58
บทที ระบบย่อยอาหาร และการสลายสารอาหารระดับเซลล์ โดย .. ครูปินัช ยา นาคจารูญ

บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559

Embed Size (px)

Citation preview

บทท่ี ระบบยอ่ยอาหาร และการสลายสารอาหารระดับเซลล์

โดย..ครูปนิชัยา นาคจ ารญู

นักเรียนคิดว่า ในการเล่นกีฬาดังภาพผู้เล่นต้องอาศัยพลังงาน และการท างานที่สัมพันธ์ของระบบต่างๆ พลังงานเหล่านั้นมาจากไหน และระบบ

ต่างๆท างานสัมพันธ์กันอย่างไร

นักเรยีนคดิว่า ในการเลน่กฬีาดงัภาพผูเ้ลน่ตอ้งอาศยัพลงังาน และการท างานทีส่มัพันธข์องระบบตา่งๆ พลังงานเหลา่นัน้มาจากไหน และระบบ

ต่างๆท างานสมัพนัธก์ันอยา่งไร

ในการท ากจิกรรมใดๆ ก็ตามตอ้งอาศยั...

การท างานทีส่ัมพนัธก์นัของระบบตา่งๆในรา่งกาย รวมถงึตอ้งใชส้ิง่ส าคญัทีเ่รยีกวา่.. “พลังงาน”

“อาหาร ถือ เป็นแหลง่พลงังานของร่างกาย”

ระบบยอ่ยอาหาร (Digestion System )

คือ กระบวนการท่ีร่างกายเปลี่ยนสภาพอาหารให้มีขนาดเล็ก พอท่ีร่างกายจะดูดซึม และน าไปใช้ได้ (หน่วยย่อยของอาหาร)

4.1 การย่อยอาหารของจลิุนทรยี ์และส่ิงมีชวีติเซลล์เดียว

โดย..ครูปนิชัยา นาคจ ารญู

4.1 การยอ่ยอาหารของจลุนิทรยี ์และสิ่งมชีวีติเซลลเ์ดยีว

ราและแบคทีเรีย มีการย่อยแบบภายนอกเซลล์ (Extracellular digestion) โดยจะสง่น้ ายอ่ยออกมายอ่ยใหข้นาดเลก็กอ่น แล้วจงึดดูซมึเขา้เซลล ์

ราและแบคทเีรยี

เซลลโ์พรคารโิอต (Prokaryotic Cell)

4.2 การยอ่ยอาหารของสิง่มชีวีติเซลลเ์ดยีว

อะมีบา พารามีเซียม มีการย่อยแบบภายในเซลล์ (Intracellular digestion) โดยจะมวีธิกีารน าอาการเขา้ท่ีตา่งกนั เชน่ อะมีบา ใช้วิธ ีฟาโกไซโตซสิ ส่วนพารามีเซียมอาหารจะเข้าทางร่องปาก โดยวิธีพิโนไซโทซิส เข้ามาในรูปแบบของ Food Vacuole แล้วถูกย่อยโดยไลโซโซมต่อไป

4.2 การยอ่ยอาหารของสิง่มชีวีติเซลลเ์ดยีว

4.2 การยอ่ยอาหารของสิง่มชีวีติเซลลเ์ดยีว

4.2 การยอ่ยอาหารของสิง่มชีวีติเซลลเ์ดยีว

การย่อยอาหารของอะมบีา

การย่อยอาหารของอะมบีา

การย่อยอาหารของพารามเีซยีม

การย่อยอาหารของพารามเีซยีม

สรปุการยอ่ยอาหารของจลุนิทรยี ์

ชนิดสิง่มชีวีติ ระบบทางเดนิ

อาหาร วิธีการกนิ ลักษณะการยอ่ยอาหาร

รา และแบคทเีรยี ไม่ม ีการยอ่ยอาหารนอก

เซลล ์

สร้างน้ ายอ่ยออกมา แลว้สง่ไปนอกเซลลเ์พือ่สารโมเลกลุใหญใ่น

เล็กลง แลว้ดดูซมึเขา้เซลล ์

อะมบีา ไม่ม ี ฟาโกไซโทซสิ ย่อยในฟดูแวควิโอล

พารามเีซยีม

ไม่ม ี

พิโนไซโทซสิโดยการพัดโบกของซเีลยี

ย่อยในฟดูแวควิโอล

4.2 การย่อยอาหารของสัตว ์

โดย..ครูปนิชัยา นาคจ ารญู

1) ฟองน้ า (Sponge)

ล าตัวมีรูโดยรอบ มีช่องว่างกลางล าตัว ที่ผนังด้านในมีเซลล์ที่ย่อยอาหาร เซลล์โคเอโนไซต์ (Choanocyte) มีแฟลกเจลลัมคอยพัดโบกอาหาร (<1 ไมครอน) แล้วน าเข้าเซลล์ โดยวิธีฟาโกไซโตซิส

เซลล์อะมิโบไซต์ จ าน าอาหาร (5-50 ไมครอน) โดยวิธีฟาโกไซโตซิสเช่นกัน

เพิ่มเตมิ

อาหารของฟองน้ าได้แก่ แบคทีเรีย และอินทรียสารต่างๆ ถือว่าไม่มีทางเดินอาหาร น้ าเข้าทางรูด้านข้าง เรียกว่า “ออสเทีย” และออกทางรูด้านบนเรียกว่า “ออสคิวลัม”

ฟองน ำ้ (Sponge)

ฟองน ำ้ (Sponge)

ฟองน ำ้ (Sponge)

ฟองน ำ้ (Sponge)

ฟองน ำ้ (Sponge)

2)ไฮดรา ( Hydra )

มีทางเดนิอาหารเปน็แบบปากถงุ มีเขม็พษิ (Nematocyst) อยู่บรเิวณหนวด (Tentacle) อาหารจะเข้าสู่ เข้าสู่ช่องกลางล าตัว (Gastrovascular Cavity) ที่ผนังด้านในประกอบด้วยเซลล์ ที่เรียกว่า แกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) อาหารของไฮดราคอื ตัวอ่อนของกุง้ ปู และไรน้ าเลก็ๆ

ไฮดรำ

แกสโตรโดรมสิ (Gastrodermis)

1)นิวทรทิิพ เซลล ์(Nutritive cell)

เซลลท์ีม่แีซ ่2 เส้น เรียกวา่ แฟลเจลเลตเซลล ์(Flagellate cell) เซลลท่ี์คลา้ยอะมบีา เรียกวา่อะมบีอยดเ์ซลล ์(Amoebiol cell) จะยอ่ยอาหารโดยใชร้ปูแบบ ฟาโกไซโทซสิ (หลงัจากเซลลต์อ่มยอ่ยแลว้)

2) เซลลต์่อมหรอืเซลลย์อ่ยอาหาร (Gland cell or digestive cell)

เป็นเซลลท่ี์สรา้งน้ ายอ่ยและปลอ่ยออกมา จัดเป็นการยอ่ยอาหารแบบนอกเซลล ์ เมือ่อาหารมขีนาดเลก็ลงกจ็ะถกูนวิทรทิพิ เซลล ์น าไปยอ่ยภายในเซลลต์อ่ไป

ไฮดรำ

ชั้นแกสโตรโดรมสิ (Gastrodermis) ประกอบดว้ย

1) เซลลย์อ่ยอาหาร หรือนิวทริทพิ เซลล ์(Nutritive cell)

ไฮดรำ

1) เซลลย์อ่ยอาหาร หรือนิวทริทพิ เซลล ์(Nutritive cell)

ไฮดรำ

ชั้นแกสโตรโดรมสิ (Gastrodermis) ประกอบดว้ย

1) เซลลย์อ่ยอาหาร หรือนิวทริทพิ เซลล ์(Nutritive cell)

ไฮดรำ

ชั้นแกสโตรโดรมสิ (Gastrodermis) ประกอบดว้ย

1) เซลลย์อ่ยอาหาร หรือนิวทริทพิ เซลล ์(Nutritive cell)

3)หนอนตวัแบน ( Flat worm )

เชน่ พลานาเรยี จะมทีางเดนิอาหารทอดยาวและแตกแขนงไปตามล าตวั จะมีปาก และคอยหอย ยื่นออกมาเป็นท่อ เพื่อเป็นทางเข้าของอาหาร ของเสียหรือกากอาหาก็จะออกทางปาก ถือเป็นทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์

3)หนอนตวัแบน ( Flat worm )

4) ไส้เดือนดนิ (Earthworm)

มีระบบทางเดนิอาหาร ประกอบดว้ยปาก ซึ่งเป็นรเูปดิของปล้องทีห่นึ่ง ต่อจากปากกจ็ะเปน็ช่องปาก คอหอยมกีลา้มเนื้อหนาชว่ยในการฮบุกิน กระเพาะพักอาหารและมกีึน๋ช่วยในการบดอาหาร ล าไสย้อ่ยอาหาร และดดูซมึเขา้สูร่ะบบเลือด และปล่อยของเสียออกทางทวารหนัก ถือเป็นทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์

4) ไส้เดือนดนิ (Earthworm)

ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะพกัอาหาร

กึ๋น ล าไส ้ ทวารหนกั

5) แมลง (Insect)

ทางเดนิอาหารแบบชอ่งเปิด 2 ทาง ปากมกีารเปลีย่นแปลงและแตกตา่งออกไป เช่นกดั/ดดู พื้นฐานของทางเดนิอาหารทีเ่หมอืนกนั คือ ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะพกัอาหาร กึ๋น กระเพาะอาหาร ล าไส ้และทวารหนกั

5) แมลง (Insect)

6) การยอ่ยอาหารของสตัวก์นิพชื

6) การยอ่ยอาหารของสตัวก์ินพชื

การมทีางเดนิอาหารท่ียาวมากๆ ยาวถงึเกอืบ 40 เมตร ท าใหร้ะยะเวลาในการยอ่ยและการดดูซมึสารอาหารนานยิง่ขึน้ (ต้องใชจ้ลุนิทรยีช์ว่ยยอ่ย) มกีระเพาะอาหาร 4 ส่วน คือกระเพาะผา้ขีร้ิว้ (Rumen), กระเพาะรงัผึง้ (reticulum), กระเพาะสามสบิกลบี (omasum), กระเพาะจรงิ (อะโบมาซมั)

6) การยอ่ยอาหารของสตัวก์ินพชื

อวัยวะในระบบยอ่ยอาหารของคน

ปากและโพรงปาก

เป็นอวยัวะสว่นแรกของระบบทางเดนิอาหาร มีหนา้ท่ีเป็นทางเขา้ของอาหาร เมื่ออาหารเขา้สูป่าก จะถกูบดดว้ยฟนั มลีิน้ชว่ยคลกุเคลา้อาหารใหเ้ข้าน้ าลาย

1.1 ฟัน (Teeth)

มีหนา้ทีใ่นการตดั ฉีก และบดอาหาร แบ่งเปน็ ฟันตดั ฟันฉกี ฟันกรามหนา้ ฟันกรามหลงั

1.2 ลิ้น (Tongue)

บอกต าแหนง่อาหาร กลืนอาหารและเปลง่เสยีง และมหีนว่ยรบัรสอาหาร และคลกุเคลา้อาหาร แล้วชว่ยสง่อาหารตอ่ไป

1.3 ต่อมน้ าลาย

สร้างน้ าลาย ซึ่งประกอบด้วย เอนไซม์ อะไมเลส น้ า และเมอืก มี 3 คู่ คือ ต่อมน้ าลายใต้ลิน้ ใต้ขากรรไกร และขา้งกกห ู

การหลัง่น้ าลาย

การหลัง่น้ าลายออกมาวนัละ 1,000 - 1,500 ลูกบาศกเ์ซนตเิมตร จะเกดิเมือ่ระบบประสาทถกูกระตุน้ เช่น การมองเหน็อาหาร กลิน่อาหาร รสอาหาร หรือความนกึถงึอาหาร

คอหอย (Pharynx)

เป็นจดุเชือ่มระหวา่งโพรงจมกูกบัปาก เมื่อเริม่การกลนื เพดานอ่อน ยกขึน้ปดิช่องจมกู ฝาปดิกลอ่งเสยีง จะปดิหลอดลม

คอหอย (Pharynx)

หลอดอาหาร (Esophagus)

ยาวประมาณ 25 ซม. ไม่มตีอ่มท่ีท าหนา้ทีส่รา้งน้ ายอ่ย เกิดการหดตวัเป็นลกูคลืน่ของผนงักลา้มเนือ้หลอดอาหาร เรียกวา่ เพอรสิทัลซสิ ไล่ ให้อาหารตกลงสูก่ระเพาะอาหาร

กระเพาะอาหาร (Stomach) อยู่ภายในชอ่งท้องดา้นซา้ยใตก้ะบังลม ยืดขยายไดด้ ี แข็งแรงมาก ขยายความจไุด้ถึง 500 – 2,000 ลูกบาศกเ์ซนตเิมตร กล้ามเนือ้หรูดูอยู ่2 แห่ง คือท่ีตอ่กบัหลอดอาหาร และทีต่อ่กบัล าไสเ้ลก็ พบเอนไซมท์ีส่ าคญั 2 ชนิด คือ เปบซนิ และเรนนนิ

กระเพาะอาหาร (Stomach)

มีเซลลส์ าคญั 3 เซลล ์ สรา้งเมอืก สรา้งไฮโดรคลอรกิ และเพปซโินเจน เมื่ออาหารมาถงึ จะหลัง่ฮอรโ์มนแกสตรนิ กระตุน้การสรา้งไฮโดรคลอรกิ ซึ่งจะเปลีย่นเพปซโินเจน เป็นเปบซนิที่พรอ้มยอ่ยโปรตนี ส่วนเมอืกจะชว่ยเคลอืบเยือ่บุกระเพาะอาหารไว ้ไม่ใหถ้กูท าลาย

เรื่องนา่รูเ้กีย่วกบักระเพาะอาหาร

เซลลข์องกระเพาะอาหารถกูท าลายตลอดเวลา แตก่ส็รา้งทดแทนตลอดเวลา การเกดิแผล เกิดจากกนิอาหารไมต่รงเวลา การดืม่เครือ่งดืม่ทีม่คีาเฟอนีท าใหก้ารสรา้งเมอืกนอ้ยกวา่ปกต ิและการพกัผอ่นไมเ่พยีงพอสง่ผลตอ่การสรา้งกรดไฮโดรคลอรกิมากกวา่ปกต ิ

ล าไสเ้ลก็ (Small intestine) มีลกัษณะเป็นท่อยาวประมาณ 6-7 เมตร กว้าง 2.5 เซนตเิมตร แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดูโอดนีมั (Duodenum) ยาวประมาณ 25 เซนตเิมตร เจจนูมั(Jejunum) ยาวประมาณ 2.5 เมตร และไอเลยีม (Ileum) ยาวประมาณ 4 เมตร

เมื่ออาหารถงึดโูอดนีมั ตับออ่นสรา้ง NaHCO3 เพื่อลดความเป็นกรด

ล าไสเ้ลก็ (Small intestine) ผนังมลีกัษณะคลา้ยนิว้มอื เรียกวา่ วิลลสั (Villus) เอนไซมท่ี์สรา้งเอง ได้แก ่มอลเทส ซูเครส แลกเทส และ อะมโินเปบตเิดส เอนไซมท์ีต่บัอ่อนสรา้ง อะไมเลส ไลเปส ทริปซนิ คารบ์อกซเิพปทิเดส ส่วนตบัจะผลติน้ าด ีถือเป็นอวยัวะท่ีมกีารยอ่ยและดดูซมึมากท่ีสดุ (เจจนูมั)

ล าไสใ้หญ ่(Large intestine) กากอาหาร น้ า วิตามนิ และแรธ่าตบุางสว่นทีไ่มถ่กูดดูซมึจะเขา้สูล่ าไสใ้หญ่ ยาวประมาณ 1.5 เมตร กว้าง ประมาณ 7 ซม. ประกอบดว้ย ซีกมั(Caecum) โคลอน (Colon) และ ไสต้รง (Rectum) มีหนา้ทีด่ดูซมึน้ าและวติามนิบ ี12 และสง่กากอาหารออกทางไสต้รงตอ่ไป

ทวารหนกั (Anus)

เป็นกลา้มเนือ้หรูดู 2 ชั้น กลา้มเนือ้หรูดูทวารหนกัชัน้ใน ท างานนอกอ านาจจติใจ จะเปดิออกเมือ่กากอาหารถกูสง่เขา้สูไ่สต้รงจะมปีฏิกริยิารเีฟก็ซก์ระตุน้ แตก่ลา้มเนือ้หรูดูทวารหนกัอนันอกเปิดออกเมือ่รา่งกายตอ้งการ