22
กกกกกกกกกกกกก LIDAR กกกกกก 1 กกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก 2 กกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก 3 กกกกกกก กกกกกก กกกกกกกกกกกกกกก , กกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก 4 กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก 5 กกกก กกกกกก Real-Time กกกกกก6-9 กกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก

kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

การสำารวจด้วย LIDAR

ภาพท่ี 1 แสดงอุปกรณ์ท่ีใช ้ ภาพท่ี 2 แสดงการรบัสญัญาณดาวเทียมและการทำางาน ภาพท่ี 3 แสดงการบนัทึก ขอ้มูลจากยอดไม้ , ใบไมแ้ละพื้นดิน

ภาพท่ี 4 แสดงการรบัสญัญาณระดับต่างๆ ภาพท่ี 5 แสดงภาพแบบ Real-Time ภาพท่ี6-9 แสดงผลลัพธจ์ากการ ประมวลผลแสดงความแตกต่าง ทางด้านความสงูด้วยแถบสี

Page 2: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

ภาพท่ี 7 ภาพท่ี 8 ภาพท่ี 9

หลักการสำารวจด้วยวธิLีIDAR เพื่อนำามาสรา้งเป็นพื้นระดับสงูเชงิเลข(DEM:Digital Elevation Model)ค่าความถกูต้องทางดิ่ง 50 เซนติเมตรหรอืเสน้ชัน้ความสงูชัน้ละ 50 เซนติเมตร

ภาพที่ 1 แสดงอุปกรณ์ท่ีใชใ้นการสำารวจทำาแผนที่โดยวธิLีIDAR ประกอบด้วย- Scanner assembly เครื่องแสกน- Equipment rack เครื่องมอืควบคมุ- Laptop Control Computer with GUI เครื่องคอมพวิเตอรแ์บบ

โน๊ตบุค๊(ทัง้ 3 ชนิดติดตัง้บนเครื่องบนิ)ใชส้ำาหรบัควบคมุต่างๆได้แก่การดภูาพพื้นท่ีแบบ Real-Time การเริม่ต้นบนัทึกขอ้มูล,การวางแผนการบนิใหแ้นวบนิซอ้นทับในแต่ละแนวบนิเพื่อใหไ้ด้ขอ้มูลครอบคลมุพื้นที่

- Post-processing software โปรแกรมสำาเรจ็รูปสำาหรบัประมวลผล เพื่อใหไ้ด้ค่าพกิัดทางราบ(ค่าทางแกน X ,แกน Y ความถกูต้อง 50 เซนติเมตร )และค่าระดับ(ความถกูต้อง 50 เซนติเมตร)ในการสรา้งพื้นระดับสงูเชงิเลข(DEM:Digital Elevation Model)ท่ีดีและถกูต้องท่ีสดุ ได้แก่การแก้ไข(Editing) บรเิวณท่ีมต้ีนไมป้กคลมุแต่มสีญัญาณ(Pulse)บางสว่นสามารถกระทบกับพื้นดิน(Ground)ได้ ความแตกต่างทางความสงูสามารถกำาหนดด้วยแถบส ีชว่ยใหก้ารวเิคราะหม์คีวามถกูต้องแมน่ยำามากยิง่ขึ้น

- เครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมจพีเีอส ชนิดสองความถี่(Dual Frequency receiver)ใชติ้ดตัง้บนเครื่องบนิและติดตัง้บนพื้นดินพรอ้มโปรแกรมประมวลผล...วธิกีารท่ีเรยีกวา่ Continuous Kinematic...เป็นการติดตัง้เสาอากาศไวบ้นยานพาหนะแล้วเคล่ือนที่ไปเรื่อยๆ

Page 3: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

ขณะเดียวกันจะบนัทึกขอ้มูลอยา่งต่อเน่ืองไปเรื่อยๆและสามารถนำามาคำานวณหาตำาแหน่งได้ทกุๆจุดท่ีมกีารบนัทึกขอ้มูลไว้

- อากาศยานหรอื/เครื่องบนิ(มคีนขบัหรอืไมม่คีนขบั)

ภาพที่ 2 แสดงการรบัสญัญาณดาวเทียมและการทำางาน ดังน้ี- ติดตัง้เครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมชนิด 2 ความถ่ี(Dual

Frequency รบัสญัญาณ L1 และ L2)บนภาคพื้นดิน(บนหมุดหลักฐานที่ทราบค่าพกิัด(ค่าทางเหนือและค่าทางตะวนัออกหรอืค่าละติจูดและค่าลองจจูิด).....และค่าระดับ(เหนือระดับนำ้าทะเลปานกลาง)

- ติดตัง้เครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมบนเครื่องบนิ โดยใหเ้สาอากาศติดตัง้ภายนอกเครื่องบนิ....พรอ้มทัง้แสดงค่า Shif(ค่าความแตกต่าง....ทางแกน X ,ทางแกน Y และทางแกน Z)กับตำาแหน่งจุดรบัสญัญาณสะท้อนกลับของขอ้มูล

- ติดตัง้อุปกรณ์ จากภาพท่ี 1

ภาพที่ 3 แสดงการบนัทึกสญัญาณสะท้อนกลับ(Pulse)เป็นขอ้มูลดิบ(Raw Data)จากยอดไม ้,ใบไมห้รอืและพื้นดิน....หมายความวา่ความสงูท่ีต้องการคือค่าความสงูบนพื้นดิน(From Ground)

เสน้ต่อเนื่องหนาสแีดง เป็นการสง่สญัญาณ(Pulse)จากเครื่องบนิไปยงัพื้นดิน.

เสน้ประสแีดง เป็นการสะท้อนกลับของสญัญาณไปยงัเครื่องรบั..ถือได้วา่เป็นขอ้มูล(RAW DATA)ท่ีสำาคัญที่สดุเพราะจะต้องมคีวามสมัพนัธก์ับเครื่องรบัสญัญาณดาวเทียม(ควรต้องเป็นเครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมแบบ 2 ความถ่ี (Dual Frequency))ท่ีอยูบ่นเครื่องบนิและเครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมที่รบัสญัญาณพรอ้มๆกันบนพื้นดิน..ณ..ตำาแหน่งหมุดหลักฐานท่ีทราบค่าพกิัดและค่าระดับ(เหนือระดับนำ้าทะเลปานกลาง)....ตำาแหน่ง

Page 4: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

ของเสาอากาศบนเครื่องบนิ(คือตำาแหน่งของค่าพกิัดท่ีปรากฏบนเครื่องรบัสญัญาณ GPS บนเครื่องบนิ)จำาเป็นท่ีจะต้องมกีารยา้ยลงมายงัตำาแหน่งจุดรบัสญัญาณสะท้อนกลับบนเครื่องรบั(ค่า Shift..อธบิายภาพท่ี 2) กล่าวโดยสรุปวา่ต้องนำาค่าพกิัดทัง้หมดมาปรบัแก้ใหไ้ด้ค่าพกิัดที่แท้จรงิ

ภาพที่ 4 แสดงการรบัสญัญาณสะท้อนกลับท่ีระดับต่างๆ ในที่น้ีกำาหนดไว ้5 ระดับ( 5 Return ) หมายความวา่ตำาแหน่งเดียวกันมคี่าระดับ จำาวนมากท่ีสดุ 5 ค่า เมื่อนำาค่ามาพล๊อตกราฟทำาใหเ้ราสามารถวเิคราะหไ์ด้วา่ค่าระดับท่ีตำ่าท่ีสดุเป็นเท่าใดและค่าระดับที่ขาดหายไปเราก็สามารถตรวจสอบและทราบค่าได้จากกราฟความต่อเน่ืองของค่าระดับท่ีตำ่าท่ีสดุ

ภาพที่ 5 แสดงภาพแบบ Real-Time บน Labtop เพื่อใชป้ระกอบการตัดสนิใจในการดำาเนินการบนัทึกขอ้มูล LIDAR

ภาพที่ 6-9 แสดงผลลัพธจ์ากการประมวลผลแบบต่างๆตามความจำาเป็นของงาน... แสดงความแตกต่างทางด้านความสงูด้วยแถบส ีด้วยมุมมองต่างๆ ทัง้ด้าน Top View หรอืการมองภาพด้านขา้ง ดังภาพที่8

การสำารวจด้วยวธิLีIDAR ได้กำาหนดรูปแบบการทำางานไวดั้งน้ีขัน้ตอนการวางแผน 5% .......ติดต่อขอเชา่เครื่องบนิ....ติดต่อขอ้มูล

หมุดหลักฐาน(ค่าพกิัดและค่าระดับ) ....ติดตัง้เครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมบนเครื่องบนิ...ติดตัง้อุปกรณ์LIDAR...การวางแผนการบนิ(ความเรว็ของเครื่องบนิ,ความสงูบนิ,ความเรว็ของการบนัทึกขอ้มูลของสญัญาณที่สะท้อนกลับ,จำานวนแนวบนิ,ความกวา้งแต่ละแนวบนิ(Coverage Area))

...........ขัน้ตอนการปฏิบติังานภาคสนาม 10% .........การติดตัง้เครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมบนพื้นดินใหอ้ยูใ่นรศัมกีารบนิ.....การปฏิบติัการบนิเพื่อบนัทึกขอ้มูล(Raw Data)ประกอบด้วย...,

Page 5: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

การกำาหนดความสงูบนิ Altitude range..................200 – 4,000 m AGLความกวา้งของการรบัขอ้มูล FOV range...............10 - 75 degrees(FOV:Field Of View หรอืพื้นท่ีมองเหน็ภาพได้ครอบคลมุมาก/น้อย)Max scan rate...................453.56 (FOV in degrees) -0.6548

..........................................e.g., 40 Hz @ 40 FOV

..........................................e.g., 27 Hz @ 75 FOVPulse rate...........................30 to 83 kHzMultiple targets..................4 standardIntensity mapping..............return signal amplitude + AGC

............................................value on up to 3 returnsRoll compensation..............automatic adaptive roll compensation, .............................................compensation range = 75 – FOV in degreesReal-time camera........................VGA resolution, time, location and trajectory tagged

ขอ้สงัเกต การสำารวจภาคสนามเพื่อทำาจุดตรวจสอบ(Che กล้องระดับและไม้

เมตร(งานระดับชัน้ที่3 มคีวามละเอียดในการอ่าน 1 มลิลิเมตร) หรอืการสำารวจด้วยเครื่องมอืสำารวจ Total Stations(รงัวดัค่าพกิัดและระดับได้พรอ้มกัน)ในการใชง้าน อันเน่ืองมาจากความละเอียดถกูต้องของขอ้มูล ไมน่่าจะใชเ้ครื่องรบัสญัญาณดาวเทียม GPS แบบรงัวดั(แบบ Rapid Static Survey หรอืแบบ RTK:Real Time Kinematic Survey) ในงานการตรวจสอบความถกูต้อง

ขัน้ตอนการประมวลผลในสำานักงาน 85%.....การประมวลผลขอ้มูลค่าพกิัดและค่าระดับจากเครื่องรบัสญัญาณบนเครื่องบนิเปรยีบเทียบกับขอ้มูลบน

Page 6: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

พื้นดินด้วยวธิกีาร Differencial .......การประมวลผลขอ้มูลที่บนัทึกได้จากสญัญาณบนเครื่องรบัเป็นพื้นระดับสงูเชงิเลข(DEM).....การแก้ไข(Editing)ได้แก่ตำาแหน่งบนพื้นดินบรเิวณเดียวกันมแีถบสต่ีางกัน(ดจูากการกำาหนดค่าความสงูใหก้ับแถบสี)

สรุป ขอ้มูลเบื้องต้นLIDAR Scanner Setup

- Scan FOV (Full Angle) 35 degree-Normal Flying Altitude AMSL 2,010.00 meters-Range/intensity Mode(1,2,3,4) 4-Max Laser Pulse Rate 50,500 Hz-Scan Rate 38 Hz

Resulting Scan Pattern-Total Swath Width 1,261.20 meters-Max Cross Track Spacing 3.12 meters-Max Along Track Spacing 2.03 meters-Point Density 0.49 pts/meter^2-Area / Point 2.05 meter^2

Resulting Accuracy Estimates(1 sigma)Nadir FOV Edge

- Estimated Cross Track Error 0.21 0.23 meters

Page 7: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

- Estimated Along Track Error 0.21 0.22 meters-Estimated Heihgt Error 0.18 0.22 meters

Camera Setup- Array Size (cross - track) 4,077 pixels- Array Size (Along - track) 4,077 pixels- Pixel Pitch 9. microns- Ground Sampling Distance(GSD) 0.50 meters Lowest

Terrain Elevation – Pan- FOV( Cross- track) 0.97 radians- FOV ( along – track) 0.97 radians- Swath ( Cross- track) 2,054.81 meters- Swath ( along – track) 2,054.81 meters

ขัน้ตอนการปฏิบติังาน

1. เครื่องมอื/อุปกรณ์ และอ่ืนๆ อากาศยาน ฃ เครื่อง ALS Airborne Scanners(ประกอบด้วย Scanner assembly เครื่องแสกน,Equipment rack เครื่องมอืควบคมุ Laptop Control Computer with GUI เครื่องคอมพวิเตอรแ์บบโน๊ตบุค๊ ) เครื่องรบัสญัญาณดาวเทียม GPS ชนิดสองความถ่ี(Dual Frequency receiver)พรอ้มเสาอากาศรบัสญัญาณดาวเทียมติดตัง้บนอากาศยานและเครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมบนภาคพื้นดิน(Base Station) อุปกรณ์นำารอ่งการบนิ การกำาหนดแนวบนิไวล่้วงหน้า(เมื่อต้องบนิแนวบนิใดใหเ้รยีกแนวบนินัน้มาแสดงบนจอภาพ ทำาใหส้ามารถมองเหน็ตำาแหน่งเครื่องบนิและแนวบนิพรอ้มๆกัน ชว่ยอำานวยความสะดวกในการบนิเป็นอยา่งมาก) นักบนิ เจา้หน้าที่ควบคมุการบนัทึกขอ้มูล LIDAR อุปกรณ์บนัทึกขอ้มูล

2. การวางแผนการบนิ นำาแผนที่ภมูปิระเทศ มาตราสว่น 1:50,000 ของกรมแผนท่ีทาหารมากำาหนดขอบเขตพื้นที่โครงการ ประมาณ 100 ตารางกิโลเมตร วางตัวตามแนวเหนือ-ใต้ กำาหนดจำานวนแนวบนิ 5 แนวบนิ ระยะหา่งของตำาแหน่งจุดระดับแต่ละจุด ประมาณ 1 เมตร

3. การประมวลผล ประกอบด้วย

Page 8: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

- การแปลงค่าพกิัดและค่าระดับตำาแหน่งบนเสาอากาศบนเครื่องบนิมายงัตำาแหน่งบนเครื่องบนัทึกสญัญาณ (เครื่องALS Airborne Scanners )

- โปรแกรมสำาเรจ็รูปสำาหรบัการประมวลผลเปรยีบเทียบค่าพกิัดและค่าระดับบนเครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมทางภาคพื้นดิน(เปิดรบัสญัญาณตลอดเวลาในชา่งท่ีเครื่องบนิปฏิบติังาน)กับค่าพกิัดและค่าระดับ ของตำาแหน่งต่างๆขณะรบัสญัญาณจากเครื่องบนัทึกสญัญาณ

- การประมวลผลขอ้มูล การรบัสญัญาณ(Pulse) เชน่ 1) ถ้าเป็นป่า/ต้นไมป้กคลมุ การประมวลผลการบนัทึกขอ้มูล

ตำาแหน่งบนพื้นดินตำาแหน่งหน่ึง ประกอบด้วยการเก็บขอ้มูลจากยอดไม้(1st return from top tree) ,ใบไม(้ 2nd return from branches )และพื้นดิน( 3rd return from ground) หมายความวา่ ตำาแหน่ง 1 ตำาแหน่ง ประกอบด้วย 3 ค่า เราเลือกใช้ค่าระดับบนพื้นดิน( 3rd return from ground)เป็นหลัก สว่นค่าอ่ืนๆจะถกูตัดทิ้งไป(เราสามารถตรวจสอบค่าได้โดยการแสดงผลลัพธใ์นรูปของกราฟ) ถ้ามกีารขาดหายไปของสญัญาณเราก็สามารถวเิคราะหจ์ากกราฟได้วา่ค่าท่ีขาดหายไปควรเป็นค่าเท่าใดได้

ขอ้สงัเกต ไมจ่ำาเป็นท่ีจะเลือกใชค่้าระดับตำ่าสดุใชง้านเสมอไปขึ้นอยูก่ับสภาพความเป็นจรงิดังนัน้

จำาเป็นต้องมกีารสำารวจภาคสนามเพื่อศึกษาสภาพพื้นที่ท่ีเป็นจรงิ และควรอยา่งยิง่ท่ีจะต้องมกีาร

ทำาแผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทสรีะบบดิจติอลควบคู่เพื่อใชส้ำาหรบัตรวจสอบสภาพภมูปิระเทศท่ีเป็นจรงิทำาใหข้อ้มูล DEM มคีวามถกูต้องมากยิง่ขึ้น

2) ถ้าเป็นสะพานขา้มโค้งสงูขา้มคลอง เราต้องเลือก(1st return )

3) ถ้าหากมกีารลบขอ้มูลแบบอัตโนมติัแล้วปรากฏวา่ขอ้มูลท่ีแท้จรงิหายไป เชน่ ถนนที่ยกระดับสงูจากพื้นนาและใชส้ำาหรบัทำา

Page 9: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

เป็นเสน้ปิดล้อมพื้นท่ี จำาเป็นต้องดำาเนินการนำาเขา้ขอ้มูลถนนนัน้ๆมาเพิม่เติมใหมเ่พื่อใหม้ีปรมิาณขอ้มูลและความถกูต้องมากยิง่ขึ้น ตรวจสอบสภาพพื้นท่ีได้จากแผนที่ภาพถ่ายออรโ์ทสี(ADS) โครงการน้ีกำาหนดไวท้ัง้หมด 5 ระดับ(1st ,2nd , 3rd , 4th , 5th )

เราสามารถนำาค่าการสะท้อนกลับของสญัญาณ(Pulse)มาพล๊อตกราฟ ชว่ยในการตัดสนิใจวเิคราะหพ์ื้นท่ีได้อยา่งถกูต้องและแมน่ยำามากยิง่ขึ้นนอกเหนือจากการทำาแผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทสี

4. การตรวจสอบ - เกณฑ์งานความถกูต้องทางดิ่ง 50 เซนติเมตร จุดตรวจ

สอบ(ค่าทางดิ่ง) จำานวน 3,120 จุด (สำารวจด้วยกล้อง Total Stations) มค่ีาเกินเกณฑ์ จำานวน 100 จุด

- เกณฑ์งานความถกูต้องทางราบ 1.50 เมตร 5. การสรา้ง Surface โครงการน้ีแบง่พื้นที่ปิดล้อมออกเป็น 6 สว่น

แต่ละพื้นที่เราจะสามารถตรวจสอบค่าตำ่าสดุของแต่ละเสน้รูปปิด เพื่อนำามาใช้วเิคราะหห์าปรมิาณนำ้าในแต่ละเสน้รูปปิด นอกจากน้ียงัทำา Image Caching ทัง้ภาพออรโ์ทสแีละขอ้มูล DSM เพื่อการแสดงผลท่ีรวดเรว็

6. การวเิคราะหห์าปรมิาตรของพื้นท่ีรบันำ้าน้ีใชโ้ปรแกรมสารสนเทศภมูศิาสตร ์รว่มกับโปรแกรมสำาหรบัวเิคราะหเ์ชงิสามมติิ(3D Analyst) ผลลัพธท์ี่ได้จะเป็น Text file ซึ่งแสดงปรมิาตร และพื้นที่ท่ีวเิคราะหด์้วย

1. การวเิคราะห์พื้นท่ีให้บรกิารคลองสง่นำ้า ด้วยโปรแกรม ArcGIS 9.2 ขัน้ตอนดังน้ี

ภาพที่ 1 แสดงขอ้มูลความสงูภมูปิระเทศเชงิเลข จากLIDAR พื้นท่ีปิดล้อมที่ 2 (ดพูื้นท่ีทัง้หมดในภาพที่ 5)ยงัไมป่รบัแก้ใดๆ(RAW DATA) นามสกลุ *.img ความละเอียดเฉล่ียทางดิ่งมคี่าเท่ากับ 0.50 เมตร.

Page 10: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

ภาพที่ 2 พื้นระดับสงูเชงิเลขภายหลังการปรบัพื้นใหเ้รยีบ(แก้ไขตำาแหน่งจุดที่ลึก/สงูเกินจรงิ เหมอืนก้นหอยหรอืเป็นเจดีย์) Image Caching

ภาพที่ 3 แสดงการวเิคราะหแ์นวทางการไหลของนำ้า (Flow Direction) สีฟา้แสดงท่ีตำ่า(1) จนถึง สดีำา แสดงท่ีสงู(128) มทัีง้หมด 8 ระดับคือ 1 , 2 , 4 , 8 , 16 , 32 , 64 , 128

ภาพที่ 4 แสดงความสามารถในการเก็บกักนำ้า(Flow Accumulation) แสดงด้วยแถบส ี

High สนีำ้าเงิน, แดงและ เหลืองLow พรอ้มแสดงด้วยเวคเตอรท์ี่เป็นสีท่ีแสดงทิศทางการไหลของนำ้าในพื้นที่ปิดล้อมท่ี 2(แสดงเวคเตอรจ์ำานวนหลายเสน้) จากการวเิคราะหเ์วคเตอรส์เีหลืองเป็นตำาแหน่งท่ีนำ้าไหลมารวมกัน จำาเป็นจะต้องจดัทำาระบบระบายนำ้าออกจากพื้นที่ ด้วยการวางท่อระบายนำ้า

ภาพที่ 5 แสดงพื้นท่ีรูปปิดจำานวน 6 รูป

สรุป เราสามารถแสดงทิศทางนำ้าไหลด้วยเวคเตอรภ์ายในพื้นที่ปิดล้อม จำานวน 6 รูป ชว่ยในการแสดงตำาแหน่งท่ีรวมของปรมิาณนำ้าในแต่ละพื้นท่ี เราจะสามารถทราบปรมิาณนำ้าในพื้นที่และกำาหนดตำาแหน่งระบายนำ้าออกจากพื้นที่

2. การวเิคราะห์พื้นท่ีรบันำ้า บนโปรแกรมสำาเรจ็รูป ArcGIS 9.2. ( 3D Analyst )ภาพที่ 6 แสดงการคำานวณปรมิาณนำ้า

บนกล่องโต้ตอบ Area and Volume Statistics - ชอ่ง Input surface กำาหนดชื่อและตำาแหน่งที่อยูข่องพื้นระดับสงู

เชงิเลข - ตรงReference parameters

Page 11: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

- ชอ่ง Height of plane กำาหนดความสงูของพื้นผิวนำ้าสงูสดุภายในพื้นท่ีรูปปิดท่ี 1(ชอ่งน้ีมคีวามสำาคัญมาก ถ้าต้องการเก็บกักนำ้าในพื้นท่ีรูปปิดที่ค่าระดับใดๆ เราสามารถพมิพค่์าระดับลงชอ่งน้ีได้ตามต้องการ)

- ตรง Output statistics กดปุ่ม Calculate statistics- ผลลัพธ ์แสดง ดังน้ี

2D area(พื้นท่ีบนกรดิ)ตารางเมตรSurface area(พื้นท่ีตามพื้นผิว)ตารางเมตรVolume(ปรมิาณนำ้าหน่วยลกูบาศก์

เมตร)

9431496.45 19478027.89 37766767.50

ทำาการเลือกเชก็บอ็ก Save/append statistics to text file และตัง้ชื่อไฟล์เพื่อเก็บ

ภาพที่ 7 แสดงการสรา้งอาคารแบบ 3D ด้วยโปรแกรมสำาหรบัวเิคราะหส์ามมติิ(3D Analyst) สามารถแสดงรว่มกับแผนที่ภาพถ่ายออรโ์ทส ี(มวีธิกีารคือนำาชัน้ขอ้มูลบา้น(เสน้รูปปิด) มาวางบน ชัน้ขอ้มูลSurface ต่อจากนัน้ทำาการยดื(Extrude) ความสงูของบา้นตามความสงูจรงิ(ต้องมฟีวิล์แสดงค่าความสงูและหรอื/จำานวนชัน้ ความสงูชัน้ละ 4 เมตร) เราสามารถนำาชัน้ขอ้มูลอ่ืนๆมาวางบนชัน้ขอ้มูลSurface ได้ตามต้องการ เชน่ ถนน ต้นไม้(เป็น จุด ) โปแกรมน้ีมสีญัลักษณ์ บา้นเป็น 3D ต้นไม ้เป็น 3D ถนน เป็นลวดลายพื้นถนนลาดยาง สามารถเลือกใชง้านได้ตามต้องการ เมื่อใชเ้มนู Fly Tool ทำาใหเ้หน็สภาพภมูปิระเทศเสมอืนจรงิ (โปรแกรม ArcGIS 9.2 สว่นโปรแกรม SkyLineก็สามารถสรา้งบา้นแบบ 3D ได้เชน่กัน)

Page 12: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

ภาพที่ 8 แสดงภาพสามมติิจากขอ้มูล โดยการนำาพื้นระดับสงูเชงิเลขมาซอ้นขา้งใต้แผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทส ีทำาใหม้องเหน็สภาพภมูปิระเทศเหมอืนจรงิและสามารถ Fly Through ได้ครบั

ขอ้สงัเกต แนวทางในการประยุกต์ใชง้าน ขอ้มูลGIS(Arc View 9.2) และ ขอ้มูล Surface( 3 D Analyst) ดังน้ี

ชัน้ขอ้มูลท่ี 1 เป็นSurface (Raster)ชัน้ขอ้มูลท่ี 2 เป็น ถนน (Line)ชัน้ขอ้มูลท่ี 3 เป็น บา้น (Polygon)ชัน้ขอ้มูลท่ี 4 เป็น ต้นไม ้(Point)

กรณีที่ 1 ถ้านำาภาพทัง้ 4 ชัน้ขอ้มูลมามองในรูป 3 D ผลลัพธ ์- ชัน้ขอ้มูลท่ี 1 อยูส่งูจากพื้นและมคีวามสงูตำ่าตามตำาแหน่งและระดับ

จรงิของภมูปิระเทศ - ชัน้ขอ้มูลท่ี 2 – 4 ซึ่งสรา้งบน 2D จะอยูต่ำ่ากวา่ชัน้ขอ้มูลที่ 1 และกอง

รวมกัน ในกรณีมองจากด้านขา้ง( Side View)กรณีที่ 2 นำาชัน้ขอ้มูลท่ี 2 ถนน มาวางบน ชัน้ขอ้มูลที่ 1 Surface ผลลัพธ ์

- ชัน้ขอ้มูลท่ี 2 ถนนทกุเสน้ จะวางซอ้นทับบนชัน้ขอ้มูลท่ี 1 และถนนจะมีความสงู- ตำ่าไปตามพื้นที่ (Surface) เราสามารถเปล่ียนสญัลักษณ์ เป็นพื้นภาพถนนลาดยาง/คอนกรตีได้ ทำาให้

ถนนเป็นเสมอืนจรงิกรณีที่ 3 นำาชัน้ขอ้มูลท่ี 3 บา้น (มฐีานขอ้มูล หรอืมฟีวิส์(Field) ความสงูของอาคาร/จำานวนชัน้ ทำาการเพิม่ความสงูของอาคาร(Extrude) ) มาวางบน ชัน้ขอ้มูลท่ี 1 Surface ผลลัพธ์

- ชัน้ขอ้มูลท่ี 3 บา้นทกุหลัง เป็นรูป 3 D ตามความสงูจรงิ และวางซอ้นทับบนชัน้ขอ้มูลท่ี 1 Surface ขัน้ตอนน้ีเราอาจสรา้งความสงูของอาคารภายหลังการนำาชัน้ขอ้มูลท่ี 3 มาวางบน ชัน้ขอ้มูลท่ี 1 ก่อน ก็ได้

Page 13: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

กรณีที่ 4 นำาชัน้ขอ้มูลท่ี 4 ต้นไม ้(ทำาการเลือกสญัลักษณ์ต้นไม ้เป็นรูป 3D) วางบน ชัน้ขอ้มูลท่ี 1 Surface ผลลัพธ์

- ชัน้ขอ้มูลท่ี 4 ต้นไมท้กุต้น เป็นรูป 3D วางตัวบน ชัน้ขอ้มูลที่ 1 Surface ขัน้ตอนน้ีเราอาจกำาหนดต้นไมแ้บบ 3 D ภายหลังการนำาขึ้นมาวางบน ชัน้ขอ้มูลที่ 1 ก่อนได้

จากขอ้มูลขา้งต้น จงึ ไมจ่ำาเป็นต้องสรา้งชัน้ขอ้มูลต่างๆบนสภาวะ 3D (มองภาพ แบบ Stereo Pairs)

การผลิตแผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทสี ถ่ายรูปด้วยกล้องถ่ายรูประบบดิจติอล ADS40

Page 14: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

ขอ้มูลเบื้องต้น 1.. ground sample distance(GSD) 20 cm.2. maximum terrain height 10 m.3.flying altitude above mean sea level MSL 1,929 m.4.swath width over min.height 2,400 m.

ขัน้ตอนการปฏิบติังานการผลิตแผนที่ภาพถ่ายออรโ์ทส ี1. เครื่องมอื/อุปกรณ์ และอ่ืนๆ อากาศยาน เครื่องถ่ายรุประบบดิจิ

ตอล ADS เครื่องรบัสญัญาณดาวเทียม GPS ชนิดสองความถ่ี(Dual Frequency receiver)พรอ้มเสาอากาศรบัสญัญาณดาวเทียมติดตัง้บนอากาศยานและเครื่องรบัสญัญาณดาวเทียมบนภาคพื้นดิน(Base Station) อุปกรณ์นำารอ่งการบนิ ประกอบด้วยโน้ตบุค๊และซอฟแวร ์(กำาหนดแนวบนิไวล่้วงหน้าบนจอภาพ เมื่อต้องบนิแนวบนิใดใหเ้รยีกแนวบนินัน้มาแสดงบนจอภาพ ทำาใหส้ามารถมองเหน็ตำาแหน่งเครื่องบนิและแนวบนิพรอ้มๆกัน ชว่ยอำานวยความสะดวกในการบนิเป็นอยา่งมาก) นักบนิ เจา้หน้าที่ควบคมุการบนัทึกขอ้มูลรูปถ่าย การบนัทึกขอ้มูลรูปถ่าย

2. การวางแผนการบนิ นำาแผนที่ภมูปิระเทศ มาตราสว่น 1:50,000 ของกรมแผนท่ีทาหารมากำาหนดขอบเขตพื้นที่โครงการ ประมาณ 100 ตารางกิโลเมตร วางตัวตามแนวเหนือ-ใต้ กำาหนดจำานวนแนวบนิ 8 แนวบนิ

3. การบนิถ่ายรูปถ่ายทางอากาศ ด้วยกล้องถ่ายภาพระบบดิจติอล - ความสงูบนิ ประมาณ 1,929 เมตร - Resolution (Pixel) 20 เซนติเมตร ( ผมนำาภาพมาแสดง

จำานวน 4 รูป ขอใหท้่านนำาไปพจิารณาดวูา่ชื่นชอบหรอืไมเ่พยีงใด โดยทำาการคัดลอกภาพไปวางบนWord แล้วทำาการขยายดภูาพทีละภาพก็จะชว่ยมองเหน็ได้ชดัเจนยิง่ขึ้น นะครบั )4. การทำาแผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทส ี(Orth Photo Map) การประมวล

ผล ประกอบด้วย พื้นระดับสงูเชงิเลขจากLIDARและรูปถ่ายทางอากาศสรีะบบดิจติอล

Page 15: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

5. การต่อแผนที่ภาพถ่ายออรโ์ทส ี (Mosaic) ด้วยการสรา้งเสน้Cut Line เพื่อใชส้ำาหรบัการเชื่อมต่อแผนท่ีภาพถ่ายแต่ละภาพ(ขัน้ตอนน้ีต้องต่อแผนที่ภาพถ่ายทีละภาพในแนวบนิเดียวกันจนครบ ต่อจากนัน้นำาแต่ละแนวบนิมาเชื่อมต่อกันจนครบเชน่กัน)

การสำารวจทำาแผนที่ด้วยระบบLIDAR จำาเป็นท่ีจะต้องจดัทำาแผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทสคีวบคู่ เพื่อใชป้ระกอบการพจิารณาในการวเิคราะหพ์ื้นระดับสงูเชงิเลขใหม้คีวามถกูต้องยิง่ขึ้น

ภาพที่ 1 แสดงภาพวดั วดัหน่ึงในอำาเภอบางบาล

ภาพที่ 2 แสดงภาพเรอืขนถ่ายสนิค้ารมิฝ่ังแมน่ำ้าน้อย

ภาพที่ 3 แสดงภาพรถบรรทกุและเสน้แบง่กึ่งกลางถนน สามารถมองเหน็ได้ชดัเจนมากๆ

ภาพที่ 4 แสดงภาพเตาเผาเครื่องปั้ นดินเผา(ผมแปลความเองครบั ทีแรกแปลวา่เป็นกองฟาง แต่ทีมงาน และเจา้หน้าท่ีเทคนิคจากบรษัิท ESRI บอกวา่น่าจะเป็นเตาเผา ถกูต้องประการใดชว่ยชีแ้นะด้วย)

ขอ้ควรคำานึงเกี่ยวกับการจดัจา้งผลิตพื้นระดับสงูเชงิเลขด้วยLIODAR พื้นท่ี 100 ตารางกิโลเมตรเป็นอยา่งน้อย ระยะเวลาปฏิบติังาน 3 เดือน

ค่าใชจ้า่ย ตารางกิโลเมตรละ 15,000 บาท(ค่าเชา่เครื่องบนิพรอ้มนำ้ามนัเชื้อเพลิง ค่าเบีย้เล้ียงและอ่ืนๆที่เกี่ยวขอ้งกับการบนิ , ค่าเชา่อุปกรณ์LIDAR(จากต่างประเทศ) , ค่าเชา่อุปกรณ์ถ่ายรูปสรีะบบดิจติอล )

ผลลัพธท์ี่ได้ ประกอบด้วย แผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทส ี , พื้นระดับสงูเชงิเลข ได้จากค่าระดับท่ีมรีะยะหา่งของจุดระดับแต่ละจุดเท่ากับ 1 เมตร (ความถกูต้องทางราบ 1.5 เมตร , ทางดิ่ง 50 เซนติเมตร)มจุีดตรวจสอบ(Checked Point)

Page 16: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน

การวเิคราะห์ ทิศทางการไหลของนำ้า (อันดับแรก ทำาการวเิคราะห์ทิศทางการไหลของนำ้าแสดงด้วยเฉดสต่ีางๆ อันดับสอง ทำาการวเิคราะห์ทิศทางการไหลของนำ้าแสดงด้วยเวคเตอร ์ทำาใหส้ามารถตอบคำาถามได้วา่ควรจะติดตัง้ท่อบรเิวณใด , จำานวนกี่ท่อ ), การคำานวณปรมิาณเก็บกักนำ้าของพื้นที่ศึกษา

การผลิตแผนที่ภาพถ่ายออรโ์ทส ี การสำารวจทำาแผนท่ีด้วยระบบ LIDAR ควรต้องควบคู่ไปกับการผลิตแผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทส ี เพื่อใชเ้ป็นเครื่องมอืชว่ยตรวจสอบซึ่งกันและกัน เพราะขอ้มูลLIDAR ได้ผลลัพธเ์ป็น DEM และเสน้ชัน้ความสงู( ไมส่ามารถมองเหน็สภาพภมูปิระเทศ อาจทำาใหก้ารแปลความขอ้มูลผิดพลาดได้ เชน่ ถนนท่ีใชเ้ป็นเสน้ปิดล้อมในการวเิคราะหห์าปรมิาณนำ้าเก็บกักหายไป ) สว่นแผนท่ีภาพถ่ายออรโ์ทสไีด้จากขอ้มูลรูปถ่ายระบบดิจติอลได้นำาDEMจากขบวนการLIDAR มาใชใ้นการผลิตแผนที่ภาพถ่ายออรโ์ทส ี ทำาใหเ้ราสามารถตรวจสอบรายละเอียดภมูปิระเทศได้สะดวกและถกูต้องมากยิง่ขึ้น

เครื่องมอื/อุปกรณ์ ฮารด์แวรท่ี์มสีมรรถนะสงูๆ อันเนื่องมาจากปรมิาณขอ้มูลเป็นจำานวนมาก มกีารเก็บบนัทึกค่าระดับทกุๆ 1 เมตร

หน่วยงานท่ีรบังานสำารวจLIDAR : บรษัิท ESRI ประเทศไทย ภาควชิาวศิวกรรมสำารวจ จุฬาฯ ฯลฯ

ตัวอยา่งการประมวลผลและวเิคราะห์

Page 17: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน
Page 18: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน
Page 19: kromchol.rid.go.thkromchol.rid.go.th/survey/engineer/word/78lidar.doc · Web view- Resolution (Pixel) 20 เซนต เมตร ( ผมนำภาพมาแสดงจำนวน