.002*

1-2ชั่วโมง 3.12 0.60-17.40 0.109

<1ชั่วโมง 1

ประวัติโรคลมชัก(Historyofepilepsy)

มี 0.009 0.00-0.69 0.008*

ไม่มี 1

การกลบัเปน็ซำา้ของภาวะชกัตอ่เนือ่ง(RecurrentSE)

มี 3.08 1.04-9.25 0.022*

ไม่มี 1

คะแนนGlasgowComaScore(GCS)

<5 30.40 3.82-13141.18 0.000*

5-10 7.50 0.71-369.14 0.046*

11-15 1

Page 8: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

106

Vol.6 No.3

หลักก�รรักษ� SE จากความรูด้า้นกลไกการเกดิSE,RSEและ

การดื้อยาหลักสำาคัญของการรักษาคือการรีบให้

ยาและแก้ไขปัจจัยกระตุ้นให้เร็วที่สุด เพราะจาก

การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิด RSE ได้แก่

ระยะเวลาทีเ่ริม่รกัษาหลงัจากเกดิการชกัการรกัษา

ตามแนวทางการรกัษาSEการแกไ้ขปจัจยักระตุน้

ตา่งๆเพือ่ลดระยะเวลาการชกักอ่นการควบคมุได้

ให้สั้นที่สุด

ดังนั้นแพทย์จึงควรให้มีการวินิจฉัย SE

อย่างรวดเร็วและเริ่มรักษาทันที โดยยึดตาม

แนวทางการรักษาอย่างเคร่งครัดดังรูปที่1

Page 9: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

107

Vol.6 No.3

ย�กันชักชนิดฉีดท�งหลอดเลือดดำ� ยากนัชกัชนดิฉดีทางหลอดเลอืดดำาทีแ่พทย์

ใช้บ่อยในปัจจุบันได้แก่phenytoin,phenobar-

bitalและsodiumvalproateประสิทธิภาพของ

ยาดังกล่าวเป็นที่ทราบกันดีว่ามีประสิทธิภาพดี

จากประสบการณ์ของผู้เขียนมีข้อสังเกตว่าแพทย์

ส่วนใหญ่ยังมีความไม่มั่นใจในวิธีการใช้ยา เช่น

ขนาดของยาที่loadingการmaintenance:ขอ

สรุปดังนี้

1.ยาphenytoin ขนาด loadingdose

15-20มก./กกผสมใน0.9NSSอัตราเร็วไม่เกิน

50มก./นาทีถา้ผูป้ว่ยไมห่ยดุชกัใหซ้ำา้ไดอ้กีขนาด

ยาสูงสุดในการloadingไม่เกิน30มก./กก./วัน

เมื่อ loading แล้ว ควรเริ่มให้maintenance

dose หลังจาก loading dose ประมาณ 6-8

ชั่วโมงการให้ยาmaintenanceสามารถให้ได้ทั้ง

แบบ300มก./วันวันละครั้งหรือ100มก.ทุก8

ชัว่โมงกไ็ด้ใหผ้ลการรกัษาไมแ่ตกตา่งกนัและเมือ่

ผู้ป่วยอาการดีขึ้นเริ่มให้อาหารเหลวได้ ก็สามารถ

ให้ยา phenytoin suspension ได้ ที่ต้องระวัง

ในการให้ยา phenytoin suspension ในผู้ป่วย

ที่ให้อาหารเหลวคือต้องให้ยาและอาหารห่างกัน

อย่างน้อย2ชั่วโมง เพราะยาphenytoinจะจับ

กับโปรตีนสูงมากส่งผลให้ระดับยาในเลือดตำ่าไม่

สามารถควบคุมอาการชักได้

ในปัจจุบันในบางโรงพยาบาลมีการนำายา

fosphenytoin มาใช้ ยาดังกล่าวมีข้อดีกว่ายา

phenytoinหลายประการคือ สามารถให้ยาได้

ดว้ยความเรว็ถงึ150มก./นาทีสามารถใหไ้ดด้ว้ย

การฉดีเขา้ทางกลา้มเนือ้และผลแทรกซอ้นตำา่กวา่

จะไมข่อกลา่วโดยละเอยีดเพราะโรงพยาบาลสว่น

ใหญ่ยังไม่มียาชนิดนี้ใช้

2.ยา phenobarbital ขนาด loading

dose 20 มก./กก. ผสมใน 5 D/W อัตราเร็ว

ประมาณ100-150มก./นาทีถ้าผู้ป่วยยังมีอาการ

ชกัอกีสามารถใหไ้ดอ้กีทกุๆครัง้ทีช่กั(veryhigh

dosephenobarbital)การmaintenancedose

ควรเริ่มให้หลังจาก loadingdoseประมาณ12

ชั่วโมง ขนาดของmaintenanceประมาณ300

มก./วนัใหว้นัละ1ครัง้โดยการผสมใน5%dex-

trosewater100ซซีีใหม้างหลอดเลอืดดำาภายใน

1-2 ชั่วโมง และถ้าผู้ป่วยอาการดีขึ้นสามารถลด

ขนาดยาลงได้เหลือ180มก./วันในผู้ใหญ่

3. ยาsodiumvalproateขนาดloading

dose 20-25มก./กก. ให้ในระยะเวลาประมาณ

20-30นาทีถ้าผู้ป่วยยังมีอาการชักสามารถให้ซำ้า

ได้อีก2-3ครั้งขนาดสูงสุดในการ loadingอาจ

สูงถึง140มก./กก.การmaintenancedoseใช้

ยาขนาดเดียวกันโดยมีวิธีการให้2แบบคือแบบ

ต่อเนื่อง24ชั่วโมงหรือแบ่งเป็น2ครั้ง/วันโดย

เริม่ใหย้าmaintenance6-8ชัว่โมงหลงัloading

doseส่วนใหญ่นิยมให้ยาแบบต่อเนื่องทั้งวัน

ส่วนการรักษา RSE นั้นมียากันชักให้ใช้

หลายชนิด ดังแผนรูปที่ 1 แต่ผลการรักษาส่วน

ใหญ่ได้ผลไม่ดี ด้วยเหตุผลที่กล่าวแล้วข้างต้น

เมือ่ผูป้ว่ยสามารถควบคมุการชกัไดแ้ลว้24ชัว่โมง

ตอ้งคอ่ยๆลดขนาดยากนัชกัชนดิทีใ่หใ้หมห่ลงัสดุ

Page 10: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

108

Vol.6 No.3

นอกจากแนวทางการรักษาข้างต้นแล้ว ยัง

พบว่ามีการรายงานถึงการรักษาภาวะSEด้วยวิธี

ต่างๆดังนี้

1. Highdoseoralphenobarbitalload-

ingในผู้ป่วยRSE

2. Non-parenteral lacosamide ในผู้

ป่วยRSE

3. Oralpregabalinadd-onในผูป้ว่ยSE

4. Oraltopiramateในผู้ป่วยRSE

5. Ketogenicdietในผูป้ว่ยsevereRSE

6. การรักษาด้วยmagnesiumในผู้ป่วย

RSEจากPOLG-1mutation

7. การรักษาด้วย electroconvulsive

therapy(ECT)

8. การรักษาด้วยmusictherapyผู้ป่วย

refractoryNCS

9.การรักษาด้วยยา levetiracetam

ชนิดIVform

คุณสมบัติของยากันชักที่เหมาะสมในการ

รักษาSEแสดงดังตารางที่7

ตารางที่ 7 Idealintravenousantiepilepticdrug(AED)characteristic

DZP LZP PHT FosPHT PB VPA LEV

Easeofadministration X X X X X X

Rapidonsetofaction X X X X X* ?

Intermediatetolongduration X X X X X X

Broadspectrum X X X X X

Minimalmorbility X X X

UsefulasmaintenanceAED X X X X X

i.v.solutioncompatibility X X X

DZP,diazepam;Fosphenytoin;i.v.,itravenous;LEV,levetiracetam;LZP,lorazepam;PB,

Phenobarbital;PHT,phrnytoin,VPA,valproate.*Basedonanimalstudiesandlimitedclinicalobservations.

Page 11: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

109

Vol.6 No.3

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการรักษาผู้ป่วย

SEได้แก่การวินิจฉัยล่าช้าการส่งผู้ป่วยไปตรวจ

CTscanbrainในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชักการ

ให้ยาผิดขนาด ให้ยาผิดวิธี ให้ยาด้วยอัตราเร็วที่

ช้าเกินไปผสมยาphenytoinใน5%dextrose

water และการไม่ได้ให้ยาmaintenance อีก

ประเด็นหนึ่งที่สำาคัญคือการประเมินผู้ป่วยว่า

ควบคุมอาการชักได้หรือไม่ ถ้าดีที่สุดต้องตรวจ

คลื่นไฟฟ้าสมอง เพราะผู้ป่วยบางรายเกิดภาวะ

non-convulsive seizure status epilepticus

แตโ่รงพยาบาลสว่นใหญไ่มม่เีครือ่งมอืดงักลา่วจงึ

ต้องอาศัยการดูแลและสังเกตุผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด

สังเกตุว่าผู้ป่วยมีการกระตุกของแขนขา ใบหน้า

หรอืตามีnystagmusหรอืไม่ดงันัน้ในทางปฏบิตัิ

เมื่อมีผู้ป่วย SE ในโรงพยาบาลชุมชนควรส่งตัว

เพื่อรับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลจังหวัดปัญหา

ทีส่ำาคญัอกีขอ้หนึง่คอืโรงพยาบาลชมุชนไมม่ยีากนั

ชักชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำา ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่

ได้รับการรักษาที่เหมาะสมตั้งแต่ต้นส่งผลให้การ

รกัษาSEในประเทศไทยมกีารพยากรณโ์รคทีไ่มด่ี

สรุป กลไกการเกดิRSEเนือ่งจากการเสยีสมดลุ

ของกระบวนการยับยั้งการชักและกระบวนการ

กระตุ้นการชักอย่างต่อเนื่องจนเกิดการดื้อต่อยา

ทีใ่ช้รักษาการรีบให้การวินิจฉัยและรักษาภาวะSE

อย่างเร่งด่วนและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด จะลด

โอกาสการเกดิRSEและลดอตัราการเสยีชวีติลงได้

บรรณ�นุกรม1. ปยิะเดชวลพีทิกัษเ์ดช.Prognosisandpre-

dictorsofstatusepilepticusinNongkai

hospital.North-EasternThaiJournalof

Neuroscience.2010;5:141-53.

2. AbendNS,DlugosDJ. Treatment of

refractorystatusepilepticus:literature

reviewandaproposedprotocol.Pediatr

Neurol2008;38:377-390.

3. AganK,AfsarN,MidiI,etal.Predictiors

ofrefractorinessinaTurkishstatusepi-

lepticusdatabank.Epilepsy&Behavior

2009;14:651-4.

4. ArandaA,FoucartG,DucasseJL,etal.

Generalizedconvulsive status epilep-

ticusmanagementinadults:Acohort

studywith evaluation of professional

practice.Epilepsia2010;-:1-9.

5. BankstahlPJ,HoffmannK,Bethmann

K,etal.Glutamateiscriticallyinvolved

in seizure-indued overexpression of

P-glycoproteininthebrain.Neurophar-

macology2008;54:1006-16.

6. Bankstahl PJ, LoscherW.Resistance

to antiepileptic drug and expression

ofP-glycoproteinintworatmodelsof

status epilepticus.EpilepsyResearch

2008;82:70-85.

Page 12: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

110

Vol.6 No.3

7. BethmannK,FritschyMJ,BrandtC,et

al.Antiepilepticdrugresistantratsdif-

ferfromdrugresponsiveratsinGABAA

receptorsubunitexpressioninamodel

oftemporallobeepilepsy.Neurobiology

ofDisease2008;31:169-87.

8. BleckTP,MDFCCM .Less common

etiologiesofstatusepilepticus.Current

reviewinclinicalscience.Epilepsycur-

rents2010;10:31-3.

9. ChakirA, Fabene PF,Ouazzani R, et

al. Drug resistance and hippocampal

damage after delayed treatment of

pilocarpine-inducedepilepsyintherat.

BrainResearchBullentin2006;71:127-38.

10. ClaassenJ,HirschJL,EmersonGR,et

al.Treatmentofrefractorystatusepi-

lepticuswithpentobarbital,propofol,or

midazolam:Asystemicreview.Epilep-

sia2002;2:146-53.

11. CooperDA,BrittonWJ,RabinsteinAA.

Functional andcognitive outcome in

prolongedrefractorystatusepilepticus.

ArchNeurol2009;12:1505-9.

12. DeshpandeSL,BlairER,NagarkattiN,et

al.Developmentofpharmacoresistanceto

benzodiazepinesbutnotcannabinoidsin

thehippocampalneuronalculturemodel

ofstatusepilepticus.ExperimentalNeu-

rology2007;204:705-13.

13. DrislaneWF,BlumSA,LopezRM,et

al.Durationofrefractorystatusepilep-

ticusandoutcome: lossofprognostic

utility after several hours.Epilepsia

2009;6:1566-71.

14. GoodkinPH,Kapur J. The impact of

diazepam’sdiscoveryonthetreatment

andunderstandingof status epilepti-

cus.Epilepsia2009;9:2011-8.

15. JandeHaanG,VanderGeestP,Doel-

manG,et al. A comparison ofmid-

azolamnasalsprayanddiazepamrectal

solution for the residential treatment

of seizure exacerbations. Epilepsia

2010;3:478-82.

16. Jimenez-Mateos ME, Hatazaki S,

JohnsonBM,etal.Hippocampaltran-

scriptome after status epilepticus in

micerenderedseizuredamage-tolerant

by epilepticpreconditioning features

suppresses calciumandneuronal ex-

citability pathways.Neurobiology of

Disease2008;32:442-53.

17. Kalita J,Nair PP,MisraKU.A clini-

cal,radiologicalandoutcomestudyof

statusepilepticusfromIndia.JNeurol

2010;257:224-9.

18. KamelH,CornesBS,HegdeM,etal.

Electroconvulsive therapy for refrac-

Page 13: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

111

Vol.6 No.3

torystatusepilepticus:Acaseseries.

Neurocritcare2010;12:204-10.

19. KuesterG,RiosL,OrtizA,etal.Effectof

musicontherecoveryofapatientwith

refractorynonconvulsivestatusepilep-

ticus.Epilepsy&Behavior2010;18:491-3.

20. MeierkordH,BoonP,EngelsenB.EFNS

guidelineonthemanagementofstatus

epilepticusinadults.EuropeanJournal

ofNeurology2010;17:348-55.

21. NabboutR,MazzucaM,HubertP,et

al.Efficacyofketogenicdietinsevere

refractory status epilepticus initiat-

ing fever induced refractory epileptic

encephalopathyinschoolagechildren

(FIRED).Epilepsia2010;10:2033-7.

22. Naylor ED, Lin H, Wasterlain GC.

Trafficker ofGABAA receptors, loss of

inhibition,andamechanismforpharma-

coresistanceinstatusepilepticus.The

JournalofNeuroscience2005;34:7724-33.

23. NaylorED,WasterlainGC.GABAsyn-

apsesandtherapidlossofinhibitionto

dentategyrusgranulecellsafterbrief

perforant-path stimulation. Epilepsia

2005;suppl.5:142-7.

24. NovyJ,LogroscioG,RossettiOA,etat.

Refractory status epilepticus :Apro-

spectiveobservationalstudy.Epilepsia

2010;2:251-6.

25. NovyJ,RossettiAO.Oralpregabalinas

anadd-ontreatmentforstatusepilep-

ticus.Epilepsia2010;10:207-10.

26. PapavasiliouAS,KotsalisC,Paraskev-

oulakosE,etal.Intravenousmidazolam

inconvulsivestatusepilepticusinchil-

drenwithpharmacoresistantepilepsy.

Epilepsy&Behavior2009;14:661-4.

27. PekcecA,UnkruerB, SteinV, et al.

Over-expression of P-glycoprotein in

thecaninebrainfollowingspontaneous

status epilepticus.EpilepsyResearch

2009;83:144-51.

28. RathakrishnanR,Wilder-SmithEP.New

Onser Refractory Status Epilepticus

(NORSE). Journal of theNeurological

Sciences2009;284:220-1.

29. SilveiraVG,PaulaCognatoG,Muller

AP, et al. Effect of ketogenicdiet on

nucleotide hydrolysis and hepatic

enzymes in blood serumof rats in a

lithium-pilocarpine-inducedstatusepi-

lepticus.MetabBrainDis2010;25:211-7.

30. SinhaS, PrashanthaDK,Thennarasu

K, et al. Refractory status epileptics

:A developing country perspective.

Journal of theNeurological Science

2010;290:60-65.

Page 14: Vol.6 No - · PDF fileคือว่าทำาไมถึง ... จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic acidosis

112

Vol.6 No.3

31. TiamkaoS,JitpimolmardS,Chotmong-

kolV.StatusepilepticusinSrinagarind

hospital.SrinagarindMedJ1997;12:64-8.

32. TiamkaoS,ChitravasN,Jitpimolmard

S,SawanyawisuthK.Appropriateness

ofintravenousloadingdoseofphenyt-

ointreatmentinSrinagarindHospital.

JMedAssocThai2005;88:1638-41.

33.TiamkaoS,MayurasakornN,SukoP,

etal.Veryhighdosephenobarbitalfor

refractory status epilepticus. JMed

AssocThai2007;90:2597-600.

34. Tiamkao S. Currentmanagement of

statusepilepticus.ThaiJournalofPhar-

macology2552;31:20-5.

35.TiamkaoS,SawanyawisuthK.Predictors

andprognosis of status epilepticus pa-

tients treatedwith intravenoussodium

valproate.EpilepticDisord2009;11:228-31.

36.TiamkaoS,SukoP,MayurasakornN,

etal.Outcomeofstatusepilepticusin

srinagarindhospital.JMedAssocThai

2010;93:420-3.

37. TilzC,ReschR,HoferT,etal.Success-

fultreatmentforrefractoryconvulsive

status epilepticus by non-parenteral

lacosamide.Epilepsia2010;2:316-7.

38. TsaiM-H,ChuangY-C,ChangH-W,et

al.Factorspredictiveofoutcomeinpa-

tientswithdenovostatusepilepticus.

QJMed2009;102:57-62.

39. UllalG,FahnestockM,RacineR.Time-

dependent effect of kainate-induced

seizuresonglutamatereceptorgluR5,

gluR6,andgluR7mRNAandproteinex-

pressioninrathippocampus.Epilepsia

2005;5:616-23.

40. VisserNA,BraunKPJ , Leijten FSS.

Magnesiumtreatmentforpatienswith

refractory status epilepticus due to

POLG1-mutations.JNeurol2010;Aug

29.[Epubaheadofprint]

41. WasterlainCG,ChenJamesWY.Mech-

anisticandpharmacologicaspectsof

status epilepticus and its treatment

withnewantiepilepticdrugs.Epilepsia

2008;suppl.9:63-73.

42. WhelessJW,TreimanDM.Theroleofthe

newerantiepilepticdrugs in thetreat-

ment of generalized convulsive status

epiletics.Epilepsia2008;suppl.9:74-8.

43. WilmshurstJM,VanderWaltJS,Ack-

ermannS,etal.Rescuetherapywith

high-dose oral phenobarbitone load-

ing for refractory status epilepticus.

JournalofPaediatricsandChildHealth

2010;46:17-22.