20

Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

  • Upload
    -

  • View
    230

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

2nd Asian Regional Public Debt Management Forum Phuket, Thailand

Citation preview

Page 1: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554
Page 2: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

พระบรมราโชวาท

㹡Òû Ô̄ºÑμ ÔÃÒª¡ÒùÑé¹¢ÍãËŒ·Ó˹ŒÒ·Õèà¾×èÍ˹ŒÒ·Õè Í‹ҹ֡¶Ö§ºÓà˹ç¨ÃÒ§ÇÑÅËÃ×ͼŻÃÐ⪹ �ãËŒÁÒ¡ ¢ÍãËŒ¶×ÍÇ‹Ò¡Ò÷Ó˹ŒÒ·Õèä´ŒÊÁºÙó�໚¹·Ñé§ÃÒ§ÇÑÅ

áÅлÃÐ⪹�Í‹ҧ»ÃÐàÊÃÔ° ¨Ð·ÓãËŒºŒÒ¹àÁ×ͧä·Â¢Í§àÃÒÍÂÙ‹àÂç¹à»š¹ÊØ¢áÅÐÁÑ蹤§

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกขาราชการพลเรือน

เนื่องในโอกาสวันขาราชการพลเรือน พุทธศักราช ๒๕๓๓ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

วันที่ ๑๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๓

Page 3: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

ขาวประชาสัมพันธ จากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ในการชำระคืนหน้ีเงินกู ตปท. ของรัฐบาลอยางไร ? สบน. มีแนวทางปฏิบัติ 10

ÊÒèҡºÃÃ³Ò Ô̧¡Òà ชวงกลางเดือนมีนาคม 2554 ที่ผานมา

สำนักงานบริหารหนี้ สาธารณะ (สบน . ) ได ร วมกับธนาคารพัฒนาเอเ ชีย (As ian D e v e l o p m e n t B a n k ห รื อ A D B ) จัดการประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum คร้ัง ท่ี 2 ที่ โ ร ง แ ร ม L a g u n a B e a c h R e s o r t จังหวัดภูเ ก็ต โดยมีผู เขารวมประชุมจากสำนักงานบริหารหน้ีจากประเทศตางๆ ในภูมิภาคเอเชียรวมถึงประเทศพัฒนาอื่นๆ และองคกรระหวางประเทศ จำนวนกวา 1 5 0 คน เ พ่ื อ ส ร า ง ค ว าม สั มพั น ธ อั น ดี ระหวาง Debt Managers อีกท้ังยังไดรวมแลก เปลี่ ย นความคิดและประสบการณแนวทางการบริหารจัดการหน้ีในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ นับไดวาการจัดการประชุมครั้งนี้ประสบความสำเ ร็จ เปนอยาง ดี

สบน. ตองขอขอบคุณหนวยงานตางๆ ที่ ร วมสนับสนุนการ จัดการประ ชุมครั้ ง น้ี ใหสำเร็จลุลวงไปได โดยวารสารหน้ีสาธารณะ เลมนี้จะมีรูปบรรยากาศในการประชุมดวย

สิริภา สัตยานนท ผูอำนวยการสวนความรวมมือระหวางประเทศ สำนักนโยบายและแผน

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) วิสัยทัศน: เปนมืออาชีพในการบริหารหน้ีสาธารณะ เพ่ือการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืน พันธกิจ: บริหารหน้ีสาธารณะตามกฎหมายวาดวยการบริหารหน้ีสาธารณะ โดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการกอหนี้ ค้ำประกัน และปรับโครงสรางหน้ีของรัฐบาล หนวยงานในกำกับดูแลของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้ง การชำระหน้ีของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพ่ือใหการบริหารหน้ีสาธารณะเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และเสริมสรางความย่ังยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ

วารสารหน้ีสาธารณะ จัดทำโดยสำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ สังกัดกระทรวงการคลัง เพ่ือเผยแพรแกประชาชนท่ัวไป

ÊÒúÑÞ

Asian Regional Public Debt Management Forum ครัง้ที ่2

ผลการประชุม 2

6

ดับความโกรธเพราะ “วาจา” เพ่ือชีวิตท่ีเปนสุข

ธรรมะกับการงาน 16

HOBS (House of Beers) มุมอรอย 13

กรอบติดตามและประเมินผลโครงการภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555

7

สถานะของหน้ีสาธารณะ ณ วันท่ี 31 มกราคม 2554 สถานะของหน้ีสาธารณะ 14

3 แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 กลยุทธการระดมทุน

Page 4: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

2

¼Å¡ÒûÃЪØÁ ¼Å¡ÒûÃЪØÁ Asian Regional Public Debt Management Forum ¤ÃÑ駷Õè 2 Asian Regional Public Debt Management Forum ¤ÃÑ駷Õè 2

สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะและธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ไดรวมเปนเจาภาพจัดการประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum คร้ังท่ี 2 ในระหวางวันที่ 16-18 มีนาคม 2554 ณ โรงแรม Laguna Beach Resort จังหวัดภูเก็ต โดยการประชุมคร้ังนี้มีผูบริหารจากหนวยงานดานการบริหารหน้ีสาธารณะจากประเทศในภูมิภาคเอเชียและยุโรป รวม 46 ประเทศ และ ผูแทนจากสถาบันการเงินระหวางประเทศและภาคเอกชน ไดแก องคการความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปุน ADB ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหวางประเทศ และบริษัท Standard & Poor’s เปนตน เขารวมท้ังสิ้นประมาณ 150 คน

การประ ชุม As ian Reg iona l Pub l i c Deb t Management Forum ในคร้ังนี้ไดรับความสำเร็จเปนอยางมาก

โดยผูเขารวมประชุมไดหารือ แลกเปล่ียนองคความรู และประสบการณในการบริหารหน้ีสาธารณะอยางกวางขวาง ตลอดระยะเวลา 3 วัน และมีทิศทางอันดีในการท่ีจะทำใหเกิด

ความรวมมือจากหนวยงานดานการบริหารหน้ีสาธารณะท้ังในภูมิภาคเอเชียตลอดจนภูมิภาคอ่ืนๆ ในการท่ีจะรวมกันบริหารจัดการหน้ีสาธารณะทั้งในเวลาที่เกิดวิกฤติหรือเวลาปกติ โดยสาระสำคัญของการประชุมคร้ังนี้สรุปไดวา ถึงแมประเทศในกลุมเอเชียไดรับผลกระทบจากวิกฤติการเงินโลก แตก็สามารถ

ปรับตัวรับมือไดอยางคอนขางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ดี มีขอสัง เกตวา กระแสเ งินทุนที่ ไหลเขา -ออกอยางเสรี การจัดการอัตราแลกเปล่ียน และนโยบายการเงิน อาจสงผลใหการดำเนินนโยบายของรัฐบาลและบริหารหน้ีสาธารณะ

มีความทาทายมากข้ึน โดยประเทศตางๆ ไดหันมากูเงินจากตลาดตราสารหน้ีในประเทศมากข้ึน มีการพัฒนาผลิตภัณฑตราสารหนี้ใหมๆ เพื่อขยายฐานนักลงทุน โดยแนวทางใน การบริหารหนี้สาธารณะใหมีประสิทธิภาพ ไดแก (1) มีกรอบกฎหมายและกรอบการดำเนินการท่ีเอื้อใหการบริหารหนี้เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งหลายประเทศไดแสดงความสนใจสอบถามเก่ียวกับการกำหนดใหรัฐบาลสามารถออกพันธบัตรเพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของประเทศไทยเปนอยางมาก โดยเห็นวามีประโยชนในการพัฒนาตลาดทุนเพื่อรองรับ การระดมทุนและลดตนทุนในการกูเงินของประเทศในระยะยาว

(2) พัฒนาความสามารถในการดำเนินงานอยางตอเนื่อง อาทิ มีการอบรมใหความรูแกเจาหนาท่ีใหมีความชำนาญเพียงพอ

(3) พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศใหสามารถรองรับ ความตองการระดมทุนทีเ่พิม่ข้ึนในอนาคตไดอยางมีประสิทธภิาพ (4) มีการบริหารความเส่ียงท่ีเหมาะสม โดยการพัฒนา แบบจำลองใหเหมาะสมกับความตองการของแตละประเทศ

การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานขอมูลใหสอดคลองกับ การใชงาน การประมาณการภาวะตลาดและภาวะเศรษฐกิจ ใหมีความแมนยำ เปนตน และ (5) มีระบบการบันทึกและติดตามภาระผูกพันท่ีมีประสิทธิภาพ ทั้งภาระผูกพันท่ีเปดเผย (Explicit Contingent Liabilities) เชน การค้ำประกันของ

รัฐบาลในการกูยืมเงิน และการค้ำประกันเงินฝากใหธนาคารพาณิชย เปนตน และภาระผูกพันแฝง (Implicit Contingent Liabilities) เชน การเขาชวยเหลือสถาบันการเงินในชวงวิกฤติ และการบรรเทาความเสียหายท่ีเกิดจากภัยธรรมชาติ เปนตน

รานี อิฐรัตน เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

Page 5: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

33

กุลกานต อรามทอง เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

¡ÅÂØ·¸ �¡ÒÃÃдÁ·Ø¹ á¼¹»¯ÔºÑμÔ¡ÒÃä·ÂࢌÁá¢ç§ 2555

ความเปนมาของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโลกหดตัวอยางรุนแรงเม่ือป 2551

เศรษฐกิจไทยได รับผลกระทบท้ังในภาคการสงออก การผลิต การบริโภค การทองเที่ยว และการลงทุนของภาคเอกชน โดย ในไตรมาสสุดทายของป 2551 เศรษฐกิจไทยหดตัวรอยละ 4.3 ซึ่ง จากปญหาวิกฤตกิารณดังกลาวทำใหธรุกิจตองปดตัวลงเปนจำนวนมาก โดยมีแนวโนมวาอัตราการเลิกจางจะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหเกิดปญหาการวางงานเพิ่มข้ึน นอกจากน้ี ยังสงผลใหการจัดเก็บรายไดของรัฐบาลต่ำกวาท่ีไดประมาณการไวเปนอยางมาก ซึ่งสงผลกระทบตอฐานะการคลัง รายไดของรัฐบาล และความสามารถในการใชจายและการจัดทำบริการสาธารณะของรัฐ รัฐบาลจึงตองกลับมาพ่ึงพา การใชจายภายในประเทศท้ังในสวนของการบริโภคและการลงทุน

เปนหลัก รัฐบาลจึงจำเปนตองกระตุนการลงทุนโดยการเพิ่มการใชจายการลงทุนของภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุนในสวนที่เปนโครงการโครงสรางพ้ืนฐานดานบริการสาธารณะเปนสำคัญ เพื่อเปนการเพ่ิมแรงกระตุนทางเศรษฐกิจของประเทศใหเติบโต โดยจัดทำ “แผนฟนฟูเศรษฐกิจระยะท่ี 2 (Stimulus Package II : SP2) หรือแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555” วงเงนิรวม 1,309,655 ลานบาท โดยการลงทุนตางๆ ตามแผนปฏิบัตกิารไทยเขมแข็ง 2555 ไดมุงเนนการกระจายการลงทุน

ไปสูชนบทท่ัวประเทศ ซึ่งจะไปสรางงานสรางรายไดใหแกประชาชนอยางทั่วถึง โดยจะทำใหการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเริ่ม ฟนตัวขึ้น ซึ่งสุดทายก็จะทำใหระบบเศรษฐกิจฟนตัวไดในท่ีสุด

แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 เปน

การลงทุนในโครงการพ้ืนฐานในสาขาตางๆ ที่จำเปนตองเรงดำเนินงาน เพื่อสรางการจางงานและ ยกระดับคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนในพ้ืนที่ตางๆ ทั่วประเทศ และสามารถกระทำไดทันที ซึ่งไดแก การพัฒนาแหลงน้ำและระบบชลประทานขนาดกลางและขนาดเล็ก การพัฒนาระบบถนนในชนบท การพัฒนาและปรับปรุงสถานีอนามัยและโรงเรียน

ขนาดเล็กในทองถิ่นและชนบท โดยควบคูไปกับ การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญท่ี

จำเปนตอการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในระยะยาว เชน ระบบขนสงมวลชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมท้ัง

การพัฒนาระบบขนสงมวลชนทางราง ทั้งนี้ รัฐบาลมิไดมุงเนนเฉพาะการลงทุนในโครงการขนาดใหญเทานั้น แตยังคงใหความสำคัญแกโครงการลงทุนขนาดกลางและขนาดเล็กท่ี มีพื้นที่การดำเนินโครงการกระจายไปท่ัวประเทศ ดังนั้น การดำเนิน

โครงการตางๆ จึงเปนเรื่องเรงดวน ซึ่งหากสามารถดำเนินการไดยอมแกไขปญหาวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศไทยไดอยางทันทวงที

Page 6: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

4

ที่มา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ (2554)

กลยุทธการระดมทุนของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555

สัดสวนการลงทุนในสาขาตางๆ ของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 (1,309,655 ลานบาท)

อ่ืนๆ 21%

ขนสง 29%

ทรัพยากรน้ำ และการเกษตร

18%

การลงทุน ในระดับชุมชน 11%

สาธารณสุข 7%

ประกันรายไดเกษตรกร 3%

แหลงเงินสำหรับสนับสนุนการดำเนินโครงการภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็งจะมาจากหลายแหลงเงิน เชน เงินงบประมาณประจำป เงินกูตามกฎหมายปกติ (พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548) และอ่ืนๆ โดยจะมีแหลงเงินจากการกู เงินในประเทศ ของรัฐบาลเปนหลักผานกฎหมายพิเศษ (พระราชกำหนดใหอำนาจกระทรวงการคลังกู เงินเพื่อฟนฟูและเสริมสราง ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552) เนื่องจากโครงการ

ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สวนใหญ เปนโครงการท่ี มีสัดสวนการซื้อ สินคาและบริการจาก ในประ เทศ โดยจากการประมาณการของธนาคาร แหงประเทศไทยในขณะน้ันพบวา สภาพคลองของระบบ การเงินในประเทศยังคงมีอยูคอนขางสูง และเพียงพอที่จะสามารถรองรับการระดมทุนของรัฐบาลภายใตแผนปฏิบัติการ

ไทยเขมแข็ง 2555 ในชวงปงบประมาณ 2553-2555 ได สำหรับรูปแบบการกูนั้นจะเปนการกูเงินโดยการออกตราสาร

เพื่อกูเงินจากประชาชนท้ังในรูปแบบของตราสารการกูเงินระยะส้ันและตราสารระยะยาว อาทิ การออกพันธบัตร ออมทรัพย ทั้ งนี้ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการ

ในการลงทุนของประชาชนและนักลงทุนในแตละกลุม โดยเฉพาะในขณะนั้นท่ีอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ำมากและประชาชนในกลุมผูเกษียณอายุและผูสูงอายุไดรับ

ผลกระทบจากรายไดที่ลดลง ดังนั้น จากการท่ีอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ลดลงสงผลใหประชาชนจะเขามาลงทุนในพันธบัตรออมทรัพยของรัฐบาล ซึ่งเปน การลงทุนที่ปลอดภัยสูงโดยไดรับอัตราดอกเบ้ีย ที่เหมาะสม

Page 7: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

55

แหลงระดมทุนของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 แบงออกเปน 2 กลุมหลัก ดังน้ี กลุมที่ 1 โครงการลงทุนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน : ประกอบดวย โครงการลงทุนภายใต

โครงการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน วงเงินลงทุนจำนวน 1,088,776 ลานบาท จะมีความตองการแหลงเงินลงทุนหลักจากพระราชกำหนดใหอำนาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ในวงเงิน 350,000 ลานบาท นอกจากนี้ จะมีการใชงบประมาณประจำปรวมท้ังเงินกูทั้งจากในประเทศและตางประเทศเพ่ือสนับสนุนการดำเนินโครงการดังกลาวดวย ทั้งนี้ โครงการลงทุนในกลุมท่ี 1 ประกอบดวย โครงการภายใตสาขาบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร สาขาขนสงทางถนน ราง สาขาการศึกษา สาขาสาธารณสุข สวัสดิภาพประชาชน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โครงการ สรางพื้นฐานเพื่อการทองเที่ยว พัฒนาการทองเที่ยว เศรษฐกิจสรางสรรค และการลงทุนในระดับชุมชน

ในปจจุบันสำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ (สบน.) ไดดำเนินการกูเงินภายใตพระราชกำหนดใหอำนาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ผานเครื่องมือทางการเงินตางๆ ไดแก สัญญากูเงิน (Bank Loan) อายุ 2 ป วงเงิน 150,000 ลานบาท และอายุ 4 ป วงเงนิ 200,000 ลานบาท เพื่อใหสอดคลองกับความตองการใชจายเงินของโครงการ และ สบน. ไดมีการบริหารความเส่ียงจากการกูเงิน ดังกลาว โดยการยืดอายุเฉลี่ยของหน้ีที่จะครบกำหนดชำระ (Averaged Time to Maturity : ATM) ดวยการปรับโครงสรางหน้ีผานการออกพันธบัตรออมทรัพยอายุ 6 ปและ 15 ป และต๋ัวสัญญาใชเงินอายุ 12 ปและ 18 ป ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

กลุมท่ี 2 โครงการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่รัฐวิสาหกิจรับภาระการลงทุนเอง : ประกอบดวย โครงการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในสาขาพลังงาน สาขาการส่ือสาร และโครงการลงทุนในสาขาการขนสงบางสวน วงเงินลงทุน 220,879 ลานบาท โดยมีแผนการระดมทุนจากรายไดของรัฐวิสาหกิจเปนหลัก และมีการกูเงินจากในประเทศและตางประเทศเพื่อสมทบ การลงทุนดวย นอกจากน้ี รัฐบาลยังสนับสนุนการใหเอกชนเขามารวมลงทุนในรูปแบบ PPPs

อ่ืนๆ 459,000

พ.ร.ก. 350,000

SOEs 198,000

งปม. 146,000

พ.ร.บ.หนี้ฯ 134,000

PPPs 23,000

สรุป จากปญหาวิกฤติเศรษฐกิจโลกที่สงผลกระทบตอ

เศรษฐกิจไทย ภาครัฐบาลจึงเปนกลไกท่ีสำคัญในการลด ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนและฟนฟูเศรษฐกิจใหกลับสูสภาพปกติโดยเร็ว โดยการออกมาตรการกระตุนการลงทุนภายใน

ประเทศหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่มุงเนนการลงทุนในโครงการขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และมีพื้นที่ดำเนินโครงการกระจายไป ทั่วประเทศ ซึ่งการลงทุนของภาครัฐดังกลาวจะกอใหเกิด

การจางงาน การเพิ่มข้ึนของรายไดของประชากร พัฒนา

ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อีกท้ังสนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชนและการหมุนเวยีนของระบบเศรษฐกิจ อยางไรก็ดี แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จะไมสามารถ

ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว หากขาดกลยุทธการระดมทุนจากแหลงเงินที่เหมาะสมและสอดคลองกับสถานการณเศรษฐกิจในขณะนั้น ทั้ งนี้ เพื่อไม ให เกิด

การกอหนี้ใหแกประเทศมากเกินไปจนสูญเสียความย่ังยืนทางการคลัง รวมท้ังไมกอใหเกิดตนทุนทางการเงินสูงจน เกินไปและใหเพียงพอตอความตองการลงทุนในอนาคตตอไป

แหลงเงินลงทุนแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555

Page 8: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

ข่าวประชาสัมพันธ์ จาก สบน. สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะร่วมกับธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ได้จัด การประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum ในระหว่างวันที่ 16-18

มีนาคม 2554 ณ โรงแรม Laguna Beach Resort จังหวัดภูเก็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ รวมทัง้พฒันาเครอืขา่ย

การเรยีนรูร้ะหวา่งประเทศ ซึง่จะเปน็ประโยชนใ์นการดำเนนิงานและการวางนโยบายในอนาคต ทั้งนี้มีผู้ร่วมการประชุมกว่า 46 ประเทศ จากกระทรวงการคลัง Debt Management Office และธนาคารกลางประเทศต่างๆ รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศ รวมประมาณ 150 คน

ข่าวประชาสัมพันธ์

ข่าวกิจกรรม

สำนกังานบรหิารหนีส้าธารณะ (สบน.) จะจดัจำหนา่ยพนัธบตัรออมทรพัยข์องกระทรวงการคลงั ในงานมหกรรมทางการเงินและการลงทุน Money Expo 2011 ระหว่างวันที่ 12-15 พฤษภาคม 2554 ในช่วงเวลา 10.00-21.00 น. ณ อาคารชาเลนเจอร์ 2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี โดยจำหน่ายพันธบัตรรุ่นอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยจะประกาศในช่วงก่อนจัดงานประมาณ 1-2 สัปดาห์

นอกจากนั้น ภายในงานจะมีการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพันธบัตรออมทรัพย์และ ตราสารหนีอ้ืน่ๆ ของภาครฐั รวมทัง้ประชาสมัพนัธบ์ทบาทหนา้ทีข่อง สบน. ผูส้นใจสามารถเขา้รว่มงานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.moneyexpo.net

เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขึ้นรับรางวัลในพิธีมอบรางวัลเพชรวายุภักษ์ ครั้งที่ 2 (MOF Innovation

Awards 2010) ประเภทรางวัลระดับกรมด้านการให้บริการภายในกระทรวงการคลัง ณ ห้องคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต โดยในปีนี้ สบน.

ได้รับ 2 รางวัล ได้แก่ รางวัลรองชนะเลิศ ชื่อนวัตกรรม “ก่อหนี้ใหม่อย่างไรให้ยั่งยืน

ชำระหนี้เก่าคืนอย่างไรให้มีเสถียรภาพ” และรางวัลชมเชย ชื่อนวัตกรรม “การพัฒนา เครื่องมือการระดมทุนของรัฐบาลในตลาดตราสารหนี้ไทย”

Page 9: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

ภาวณี บำรุงศรี เศรษฐกรชำนาญการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

กรอบติดตามและประเมินผลโครงการ

ภายใตแ้ผนปฏิบัติการ

ไทยเข้มแข็ง 2555

1. เหตุผลความจำเป็น เปน็ทีท่ราบกนัทัว่ไปวา่ รฐับาลไดจ้ดัทำโครงการภายใตแ้ผนปฏบิตักิาร

ไทยเข้มแข็ง 2555 หรือแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2 วงเงิน 1,309,655 ล้านบาท โดยมีเป้าหมายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ ทั้งนี้ โดยเพิ่ม

การลงทุนของภาครัฐ เพิ่มการจ้างงานผ่านโครงการลงทุนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ในสาขาเศรษฐกิจและสังคมต่างๆ กระจาย การลงทุนด้านบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานไปสู่ชนบท รวม 19 สาขา ซึ่งมี

โครงการยอ่ยทีก่ระจายในพืน้ทีภ่าคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอื และภาคใต้ จำนวนสูงถึง 40,000 โครงการย่อย ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

ในการจัดทำโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) จึงได้จัดทำกรอบติดตามและประเมินผลโครงการภายใต้แผนดังกล่าว เพื่อจะนำไปใช้ติดตามและประเมินผล

โครงการต่างๆ ในพื้นที่ 4 ภาค (ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้) โดยทีม

ที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่ สบน. จะลงสำรวจพื้นที่ดำเนินโครงการจริง ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการลงทุนต่างๆ ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 รวมทั้งเสนอแนะแนวทาง

แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ เพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ ผลการประเมินโครงการจะใช้เป็นบทเรียนสำหรับจัดเตรียมโครงการลงทุนของภาครัฐในอนาคต

Page 10: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

2. กรอบแนวคิดในการติดตามและประเมินผลโครงการ กรอบการติดตามและประเมินผลโครงการ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การติดตามโครงการและการประเมินผล

โครงการ มีแนวทางการดำเนินการดังนี้

2.1 การติดตามโครงการ

การติดตามโครงการเป็นการตรวจสอบ ความก้าวหน้าของโครงการประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่งเป็นการกระตุ้นและเร่งรัดการดำเนิน

โครงการของแต่ละโครงการให้ดำเนินการตาม เป้าหมายที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ เพื่อช่วยให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรค ตลอดจนแนวทางแก้ไขให้โครงการ

ดำเนินการต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ หรืออาจ

ยกเลิกโครงการกรณีที่ไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ การติดตามต้องกระทำทุกโครงการ โดยประเด็น ที่ใช้ในการติดตามโครงการ ประกอบด้วย

(1) การอนุมัติโครงการ โดยตรวจสอบคำขอ

ที่หน่วยงานจัดทำว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตาม

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 และผ่านการพิจารณากลั่นกรองโครงการจาก

คณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารฯ และได้รับ การอนุมัติโครงการโดยคณะรัฐมนตรี

(2) งบประมาณ โดยพิจารณาถึงงบประมาณ

ที่ขอ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ และงบประมาณที่ใช้ดำเนินการจริง

(3) การเบิกจ่ายงบประมาณ การเบิกจ่าย

งบประมาณของโครงการเป็นไปตามแผนการจัดทำงบประมาณโครงการหรือไม่

(4) การดำเนินการ ด้านกิจกรรมที่ดำเนินการ

เป็นไปตามแผนหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดซื้อจัดจ้างและการก่อสร้างโครงการ

(5) ผลผลิต ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริงกับที่กำหนด

ไว้ในแผนมีความสอดคล้องกันหรือไม่เพียงใด (6) สรุป ประเด็นปัญหา อุปสรรค และ

แนวทางแก้ไข ตลอดจนข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินโครงการในลักษณะเดียวกันหรือเพื่อใช้กับโครงการอื่น

สภาพน้ำหนุนสูงขึ้นท่วมพื้นที่ก่อสร้างบริเวณคลองโกรกพระ โครงการก่อสร้างระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์

รูประหว่าง ถนนสายแยก ทล. 401-บ.ด่านขุนเดช ตำบลปากแพรก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Page 11: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

2.2 การประเมินผลโครงการ

การประเมินผลโครงการจะดำเนินการกับโครงการ ที่ดำเนินการแล้วเสร็จว่า โครงการนั้นๆ ประสบความสำเร็จ

มากน้อยเพียงใด โดยจะมีการสุ่ มตัวอย่ างร้อยละ 5 ของโครงการที่แล้วเสร็จ ทั้งนี้ จะมีการแบ่งกลุ่มโครงการ ดังกล่าวเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) โครงการที่เสร็จก่อนกำหนด

(2) โครงการที่แล้วเสร็จตามแผน และ (3) โครงการที่ เสร็จล่าช้ากว่าแผน การแบ่งกลุ่มจะทำให้ทราบถึงปัจจัย

ที่ส่งผลต่อระยะเวลาให้โครงการเสร็จ เพื่อนำมาใช้เป็น บทเรียนสำหรับโครงการอื่นๆ ในอนาคต โดยข้อมูลที่ใช้ประกอบในการประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน (1) รวบรวม

ข้อมูลโครงการตามตัวชี้วัดที่จัดไว้ และ (2) การสัมภาษณ์ ผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการโดยใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือ จากนั้นจึงทำการประเมินในด้านต่างๆ กล่าวคือ

(1) การประเมินตัวโครงการ เป็นการประเมิน

ความสำเร็จของโครงการว่าอยู่ในระดับใด ตั้งแต่ผลผลิต ผลลัพธ์ของโครงการ รวมทั้งการจัดซื้อจัดจ้างว่าเป็นไปตาม

ระเบียบราชการหรือไม่ ตลอดจนการตรวจสอบด้านเทคนิค โดยเน้นการตรวจสอบการก่อสร้างว่าเป็นไปตามข้อกำหนดและมาตรฐานทั่วไปหรือไม่

(2) การประเมนิผูไ้ดร้บัผลประโยชนจ์ากโครงการ

เป็นการประเมินความพึงพอใจของผู้ได้รับประโยชน์จาก

โครงการและประโยชน์ที่ได้รับว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการด้วยหรือไม่ โดยสอบถามกับหน่วยงานที่ดำเนินโครงการและผู้รับประโยชน์จากโครงการทั้งตรงและทางอ้อม

อนึ่ง ตามมาตรฐานของแหล่งเงินกู้ต่างประเทศ

มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของโครงการ 5 ประการ ประกอบด้วย (1) Relevance ประเมิน ความสอดคล้องของโครงการกับนโยบายของรัฐบาล (2) Effectiveness ประเมินความสำเร็จตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ (3) Efficiency ประเมินด้านประสิทธิภาพของ

การใช้งบประมาณและระยะเ ว ล า ต ร ง ต า ม แ ผ น ห รื อ ไ ม่

(4) Impact ประเมินผลกระทบของโครงการที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่ วนเสียของโครงการ และ

(5 ) Sus ta inab le ประเมิน ความยั่งยืนของโครงการที่ได้ดำเนินการว่ามีมากน้อยเพียงใด

3. บทสรุป กรอบการติดตามและประเมินผลโครงการที่กล่าว

ข้างต้นจะถูกนำไปใช้ในการติดตามและประเมินผลโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 พื้นที่ 4 ภาค (ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้)

โดยที่ปรึกษาติดตามและประเมินผลโครงการ พื้นที ่4 ภาค เริม่ลงสำรวจพืน้ทีโ่ครงการเพือ่ตดิตามและประเมนิผลในเดอืนมีนาคม 2554 มีระยะเวลาดำเนินการ 1 ปี โดยมีงานด้าน การติดตามโครงการ เป็นการติดตามความก้าวหน้าของผลผลิตที่ เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ มีการรายงานปัญหาและ

อุปสรรคที่ เกิดขึ้นและเสนอแนวทางแก้ ไขปัญหาและ ตรวจสอบความโปร่งใส (Transparency) ในการดำเนินโครงการ สำหรับงานด้านประเมินผลจะประเมินผลโครงการ

ที่แล้วเสร็จ โดยมีเกณฑ์การประเมินด้านความสอดคล้องวัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบ และความยั่งยืนของโครงการ โดยได้กำหนดตัวชี้วัดและออกไป

สัมภาษณ์ผู้ได้รับประโยชน์ของโครงการ เพื่อจัดทำรายงานประเมนิผลวเิคราะหป์จัจยัแหง่ผลความสำเรจ็หรอืความลม้เหลว

ที่เกิดขึ้นของโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ทั้งนี้ รายงานติดตามและประเมินผลที่ได้รับจาก การดำเนินงานตามโครงการนี้จะได้นำเสนอต่อคณะกรรมการ

ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการตามแผน ปฏบิตักิารไทยเขม้แขง็ ซึง่ม ีดร.พนสั สมิะเสถยีร เปน็ประธาน

รวมทั้งเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นข้อมูลประกอบใน การพจิารณาจดัสรรงบประมาณหรอืเงนิกูใ้หแ้กโ่ครงการตา่งๆ ในโอกาสต่อไป และเป็นบทเรียนสำหรับการจัดเตรียมการ

โครงการลงทุนของภาครัฐในอนาคตต่อไป

ฝายเชียงดาว โครงการชลประทานเชียงใหม่

Page 12: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

10

ธีระศักดิ์ อิญญาวงค นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหน้ี

ʺ¹. ÁÕá¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμ Ô ã¹¡ÒêÓÃФ׹˹Õéà§Ô¹¡ÙŒ μ»·. ¢Í§ÃÑ°ºÒÅÍ‹ҧäà ?

“หนี้สาธารณะ” (Public Debt) เปนประเด็นที่พูดถึงกันมากเร่ืองหน่ึง ความนาสนใจของหนี้สาธารณะไมไดมีเพียงการกูเงินหรือการจัดหาเงินกู (Financing) เทานั้น แตยังมีการบริหารความเส่ียง (Risk Management)

การติดตามและประเมินผลโครงการตางๆ ที่ใชเงินกูของหนวยงานของรัฐ และ

การชำระคนืหนีเ้งินกู (Repayment) ของรฐับาล เปนตน การดำเนนิการในเร่ืองตางๆ เหลาน้ีลวนเปนภารกิจของสำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ (สบน.) โดยส้ินเดือน

มกราคม 2554 ประเทศไทยมียอดหน้ีสาธารณะคงคาง (Outstanding Debt) จำนวน 4.26 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 41.94 ของ GDP ซึ่งประกอบดวยหนี้ในประเทศและหน้ีตางประเทศ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.pdmo.go.th ในหัวขอ “รายงาน หนี้สาธารณะ”)

ในสวนของแหลงเงินกูตางประเทศที่ประเทศไทยมีภาระผูกพันในลักษณะ “หนีท้ีรั่ฐบาลกูโดยตรง” ปจจบัุน (กุมภาพันธ 2554) ประกอบดวยเงินกูจากแหลงเงนิกูตางๆ คือ ธนาคารโลก (IBRD) ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ (IDA) รัฐบาลสหรัฐอเมริกา (AID) สถาบันเครดิตเพื่อการบูรณะและพัฒนาแหงสหพันธสาธารณรฐัเยอรมน ี (KfW) องคการความรวมมือระหวางประเทศของญีปุ่น (JICA) รัฐบาลแคนาดา รัฐบาลเดนมารก รัฐบาลออสเตรีย และพันธบัตรเงินเยนชนิดจำหนายท่ัวไป ในตลาดทุนญี่ปุน (Samurai Bond) โดยมียอดหนี้สาธารณะคงคางจำแนกเปนสกุลเงิน 4 สกุลเงนิ คือ สกุลเงนิเหรยีญแคนาดา ยโูร เยน และเหรียญสหรัฐ จำนวน 15.82 ลานเหรยีญแคนาดา 30.23 ลานยูโร 124,753.21 ลานเยน และ 214.64 ลานเหรียญสหรัฐ ตามลำดับ

ในบทความน้ีจะกลาวเพียงแนวทางในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศของรัฐบาลเทานั้น สวนแนวทางและวิธีการชำระคืนหนี้เงินกูในประเทศจะไดกลาวในโอกาสตอไป

Page 13: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

11

สบน. มีแนวทางการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศ 2 รูปแบบ คือ 1) การชำระคืนหนี้เงินกูที่ครบกำหนด (Repayment): เปนการชำระคืนหนี้เงินกูตามกำหนดอายุ (Due Date) ซึ่งเปนภาระผูกพันตามสัญญาและเงื่อนไข การกูเงินที่ไดตกลงไวกับแหลงเงินกู และ 2) การชำระคืนหนี้เงินกูกอนครบกำหนด (Prepayment): เปนการชำระคืนหนี้กอนกำหนดอายุเงินกู ทั้งนี้ มีจุดมุงหมายในการลดภาระดอกเบ้ียในอนาคต และเปนการปดความเส่ียงของอัตรา แลกเปล่ียนกรณีที่เปนภาระหนี้สกุลเงินตราตางประเทศ รวมท้ังปดความเส่ียงอัตราดอกเบ้ียสำหรับกรณีภาระหน้ี ที่เปนอัตราดอกเบ้ียลอยตัว (Floating Rate)

ในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศของรัฐบาล สบน. จะดำเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกระทรวงการคลังไดอนุมัติให สบน. ใชเปนแนวทางปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดประโยชนตอราชการ กลาวคือ 1) การแขงขัน การเสนอราคาขายของธนาคารพาณิชย ทำให สบน. สามารถจัดซ้ือเงินตราตางประเทศไดในราคาต่ำที่สุด 2) ปองกัน ไมใหมีผลกระทบตอตลาดเงินในกรณีการจัดซื้อเงินตรา ตางประเทศจำนวนที่สูงมากตอคร้ัง 3) ปองกันความเส่ียงกรณีอัตราแลกเป ล่ียนเงินตราต างประเทศท่ีผันผวน 4) หากเปนการปดความเสี่ยง (Hedging) จะทำใหมีเงินตราตางประเทศที่ชำระหนี้ และท่ีสำคัญทราบตนทุนการชำระ (เงินบาท) ที่แนนอน และ 5) เตรียมความพรอมใหแก สบน. สำหรับการพัฒนาระบบงาน เพื่อเชื่อมโยงกับระบบ e-Banking ของธนาคารพาณิชยตางๆ ในอนาคต เปนตน

โดยมีวิธีการและรูปแบบ ดังนี้

วิธีการในการจัดซื้อเงินตราตางประเทศ เพื่อการชำระหน้ีเงินกูของรัฐบาลมี 3 วิธี คือ

• การสอบราคา (Price Checking) เปนการสอบถามราคาขายเงินตราตางประเทศ จากธนาคารพาณิชย จำนวนไมเกิน 3 แหง ในเวลา ใกล เคียง กันและเ ลือกราคาขายต่ำที่ สุด เพื่ อ การจัดซ้ือเงินตราตางประเทศท่ีมีวงเงินต่ำกวา 1 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอการชำระ ใน 1 วัน

• การประมูล (Open Bidding) เปนการใหธนาคารพาณิชย เสนอราคาขายเขามาในเวลาเดยีวกันและเลือกราคาขายต่ำทีส่ดุ ทัง้นี ้ เปนการจัดซ้ือเงนิตราตางประเทศท่ีมีวงเงนิตัง้แต 1 ลานเหรยีญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอการชำระใน 1 วัน โดยดำเนินการดังนี้ (1) วงเงินตั้งแต 1 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 2 ลานเหรียญสหรัฐ ประมูลราคาจากธนาคารพาณิชย จำนวน 3 แหง (2) วงเงินตั้ งแต 2 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 10 ลานเหรียญสหรัฐ ประมูลราคาจากธนาคารพาณิชย จำนวน 4 แหง และ (3) วงเงินตั้งแต 10 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 20 ลานเหรียญสหรัฐ ประมูลราคาจากธนาคารพาณิชย จำนวน 5 แหง

• การฝากซื้อ (Leave Order) เปน การกำหนดอัตราแลกเปล่ียนที่ตองการซื้อ โดยธนาคารพาณิชยจะดำเนินการซ้ือทันทีเมื่ออัตรา

เปนไปตามท่ีกำหนด มีระยะเวลาการฝากซ้ือ ในแตละคร้ังไมเกนิ 24 ชัว่โมง ทัง้นี ้วงเงนิการฝากซือ้คร้ังละไมเกิน 2 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา

Page 14: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

1212

รูปแบบในการจัดซ้ือเงินตราตางประเทศเพื่อการชำระหน้ีเงินกู ตางประเทศของรัฐบาล 2 แนวทาง คือ

• การซื้อเงินตราตางประเทศ ณ อัตราแลกเปล่ียนปจจุบัน (Spot Value) ไดแก กรณีการจัดซ้ือเงินตราตางประเทศในภาวะท่ีอัตรา แลกเปล่ียนไมมีความผันผวน และวงเงินการซ้ือต่ำกวา 20 ลานเหรียญสหรัฐ

หรือเทยีบเทา ตอการชำระภายใน 1 วนั โดยจะดำเนนิการซ้ือ 2 วนัทำการลวงหนากอนวันครบกำหนดชำระ ทั้งนี้ จะดำเนินการไดทั้ งวิธีการสอบราคาและ การประมูล และ สบน. จะซื้อเงินตราตางประเทศจากธนาคารพาณิชยผูที่เสนอราคาต่ำสุด และธนาคารพาณิชยนั้นเปนผูโอนชำระหนี้ใหกระทรวงการคลัง

• การซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนาโดยกำหนดอัตราไวเพ่ือ สงมอบในอนาคต (Forward Value) มีวัตถุประสงคเพื่อใหสามารถจัดหาเงินตราตางประเทศไดเพียงพอสำหรับการชำระคืนหนี้ โดยปดความเส่ียงจากอัตรา แลกเปล่ียนในกรณีที่อัตราแลกเปล่ียนมีความผันผวน และในกรณีที่มีจำนวน เงินตราตางประเทศท่ีจะซื้อในจำนวนท่ีสูงมากตอวัน อาจทำใหไมสามารถจัดซ้ือ เงินตราตางประเทศไดครบตามจำนวนที่ตองการ หรือทำใหอัตราท่ีจะซ้ือสูงกวา ที่ควรจะเปน เนื่องจากเปนการเพ่ิมการเสนอซ้ือในตลาด การซ้ือ Forward Value จะดำเนินการในกรณีที่มีวงเงินสูงกวา 20 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอการชำระใน 1 วัน โดยจะดำเนินการทยอยซ้ือทีละสวนจนครบจำนวนที่ตองการ

ในอนาคต สบน. จะมีการปรับปรุงวิธีการหรือแนวทางดังกลาว รวมถึง การใชนวัตกรรมตางๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณและตลาดเงิน โดยคำนึงถึงประโยชนสูงสุดตอราชการเปนสำคัญ

สำหรับการชำระคืนหนี้เงินกูกอนครบกำหนด (Prepayment) สบน. จะพิจารณาตามแนวทางท่ีเปนประโยชนตอราชการ ดังนี้ 1) ลดภาระงบประมาณรายจาย 2) กระจายความเส่ียงจากความผันผวนของอัตราแลกเปล่ียนเงินตรา ตางประเทศ 3) สนองนโยบายรัฐบาลตามมาตรการและแนวทางการเรงรัดติดตามการใชจายงบประมาณรายจายประจำป ดังนั้น หาก สบน. ไดรับการจัดสรร

งบประมาณรายจายประจำปเพื่อการชำระคืนหนี้เงินกูในจำนวนที่เหมาะสม พรอมกับการบริหารหน้ีสาธารณะท่ีมีประสิทธิภาพของ สบน. จะทำใหสามารถ ลดยอดหน้ีสาธารณะคงคางและยังลดภาระดอกเบ้ียไดมากย่ิงขึ้นอีกดวย ทำใหประหยัดงบประมาณรายจายประจำปซึ่งเปนประโยชนตอราชการอยางยิ่ง

Page 15: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

13

มุมอรอย

HOBS (House of Beers) áËÅ‹§ Hang out ÊäμÅ �ÂØâûàºÅàÂÕÂÁ

หากใครท่ีไดมีโอกาสผานไปแถวซอยอารียสัมพันธ คงจะสะดุดตากับโครงการ อารียการเดน (Aree Garden) ที่แมจะมีพื้นท่ีไมมากนัก แตดวยการตกแตงโครงการดวยการยกปามาไวในเมือง ทำใหบรรยากาศโดยรอบดูรมร่ืนไมนอย และเม่ือ ไดกาวเขาไปสัมผัสบรรยากาศภายในก็มีรานคา รานอาหารหลายรานใหเราไดเลือกเขาไปฝากทองตามความพอใจ ซึ่งราน ทีเ่ราจะแนะนำกันในคร้ังนีก็้คือ ราน HOBS (House of Beers) Bar & Rest ซึง่นอกจากจะมีอาหารอรอยๆ ไวใหไดล้ิมลองแลว จุดเดนของรานนี้ยังมีเบียรสดและเบียรท่ีนำเขาจากตางประเทศมากมายกวา 50 ยี่หอ อาทิ Hoegaarden, Leffe Blonde, STELLA ARTOIS, Lager, Boddingtons

HOBS (House of Beers) เหมาะเปนรานสำหรับเพื่อนฝูงไดมาเฮฮาสังสรรคกัน ดวยบรรยากาศอันรมร่ืน ของโครงการ การตกแตงรานที่โดดเดนเนนเฟอรนิเจอรไมสไตลยุโรปเบลเยียมยอนยุค ผูที่เขามาสามารถเลือกมุมน่ังได ไมวาจะเปนในหองปรับอากาศเย็นฉ่ำ หรือจะเลือกนั่งชิลๆ แบบโอเพนแอรพรอมๆ กับการชมสวนสวยๆ ก็ไดเชนกัน

เม่ือมา HOBS (House of Beers) ทั้งที เราเลยขอชิมเมนูแนะนำของรานที่ขอบอกวาไมควรพลาดอยางย่ิง

Mussel leffe (หอยแมลงภูอบเบียร leffe) สูตรพิเศษที่ทางรานคิดข้ึนมาใหม ซึ่งมีทั้ง หอยแมลงภูของไทยและนิวซีแลนด เสิรฟพรอมกับ Belgium Fried (เบลเยียมฟราย) หรือ มันฝรั่งทอดช้ินใหญกรอบนอกนุมใน มาพรอมกับ Dips สูตรพิเศษจากทางราน

มุมอรอย

สถานที่ต้ัง : ซอยอารียสัมพันธ 11 ชั้น 2 โครงการอารียการเดน

การเดินทาง : จากถนนพหลโยธิน เขาซอยอารียสัมพันธ มุงหนา ไปทางกระทรวงการคลัง ราน HOBS อยูบริเวณชั้น 2

ภายในโครงการอารียการเดน

สวนลดสำหรับผูอานวารสารหน้ีสาธารณะ เพียงนำคูปองนี้มาที่ราน รับสวนลด 10%

หมดเขต 15 มิถุนายน 2554

Mussel leffe

HOBS Nachos

Marinara

Mojito

HOBS Nachos เปนแผนชิปทำมาจากแปงขาวโพดราดซอสเนื้อหรือซอสไก โปะหนาดวยชีส แลวนำไปอบใหชีสละลาย เสิรฟพรอมกับซาวรครีมและซัลซา รสชาติเขากันลงตัว

Marinara สปาเกตตีซีฟูดซอสมะเขือเทศ รสชาติกลมกลอม หากใครท่ีไมชอบสปาเกตตีก็สามารถเลือกเสน Fettuccine ก็ได

Mojito โมฮิโตเปนค็อกเทลท่ีขายดีของทางราน เปนอีกตัวเลือกของคนท่ีไมชอบ

ด่ืมเบียร นอกจากเมนูที่เราแนะนำกันแลวทางรานยังมีเมนูอรอยๆ ใหเลือกอีกมาก

ใครสนใจก็แวะเวียนมากันได รานเปดตั้งแต 11.30-01.00 น. เย็นวันศุกร-วันอาทิตย ควรโทร.มาจองโตะลวงหนาเนื่องจากคนคอนขางแนนที่โทร. 0 2617 1600

พิเศษ

13

Page 16: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

14

รายการ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) (SFIs) หนี้กองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF)

รวม

วงเงิน (พันลานบาท) 2,984.47 1,085.86 162.08 30.58

4,263.00

รอยละ 70 25 4 1

100

สถานะของหน้ีสาธารณะ ณ วันที่ 31 มกราคม 2554ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 ณ วันท่ี 31 มกราคม 2554 หนี้สาธารณะคงคางมีจำนวนทั้งสิ้น 4,263 พันลานบาท หรือรอยละ 41.94 ของ GDP

สัดสวนหน้ีสาธารณะคงคาง ประกอบดวย หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 2,984.47 พันลานบาท หรือรอยละ 70 ของหน้ีสาธารณะ คงคาง หน้ีรัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs) 1,085.86 พันลานบาท หรือรอยละ 25 ของหน้ีสาธารณะคงคาง หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) (SFIs) 162.08 พันลานบาท หรือรอยละ 4 ของหนี้สาธารณะคงคาง และหน้ีกองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) 30.58 พันลานบาท หรือรอยละ 1 ของหน้ีสาธารณะคงคาง ดังแสดงในแผนภาพท่ี 1

แผนภาพท่ี 1 หน้ีสาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 มกราคม 2554

ที่มา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

หนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้สาธารณะสวนใหญของประเทศเปนหนี้ในประเทศ

หรือหน้ีสกุลเงินบาท ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 หน้ีในประเทศท้ังของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจคิดเปน รอยละ 93 ของหนี้สาธารณะทั้งหมด และหนี้ตางประเทศคิดเปนรอยละ 7 ของหน้ีสาธารณะท้ังหมด สัดสวนหน้ี

ตางประเทศลดลงอยางชัดเจนจากที่เคยอยูที่ระดับรอยละ 24 ของหนี้สาธารณะในป 2546 ซึ่งเกิดจากการบริหารหนี้ ตางประเทศของรัฐบาลและรัฐวสิาหกิจในภาวะท่ีตลาดเอ้ืออำนวย

ดวยการชำระคืนเงินตนกอนครบกำหนด (Prepayment) การกูเงินดวยเงื่อนไขใหมเพื่อชำระหน้ีเดิม (Refinance) และการปองกันความเสี่ยง (Hedging) สงผลใหความเสี่ยงดานอตัราแลกเปล่ียนของ Portfolio หนีส้าธารณะของประเทศลดลง

สาเหตุที่รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจกูเงินจากตางประเทศ

เนื่องจากอัตราดอกเบ้ียหรือตนทุนการกูยืมเหมาะสม

โดยเฉพาะการกูเงินจากแหลงเงินกูทางการตางประเทศท่ีมีอัตราดอกเบ้ียเงินกูต่ำและมีระยะเวลาชำระคืนเงินกูรวมท้ัง

ระยะปลอดเงินตนยาว สอดคลองกับระยะเวลาดำเนิน โครงการผลตอบแทนและรายไดของโครงการ ซึง่สวนใหญเปนโครงการขนาดใหญ อาทิ โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชน

และสนามบิน นอกจากนัน้ การลงทุนในโครงการบางโครงการมีการนำเขาสินคาและบริการจากตางประเทศ รวมท้ัง การดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจบางแหงมีรายไดเปนเงินตราตางประเทศ จึงกูเงินเปนสกุลตางประเทศจากแหลงทางการและสถาบันการเงินเพื่อลดปญหา Currency Mismatch

หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 70%

SOEs 25%

SFls 4% FlDF 1%

Page 17: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

15

แผนภาพท่ี 2 สัดสวนหนี้ในประเทศและหน้ีตางประเทศของรัฐบาล

หมายเหตุ * ขอมูลหน้ีสกุลตางประเทศท่ีไมนับรวมสวนท่ีบริหารความเส่ียงดานอัตราแลกเปล่ียนแลว

หากแยกวิเคราะหในรายละเอียดจะพบวา หนี้ตางประเทศของรัฐบาลคิดเปนรอยละ 1 ของหน้ีรัฐบาลท้ังหมด โดยสัดสวนหนี้สกุลเงินตางประเทศประกอบดวย สกุลเงินเยนรอยละ 79 สกุลเหรียญสหรัฐรอยละ 17 และสกุลยูโรรอยละ 4 ดังแสดงในแผนภาพท่ี 2 ทั้งนี้ สาเหตุที่สัดสวนหนี้ตางประเทศของรัฐบาลคอนขางต่ำนั้น เนื่องจากตลาดตราสารหน้ีในประเทศไดรับการพัฒนา การกูเงินสวนใหญของรัฐบาลในระยะหลังจึงเปนเงินกูสกุลบาท ประกอบกับสภาพคลองภายในประเทศเพียงพอ จึงสามารถระดมทุนหรือกูเงินจากภายในประเทศไดมากข้ึน นอกจากนั้น เงินกูตางประเทศสวนใหญ ของรัฐบาลไดรับการปดความเส่ียงดานอัตราแลกเปล่ียนโดยทำการแปลงหน้ีสกุลเงินตางประเทศเปนสกุลเงินบาท (Cross Currency Swap) เพื่อใหสอดคลองกับรายไดของรัฐบาลท่ีเปนสกุลเงินบาทแลว

แผนภาพท่ี 3 สัดสวนหนี้ในประเทศและหน้ีตางประเทศของรัฐวิสาหกิจ

หนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจคิดเปนรอยละ 22 ของหนี้รัฐวิสาหกิจทั้งหมด ดังแสดงในแผนภาพท่ี 3 โดยสัดสวนหนี้สกุลเงินตางประเทศประกอบดวย สกุลเงินเยนรอยละ 60 สกุลเหรียญสหรัฐรอยละ 21 และสกุลยูโรรอยละ 20 ซึ่ง หนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจสวนใหญที่เปนสกุลเงินเยนที่ยังไมดำเนินการบริหารความเสี่ยงอัตราแลกเปล่ียนเนื่องจาก รอภาวะตลาดท่ีเหมาะสม และบางรัฐวิสาหกิจที่มีหนี้เปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐและสกุลยูโรไมมีความจำเปนตองบริหาร

ความเส่ียงอัตราแลกเปล่ียนเนื่องจากเงินกูดังกลาวสอดคลองกับรายไดของหนวยงานท่ีเปนสกุลตางประเทศ

Domestic 99% External* 1%

¥, 79%

$, 17%

€, 4%

Domestic 78%

External 22%

¥, 60% $, 21%

€, 20%

ท่ีมา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

ท่ีมา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

Page 18: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

16

´Ñº¤ÇÒÁâ¡Ã¸à¾ÃÒдѺ¤ÇÒÁâ¡Ã¸à¾ÃÒÐ “ÇÒ¨Ò”“ÇÒ¨Ò” à¾×èͪÕÇÔμ·Õè໚¹ÊØ¢ à¾×èͪÕÇÔμ·Õè໚¹ÊØ¢

ความโกรธของคนเราอาจเกิดไดจากหลายสาเหตุ แตไมวาจะเกิดจากอะไรก็ใหผลรายมากกวาผลดีเสมอ นั่นเพราะเมื่อคนเราโกรธมักลืมตัว พูดจาเสียงดัง พูดคำหยาบ ดาคน และไมมีเหตุผลจนคิดวาสิ่งนั้นสิ่งน้ีมันนาโมโหเสมอ ไมวาใครพูดดีดวยแคไหน ทวาความอคติในอารมณก็ทำใหเราแปลเจตนาของผูพูดเปล่ียนไป หรือตอบโตกลับอยางรุนแรงโดยไมรูตัวหรือควบคุมตัวเอง ไมไดเสมอ หากคำพูดท่ีไดยินเปนไปในแงรายดวยแลว ยิ่งทำใหอารมณโกรธเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะอารมณโกรธจากการพูดในลักษณะดังตอไปน้ี

1. โกรธเพราะถูกนินทา “โบราณวาอันนินทากาเลเหมือนเทสวม ถารับไวยอมไดเหม็น หากไมรับกลับหาย คลายประเด็น ยอนไปเหม็นปากเนาของเขาเอง” การนินทาไมใชของใหมเพราะมีมาต้ังแตโบราณแลว ยิ่งในยุคปจจุบัน เมื่อสังคมมีแตการแขงขัน การท่ีเราถูกคนอ่ืนนินทาวาราย เพื่อทำลายใหตัวเราตกต่ำทั้งในชีวิตและหนาท่ีการงาน ขณะท่ีตัวเขากาวไปไดสูงจึงมีมากข้ึน อยางไรก็ดี การนินทาคือ การพูด และการพูดเปนเพียงลมปากท่ีเมื่อพูดแลวคล่ืนเสียงก็จางหายไปในอากาศ ไมอาจทิ่มแทงหรือทำอันตรายรางกายได แลวเราจะมัวโกรธกับคำพูดเหลานั้นทำไม หากเราไมไดเปน

อยางคำที่เขานินทา สักวันหนึ่งคนอื่นจะรับรูและคนท่ีพูด ตองรับผลจากการพูดของเขาเอง

2. โกรธเพราะถูกกลาวราย ซึ่งเปนเสมือนยาพิษ

ที่ศัตรูวางไว เพื่อให เราโกรธแคน ทำลายสมรรถภาพใน การทำงาน สุขภาพอนามัยและความสงบกายสงบใจของเรา แลวทำไมเราตองกลืนกินยาพิษที่ เขาวางไว เพื่อทำราย ตัวเองดวย เราควรรูจักมีความอดกล้ันใหมาก ไมตกเปนทาสของความโกรธและความวูวามจนเผลอเลนตามเกมของอีกฝาย

ปลอยใหสิ่งเหลาน้ันผานหายไปดวยการทำเปนไมรูเทาทันหรือทำเปนไมไดยิน คิดเสียวาเราไมไดวิเศษมาจากไหน ทำไม จะถูกกลาวรายบางไมได ในเม่ือคนใหญคนโตระดับผูมีอำนาจยังถูกวาไดเลย เทานี้เราจะสบายใจข้ึน ไมทุกขรอนจนทำงานไมไดเพราะคำวารายเล่ือนลอยอีกตอไป

ที่มา : พระธมฺมวฑฺโฒภิกฺขุ. พุทธวิธีชนะความโกรธ. กรุงเทพมหานคร : วัดโสมนัสวิหาร, 2542

3. โกรธเพราะถูกดาวา การท่ีคนอื่นดาเราเพราะเขา มุงหมายจะทำใหเรากลายเปนคนเลว คนไมดี หรือคนบา ใหดูแยในสายตาเจานายหรอืเพือ่นรวมงานคนอืน่ๆ แตถาเราควบคุมตัวเองไวได รูจักขมอารมณสงบน่ิงไมโตตอบกลับไปก็ถือวาเราชนะ ทวาเมื่อใดท่ีคิดตอบโต เราจะกลายเปนผูแพทันที จำไววาในโลกน้ีไมมีใครสามารถทำใหเราเปนคนเลวได เพราะคนที่จะทำไดมีอยูคนเดียวก็คือตัวเรา ดังนั้น ตอใหมีคนเปนรอยมารุมดาเรา ตัวเราก็ยังคงเปนเราเสมอ ในทางกลับกัน ถาเราพูดจาหยาบคายหรือดาตอบออกมาเม่ือใด เราจะเปนคนเลวอยางท่ีเขาวาไปดวย

“...ธรรมดาน้ำยอมจะเย็นฉันใด ใจเราก็ควรจะเย็น ไมโกรธ ดวยอาศัยขันติและเมตตาฉันนั้น

...ธรรมดาอากาศไมมีใครจับยึดไวไดฉันใด เราก็ไมควรใหความโกรธยึดถือไดฉันนั้น

...ธรรมดาแผนดินยอมรับน้ำหนักของส่ิงตางๆ บนโลก ไวไดฉันใด เราก็ควรอดทนตอคำลวงเกินของผูคนในโลกไวได ฉันนั้น”

ดังนั้น จงอยาโกรธหรือเดือดเนื้อรอนใจเพราะคำพูดใครท่ีพูดวารายเรา เพราะเมื่อความโกรธเกิดกับผูใดยอมเผาใจผูนั้น

ใหเรารอน ถึงเราจะโกรธแคนเพียงใดก็ไมอาจสาปแชงหรือ แผความโกรธไปเผาผูอื่นใหพลอยรอนใจกับเราไปดวยได แมเราโกรธเขา แตผูที่รอนใจ เจ็บใจ ทุกขใจ กินไมไดนอนไมหลับ คือเราไมใชเขา...เชนนั้นแลวจะยังด้ือถือโทษ โกรธอยูไย ไดอะไรเปนประโยชนโปรดคิดดู

16

Page 19: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

1717

คำคม

“Great minds must be ready not only to take opportunity,

but to make them.” - - Colton - -

ความคิดที่ยิ่งใหญไมใชแคเตรียมพรอมตอโอกาส แตยังพรอมท่ีจะลงมือทำ

μͺ¤Ó¶ÒÁªÔ§ÃÒ§ÇÑÅ μͺ¤Ó¶ÒÁªÔ§ÃÒ§ÇÑÅ 1. รูปแบบการกูเงินของแผนปฏิบัติก

ารไทยเขมแข็ง

2555 คืออะไร

2. แหลงระดมทุนของแผนปฏิบัติการไทย

เขมแข็ง 2555

แบงเปนกี่กลุม ไดแกอะไรบาง

3. เกณฑการประเมินความสำเร็จของโครง

การ (ตาม

มาตรฐานของแหลงเงินกูตางประเทศ

) 5 ประการ ไดแก

อะไรบาง

4. แหลงเงินกูตางประเทศของไทยม

าจากที่ ใดบาง

(ตอบอยางนอย 3 แหลงเงิน)

5. การชำระคืนเงินกูกอนครบกำหนด

(Prepayment)

ตามแนวทางท่ีเปนประโยชนตอราชก

าร พิจารณาจาก

อะไรบาง

กรุณาสงคำตอบมาท่ี E-mail Address : [email protected] หรือทางไปรษณีย ที่อยูสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ถนนพระรามท่ี 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 ภายในเดือนพฤษภาคม 2554 พรอมระบุ ชื่อ-ที่อยูติดตอกลับใหชัดเจน (วงเล็บมุมซองวาตอบคำถามรวมสนุก) ผูที่ตอบถูก 10 ทานแรกเทานั้น จะไดรับรางวัลจาก สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Page 20: Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554