25
1

คู่มือเตรียมสอบ สตง ข้อสอบนักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ข้อสอบสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

  • Upload
    -

  • View
    895

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

1

2

ขอบเขต ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับสํานักงานตรวจเงินแผนดิน 4 ประวตัิการตรวจเงินแผนดิน 4 อํานาจหนาที่ความรับผิดชอบขององคืกร 6 อํานาจหนาที่คณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน (คตร.) 7 ผูวาการตรวจเงินแผนดิน 7 สํานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน 8 วิสัยทัศนของสํานักงานตรวจเงินแผนดิน 9 ภารกิจของสํานักงานตรวจเงินแผนดิน 9 ภารกิจของสํานักงานตรวจเงินแผนดิน 9 สรุปสาระสําคัญกฎหมายอาญา 10 สรุปสารสะคญัประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 44 พรบ.ความรบัผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 97 พรบ.ความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ 2542 101 ความรูเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน 108 ระเบียบคระกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยวินัยทางงบประมาณ และการคลัง พ.ศ. 2544 140 ระเบียบสํานักนายกฯวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 152 พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน พ.ศ.2542 225 จรรยาบรรณและความรับผิดชอบในวิชาชีพการตรวจเงินแผนดินและ มาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม 249 แนวขอสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 254 แนวขอสอบ พรบ.วาดวยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ 257 แนวขอสอบระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยวินัยทางงบประมาณลากรคลัง 261 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ 276

3

ความรูทั่วไปเก่ียวกับสํานักงานตรวจเงินแผนดิน

ประวัติการตรวจเงินแผนดินไทย ในวันพุธข้ึน 9 ค่ํา เดือน 5 จุลศักราช 1237 ซึ่งตรงกับวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2418 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหตรา "พระราชบัญญัติสําหรับกรมพระคลังมหาสมบัติแลวาดวยกรมตางๆ ซ่ึงจะเบิกเงินสงเงิน" อันถือเปนตนกําเนิดของการตรวจเงินแผนดินในประเทศไทย ดังปรากฏในหมวดมาตราที่ 8 วาดวยออฟฟชหลวงในพระบรมมหาราชวังที่ภาษาอังกฤษเรียกวา "ออดิตออฟฟช" ขอ 1 กําหนดใหพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงแตงตั้งเจาพนักงานใหญที่อังกฤษเรียกวา ออดิเตอเยเนอราล พนักงานสําหรับตรวจบาญชีแลสิ่งของ ซึ่งเปนรายขึ้นในแผนดินทุกๆ รายและจะทรงตั้งเจาพนักงานรองที่อังกฤษเรียกวา ดีปุตีออดิเตอเยเนอราล อีกนายหนึ่งสําหรับจะไดวาการแทน เมื่อเวลาเจาพนักงานใหญผูตรวจไมอยู แลจะไดชวยการตามแตเจาพนักงานใหญผูตรวจจะใหชวยในเวลาเมื่อเจาพนักงานใหญผูตรวจอยู ฯ การจัดตั้งออฟฟชหลวงในขณะนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเกรงวาจะจัดตั้งไมสําเร็จ จึงรับหนาที่สวนการตรวจบัญชีตางกระทรวงมาทรงทําเอง ข้ึนในพระราชมณเทียรสถานใกลที่เสด็จประทับ แลวทรงเลือกสรรผูชวยพระราชธุระซึ่งทรงรับไปนั้นได กรมพระนเรศวรฤทธิ์ ซึ่งเพิ่งทรงเลาเรียนสําเร็จพระองคหนึ่งโปรดใหเปนหัวหนาพนักงานออฟฟชมาแตแรกตั้ง พระบาทสมเดจ็พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จลงทรงทําการที่ออฟฟชนั้นทุกวัน การก็สะดวกแกพระราชธุระตลอดไปจนถึงราชการอื่น การตรวจเงินแผนดินไทยสมัยรัชกาลที่ 6 ตั้งแตป พ.ศ.2453 ถึง พ.ศ. 2458 ยังคงมีรูปแบบเหมือนปลายสมัยรัชกาลท่ี 5 จนกระท่ังในป พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดทรงรื้อฟนเรื่องการจัดตั้งกรมที่ จะตรวจบัญชีและการเงินแผนดินขึ้นมาอีก เนื่องจากทรงเห็นวารายๆไดและรายจายของแผนดินมีมากข้ึนจําเปนตองตรวจตรา การรับจายและรักษาเงินใหรัดกุมย่ิงข้ึนกวาแตกอน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้งกรมตรวจเงินแผนดินขั้นในสังกัดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2458 และทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหนายอีฟลอริโอ เปนอธิบดีกรมตรวจเงินแผนดินคนแรก โดยที่กรมตรวจเงินแผนดินกับกรมบัญชีกลางมีความเกี่ยวพันกันอยูตลอดเวลา เพราะมีหนาที่ใกลชิดกันอยางมาก พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวจึงทรงมีพระบรมราชโองการใหสมทบกรมตรวจ เงินแผนดินเขากับกรมบัญชีกลางเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ.

4

2469 โดยมีเจาพระยาโกมารกุลมนตรีเปนอธิบดีกรมบาญชีกลางเปนผูควบคุมกรมตรวจ เงินแผนดิน หนาที่ในการตรวจถูกแบงออกเปน 3 แผนก และอีก 1 สวน ไดแก แผนกพลเรือนสามัญแผนกรัฐพาณิช แผนกราชการทหาร และสวนภูมิภาค จนกระท่ัง เมื่อป พ.ศ. 2475 หลังการเปล่ียนแปลงการปกครองเปนระบบประชาธิป ไตยโดยมีพระมหากษัตริยเปน ประมุข คณะกรรมการราษฎรเห็นวาการตรวจเงินแผนดินสังกัดอยูในกรมบัญชีกลาง กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ การตรวจตราตลอดจนการแสดงความเห็นสําหรับผลแหงการตรวจยอมไมเปนไปโดยอิสระ สมควรจะโอนกรมตรวจเงินแผนดินมาขึ้นตอคณะกรรมการราษฎร พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหมีประกาศโอนกรมตรวจเงินแผนดินไปขึ้นตอคณะ กรรมการราษฎร เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 โดยมีพระยานรนารถภักดี เปนผูชวยอธิบดีและหลวงดําริอิศรานุวรรต เปนผูทําการแทนอธิบดีกรมตรวจเงินแผนดินอยูจนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ในป พ.ศ. 2476 รัฐบาลเห็นสมควรใหการตรวจตราทรพัยสินของแผนดินเปนที่เชื่อถือแกประชาราษฎรมากขึ้น จึงตราพระราชบัญญัตวิาดวยคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน พ.ศ. 2476 จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินข้ึนแทนกรมตรวจเงินแผนดินเมื่อวันที ่9 ธันวาคม พ.ศ. 2476 มีฐานะเทียบเทากรม สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี โดยหลวงดําริอิศรานุวรรต ดํารงตําแหนงประธานคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินเปนคนแรก ตอมาในป พ.ศ. 2515 ไดมีการปรับปรุงระเบียบการบริหารแผนดินใหมตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 กําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินเห็นสวนราชการมีฐานะเปนกรม ไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีแตใหอยูในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี การตรวจเงินแผนดินระหวางป พ.ศ. 2475-2522 มีการจัดองคกรการทํางานโดยระบบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินซึ่งประกอบดวย ประธาน เลขาธิการ และกรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินเปนตําแหนงเทียบเทาอธิบดี เลขาธิการเทียบเทารองอธิบดีเปนขาราชการชั้นพิเศษ สวนกรรมการเปนขาราชการชั้นเอกระดับหัวหนากอง ตอมาไดประกาศใชพระราชบัญญติการตรวจเงินแผนดิน พ . ศ . 2522 โดยมีเนื้อหาเพื่อใหมีการตรวจสอบการรับจายเก็บรักษาเงินและทรัพยสิน ของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจเปนไปโดยถูกตองและเรียบรอยมีประสิทธิภาพ ตามพระราชบัญญติฉบับนี้ นอกจากปรับเปล่ียนโครงสรางของสถาบัน ตรวจเงินแผนดินจากคณะกรรมการมาเปนรูปแบบที่มีผูอํานวยการสํานักงานฯ เปนผูรับผิดชอบงานของสํานักงานตรวจเงินแผนดินเพียงผูเดียวแลวยังเพิ่ม บทบาทการตรวจสอบ โดยใหสํานักงานตรวจเงินแผนดินมีอํานาจหนาที่

5

ตรวจสอบถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความประหยัดของการใชจาย เงินงบประมาณและตรวจสอบการจัดเก็บภาษีอากร ซึ่งเปนการพัฒนา บทบาทของสถาบันตรวจเงินแผนดินของไทยใหสอดคลองกับปฏิญญา สากลวาดวยการตรวจเงินแผนดิน ซึ่งสวนใหญการตรวจสอบจะครอบคลุม ดานการเงิน (Financial Audit) การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ (Compliance Audit) และการตรวจสอบการดําเนินงาน (Performance Audit) ปจจุบันการตรวจเงินแผนดินของไทยเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยการตรวจเงินแผนดิน พ . ศ . 2542 ซึ่งออกตามความในมาตรา 312 แหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ . ศ . 2540 ที่กําหนดใหการตรวจเงินแผนดิน กระทําโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดินที่เปนอิสระและเปนกลาง และตามบทเฉพาะกาล มาตรา 333 ไดกําหนดสาระสําคัญของกฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยการตรวจเงินแผนดินแระกอบดวย อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน อันไดแก การวางนโยบาย การใหคําปรึกษาและคําแนะนํา การเสนอแนะใหมีการแกไข ขอบกพรองเกี่ยวกับการตรวจเงินแผนดิน การกําหนดหลักเกณฑและวิธีพิจารณาใน เรื่องวินัยทางงบประมาณและการคลัง การกําหนดโทษปรับทางปกครอง การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางวินัยและงบประมาณและการคลังในฐานะที่เปน องคกรสูงสุด และการพิจารณาเลือกผูสมควรดํารงตําแหนงผูวาการตรวจเงินแผนดิน การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดิน และการจัดใหมีสํานักงานการตรวจเงินแผนดินที่เปนอิสระเพื่อดําเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การปฏิบัติงาน และการดําเนินการอื่น ดังนั้นการตรวจเงินแผนดินในปจจุบันจึงเปนองคกรตรวจสอบ อิสระและเปนกลาง ประกอบดวย คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน โดยใหเสนอรายงานผลการปฏิบัติงาน ตอสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี และมีคณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลัง ซึ่งมีอํานาจหนาที่พิจารณาและกําหนดโทษปรับทางปกครองเบื้องตน แกเจาหนาที่หรือ พนักงานของหนวยรับตรวจที่ฝาฝนมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐ

อํานาจหนาที่ความรับผิดชอบองคกร

เปนองคกรตรวจสอบอสิระและเปนกลาง ประกอบดวย คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน โดยมีการรายงานผลปฏิบัติงานดังนี้

6

1.สตง. จัดทํารายงานผลปฏิบัติงานประจําปเสนอตอสภาผูแทนราษฎร วฒุิสภา และคณะรัฐมนตรี

2.สตง. จัดทํารายงานผลปฏิบัติงานระหวางปเสนอตอสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรีตามความจําเปนและเหมาะสม (ม.49)

3.รายงานที่ผานการพิจารณาตาม (1) และ (2) ใหเผยแพรตอสาธารณชนได (ม.48 ว.3)

อํานาจหนาที่ คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (คตง.) 1.วางนโยบายการตรวจเงินแผนดิน (ม.15 ว.แรก) 2.ใหคําปรึกษาแกประธานรัฐสภาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของ คตง. (ม.15 (1)) 3.ใหคําแนะนําแกผายบริหารในการแกไขกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับเกีย่วกับการ

ควบคมุเงินของรัฐ (ม.15(2)) 4.กําหนดมาตฐานหรือมาตรการเกี่ยวกับการตรวจสอบการบริหารงบประมาณ

สําหรับหนวยรับตรวจ (ม.15(3)) 4.เปนองคกรชี้ขาดสูงสุดในกระบวนการทางวินัยทางงบประมาณและการคลัง (ม.

15(5)) 5.พิจารณาคัดเลือกผูวาการ (ม.15(6)) 6.แตงตั้งกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลังหรือนุกรรมการ (ม.15(11)(12)) 7.พิจารณาคํารองขอของสภาผูแทนราษฎร วุฒสิภา หรือคณะรัฐมนตรทีี่ขอให

ตรวจสอบ (ม.15(13)) 8.ออกระเบยีบ ขอบังคบั และประกาศตามอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการตรวจเงินแผนดิน

(ม.15(14)) 9.เสนอขอสังเกตและความเห็นตอคณะกรรมาธกิารพิจารณางบประมาณรายจาย

ประจําป ตามมาตรา 16 10.ออกระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับการบริหารท่ัวไป การบริหารงานบุคคล

การงบประมาณ การเงินและการคลัง และการดําเนินการอื่น ตามมาตรา 52

ผูวาการตรวจเงินแผนดิน 1. เปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการปฏิบัตงิานของ สตง. (ม.26) 2. ออกคําส่ังหรือขอบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ สตง. (ม.37(1))

7

3. กําหนดแผนการตรวจสอบ (ม.37(2)) 4. แตงตั้งเจาหนาที่ตรวจสอบ (ม.37(3)) 5. ใหคําปรึกษา ความเห็น หรือขอมูลแก คตง. (ม.37(5)) 6. จัดจางที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญ หรอืสํานักงานเอกชน (ม.37 (6)) 7. กําหนดคาสอบบัญช ีคาธรรมเนียมและคาตอบแทนอื่น (ม.37(7)) 8. รายงานผลการตรวจสอบตอ คตง. และคณะกรรมการวินัยฯ (ม.37(8)(9))

สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง.) 1. รับผิดชอบงานธุรการของ คตง. (ม.39(1)) 2. ตรวจสอบการเงินแผนดิน (ม.39(2))

- ตรวจสอบการรับจาย การเก็บรักษาและการใชจายเงินและทรัพยสิน รวมท้ังตรวจสอบผลการดําเนินงาน

- ตรวจสอบรายงานการรับจายเงินประจําปและงบแสดงฐานะการเงินแผนดิน - ตรวจสอบบัญชีทุนสํารองเงินตราประจําป - ตรวจสอบการจัดเก็บและการประเมินภาษีอากร คาธรรมเนียมและรายไดอื่น

3. จัดทํารายงานและติดตามผลการปฏิบัติงาน (ม.39(3)(4)) 4. ตรวจสอบเงินราชการลับหรือเงินที่มีลักษณะคลายกัน (ม.40)

คณะกรรมการวินยัทางงบประมาณและการคลัง มีอํานาจหนาที่พิจารณาและกําหนดโทษปรับทางปกครองเบือ้งตน แตเจาหนาที่หรือ

พนักงานของหนวยรับตรวจที่ฝาฝนมาตรการเกีย่วกับการควบคุมการเงินของรัฐที่คณะกรรมการกําหนด (ม.19)

วิสัยทัศนของสํานั กงานตรวจเงินแผนดิน ส. สรางสรรคผลงานใหเปนท่ียอมรับของสาธารณชน ต. ตรวจสอบเยี่ยงมืออาชีพอยางมีมาตรฐาน ง. งานรวดเร็ว เท่ียงธรรม ซ่ือสัตย อิสระและเปนกลาง

ภารกิจของสํานักงานตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเปนองคกรอิสระซ่ึงทําหนาท่ีตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและใหคําแนะนําเกี่ยวกับการเงินภาครัฐ รวมถึงวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ของงาน เพ่ือใหเกิดความ

8

สรุปสาระสําคัญกฎหมายอาญา

ความผิด เก่ียวกับทรัพย

หมวด 1 ความผิดฐานหลักทรัพยและวิ่งราวทรัพย

ความผิดตามหมวด 1 นีม้ี 2 ฐานความผิด คือ ความผิดฐานลักทรัพยและความผิด

ฐานวิ่งราวทรัพยมี 5 มาตราดวยกัน

มาตรา 334 ความผิดฐานลักทรัพย

ตัวบท ผูใดเอาทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวยไปโดยทุจริต ผูนั้น

กระทําความผิดฐานลักทรัพย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปและปรับไมเกินหกพันบาท

องคประกอบความผิด มาตรา 334 มอีงคประกอบความผิดดังนี้ 1. เอาไป 2. ทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอืน่เปนเจาของรวมอยูดวย 3. โดยเจตนา 4. โดยทุจริต

คําอธิบาย เอาไป หมายความวา เอาไปจากการครอบครองของผูอื่น ทั้งนี้จะเปนการที่

เจาของทรัพยครอบครองทรัพยนั้นเองหรือครอบครองโดยใหผูอื่นยึดถือทรัพยนั้นไวแทนก็ได การเอาไปจะเอาไปดวยวิธีอยางใดก็ไดแตตองเปนการทําใหทรัพยนั้นเคล่ือนที่

ไปจากที่เดิมในลักษณะที่จะพาเอาไปได การเอาไปนี้ตองเปนการเอาไปอยางถาวรในลักษณะเปนการตัดสิทธิของเจา

ทรัพย มิใชเปนการเอาไปชั่วคราว ปกติทรัพยที่ผูกระทําผิดเอาไปโดยทุจริตนั้นเปน

9

สังหาริมทรัพย แตการเอาไปซึ่งอสังหาริมทรัพยก็อาจมีการเอาไปได เชน ขุด เอาดินไป รื้อ เอาฝาบานไป เปนตน

การลักทรัพย เปนเรือ่งการเอาทรัพยของผูอืน่หรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวยไปจากการครอบครองของผูอืน่โดยทุจริต

การครอบครองทรัพย หมายถึงการยึดถือทรัพยโดยมีเจตนาที่จะยึดถือไวเพื่อตนเองและผูครอบครองมีฐานะเปนผูมีอํานาจเหนือทรัพยนั้นอยางแทจริง

ทรัพยของผูอ่ืนหรือที่ผูอ่ืนเปนเจาของรวมอยูดวย หมายความวาทรัพยที่เอาไปนั้นตองเปนทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย

ตัวอยางที่ 1 แดงเอาหนังสือซึ่งอยูในการครอบครองของดําไปโดยทุจริตแดงมีความผิดฐานลักทรัพย

ตัวอยางที่ 2ดํากับแดงเขาหุนกันซื้อหนังสือเลมหนึ่ง ขณะดําครอบครองหนังสือเลมนั้นอยู แดงเอาหนังสือนั้นไปโดยทุจริต แดงก็มีความผิดฐานลักทรัพยเชนกัน แมแดงจะมีสวนรวมเปนเจาของในหนังสือเลมนั้นอยูดวยก็ตาม

ขอสังเกต ตามตัวอยางที่ 2 ถาแดงเอาหนังสือเลมนั้นไปโดยทุจริตระหวางที่หนังสือเลมนั้นอยูในความครอบครองของแดง แดงมีความผิดฐานยักยอก ตามมาตรา 352

โดยเจตนา หมายความวาผูกระทําตองมีเจตนาตามมาตีรา 59 วรรคสอง โดยทุจริต หมายความวาเพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรได โดยชอบดวยกฎหมาย

สําหรับผูกระทําเองหรือผูอื่น

ตัวอยางคําพิพากษาฎีกา 1. คําพิพากษาฎีกาที่ 535/2500 โคของผูเสียหายติดรวมอยูในฝูงโคของจําเลย

ผูเสียหายแยกออกไมไดจึงพูดส่ังใหจําเลยดูไวใหดวยเดี๋ยวจะมาเอา จําเลยรับคําแลวพาฝูงโคไปบานและพาโคของผูเสียหายไป เปนความผิดฐานลักทรัพย

2. คําพิพากษาฎีกาที่ 519/2502 จําเลยเก็บกระเปาเงินของเจาทรัพยซึ่งเหน็บไวที่เอวแลวเล่ือนหลุดไปจากเอวในขณะที่ดูภาพยนตรใกลกัน ถือวาทรัพยยังคงอยูในความยึดถือของเจาทรัพยไมใชทรัพยที่อยูในสภาพของตกหาย เมื่อจําเลยเอาไปเสียยอมเปนความผิดฐานลักทรัพยมิใชยักยอกเก็บของตก

3. คําพิพากษาฎีกาที่ 179/2509 จําเลยลอบเปดกระเปาถือที่ผูเสียหายฝากจําเลยใหดูชั่วคราว แลวเอาสรอยกับธนบัตรไป เปนความผิดฐานลักทรัพยไมใชยักยอก

10

สรุปยอกฎหมายอาญา (มาตรา 288-398)

ความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกาย

(1) เจตนาฆา - ทําราย

(2) สรุปยอเก่ียวกับ “ประมาท” 1) ขาดความระมัดระวัง ไมระวังใหดี หรือดูใหดีก็จะรูวา 2) เกี่ยวกับเครื่องยนต 3) การหยอกลอ ลอเลน 4) มีความรูความสามารถ 5) มีหนาท่ีแตปลอยปละละเลย 6) เรื่องไมสมควรกระทําอื่นๆ

(3) การใชอาวุธปน ใหดูวามีโอกาสในการเลือกแทงหรือไม

(4) ตัวการรวมเพิ่มเจตนาใหหนักขึ้น

11

(5) ทํารายรางกาย ทํารายรางกายแตไมเปนอันตรายแกกายหรือจิตใจ (มาตรา 295, 80 มาตรา 391)

(6) ชุลมุนตอสู (มาตรา 294, 299)

- สูตรยอชุลมนุตอสู (มาตรา 294, 299) (เขาใจคนเดียว) - “3 คน – 2 ฝาย ตาย, สาหัส หามฯ, ปองฯ , ไมตองรับโทษ”

12

ความผิดเก่ียวกับเสรีภาพ (มาตรา 309 -321) (7) ความผิดตอเสรีภาพ (มาตรา 309) ตองมีการขู

ความผิดสําเร็จเมื่อ ผูถูกขู ... “ยอมทาํตาม ดวยความกลัว” 1) ผูถูกขูไมยอมทําหรือทําไมไดหรือ 2) ผูถูกขูไมกลัว

ขอสังเกต ในกฎหมายอาญา ถามีการขูตองคูกับกลัว , ถาหลอกจะคูกับหลงเชื่อ (เชน ฉอโกง) มิฉะนั้นจะเปนพยายาม

(8)หนวงเหนี่ยวกักขัง (มาตรา 310)

(9) พรากผูเยาว (มาตรา 317-319)

สรุป มาตรา 317 เปนกรณีพรากผูเยาวอายุไมเกิน 15 ป ไมวาผูเยาวนั้นจะเต็มใจไปดวยหรือไม กม็ีความผิด

สวนมาตรา 317 เปนกรณีพรากผูเยาวอายุเกิน 15 ป แตยังไมเกิน 18 ป โดยผูเยาวไมเต็มใจไปดวย ถาผูเยาวเต็มใจไปดวยก็ไมมีผิดตามมาตรา 318 นี ้ แตอาจจะมีความผิดตามมาตรา 319 ถาพาไปเพื่อหากําไรหรือเพื่อการอนาจาร

ความผิดเก่ียวกับช่ือเสยีง (มาตรา 326-333)

(10) หม่ินประมาท (มาตรา 326)

1) ตองเปนเรื่องที่เปนไปได การใสความ 2) ตองยืนยันขอเท็จจริง (การเปรียบเทียบ, การคาดคะเน, การทํานาย, ไมเปนการยืนยัน

13

สรุปสาระสําคัญประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย

ทรัพยสินและสวนของทรัพย ความหมายของทรัพยสินและทรัพยสิน

มาตรา 137 “ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง” มาตรา 138 “ทรัพยสนิหมายความรวมทั้ง ทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจ

มีราคาและอาจถือเอาได” จากบทบัญญัติดังกลาว สามารถแยกวิเคราะหศัพท คําวา “ทรัพย” คือ วตัถุทีม่ี

รูปราง สวนคําวา “ทรัพยสิน” คือวตัถุที่มีรปูรางหรือไมมีรูปรางก็ได ฉะนั้น ทรัพยตามมาตรา 137 จึงเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินตามมาตรา 138 ตองนําองคประกอบที่วา “อาจมีราคาและอาจถือเอาได” มาใชดวยแมจะมิไดระบไุวก็ตาม

“วัตถุมีรูปราง” หมายถึง ส่ิงที่มองเห็นดวยตา จับตองสัมผัสได ไมตองคํานึงถงึขนาดทรัพยบางอยางจึงไมอาจมองเห็นดวยตาเปลา หรือสัมผัสไดถนัดนัก เชน เชื้อโรคแตหากใชเครื่องมือขยายไดดวยกลองจุลทรรศน และมีรูปรางในตัวเองโดยลําพังก็ใชไดแลว ประเภทของทรัพย

1.อสังหาริมทรัพย มาตรา 139 “อสังหาริมทรัพย หมายความวา ที่ดินและทรัพยอันติดอยูกับ

ที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร หรือประกอบเปนอันเดยีวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเก่ียวกับที่ดนิ หรือทรัพยอันตดิอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอันเดียวกับทีด่ินนั้นดวย”

สามารถแยกอธิบายลักษณะสําคัญได 4 กรณี 1.1 ที่ดิน คอืพืน้ดินบนโลกหรือพื้นดินทั่วๆ ไป แตไมรวมถึงพื้นน้ํา หรอืดินที่ขุด

ข้ึนมาแลว 1.2 ทรัพยอันตดิกับที่ดิน โดยมีลักษณะติดตรึงตราแนนหนา และถาวรไดแก ก.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยธรรมชาติ เชน ไมยืนตนมีอายุ

ยาวนานกวา 3 ป นั้นมีลักษณะติดถาวรและเปนสวนควบ จึงเปนอสังหาริมทรัพย สวนตนไมลมลุกและธัญชาติที่มีอายุต่ํากวา 3 ป เชน ตนขาวตาง ๆ จึงเปนสังหาริมทรัพย

14

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดนิ วาดวยวนิัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544

--------------------------------------- โดยที่มาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงิน

แผนดิน พ.ศ. 2542 บัญญัติใหคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินกําหนดมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐ เพื่อใหระบบการควบคุมการตรวจสอบการเงินแผนดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมีวินัย

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 (14) และมาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน พ.ศ. 2542 คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน จึงออกระเบียบไวดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544”

ขอ 2 ระเบียบนี ้ใหใช บังคับเมื ่อพนกําหนดหกสิบวันนับแตว ันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ในระเบียบนี้ "เงิน" หมายความวา เงินตราที่ชําระหนี้ไดตามกฎหมาย และใหหมายความ

รวมถึง เอกสารการเงินซึ่งใชแทนตัวเงิน หรือมีมูลคาเปนเงิน เชน เช็ค ดราฟต ธนาณัติ เปนตน

“การบริหารการเงินและการคลัง” หมายความวา การรับ การเบิก การจาย การใชจาย การใชประโยชน การเก็บรักษา และการจัดการซึ่งเงิน ทรัพยสิน สิทธิ และผลประโยชนใด ๆ ของหนวยรับตรวจที่ไดมาจากเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินกู เงินอุดหนุน เงินบริจาค และเงินชวยเหลือจากแหลงในประเทศ หรือตางประเทศ อันเนื่องมาจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย หรือตามวัตถุประสงคของหนวยรับตรวจ ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงเงิน ทรัพยสิน สิทธิ และผลประโยชนดังกลาวที่หนวยรับตรวจ มีอํานาจ หรือสิทธิในการใชจายหรือใชประโยชนดวย

“มาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐ” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับการบริหารการเงินและการคลังที่ออกตามความในกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือขอกําหนดอื่นใด ซึ่งการฝาฝนเปนความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง และมีโทษปรับทางปกครองตามระเบียบนี้

15

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน “หนวยรับตรวจ” หมายความวา (1) กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเปน

กระทรวง ทบวงหรือกรม (2) หนวยงานของราชการสวนภูมิภาค (3) หนวยงานของราชการสวนทองถิ่น (4) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณหรือตามกฎหมายอื่น (5) หนวยงานอื่นของรัฐ (6) หนวยงานที่ไดรับเงินอุดหนุนหรือกิจการที่ไดรับเงินหรือทรัพยสินลงทุนจาก

หนวยรับตรวจตาม (1) (2) (3) (4) หรือ (5) (7) หนวยงานอื่นใดหรือกิจการที่ไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐที่มีกฎหมาย

กําหนดใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูตรวจสอบ “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงาน

ประเภทอื่นของหนวยรับตรวจ แตไมรวมถึงขาราชการการเมืองตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการการเมือง

“ผูบังคับบัญชา” หมายความวา เจาหนาที่ของหนวยรับตรวจผูมีอํานาจหนาที่อนุมัติ อนุญาต รับรอง ใหความเห็นชอบ หรือการกระทําอื่นใดในทํานองเดียวกัน ซึ่งอาจเปนบุคคลคนเดียวหรือคณะบุคคล ที่ไดกระทําไปเกี่ยวกับเรื่องการรับจาย การเก็บรักษา การตรวจสอบหรือการอื่นใด อันเปนผลตอเงิน ทรัพยสิน สิทธิ และผลประโยชนใด ๆ ของรัฐ ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึง ผูมีอํานาจหรือผูไดรับมอบอํานาจตามกฎหมายหรือระเบียบดวย

“ผูสั่งจาย” หมายความวา ผูมีอํานาจลงนามส่ังจายเงินหรือทรัพยสิน และเจาหนาที่ทั้งหลายที่มีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่ที่เกี่ยวกับการสั่งจายเงินหรือทรัพยสินของหนวยรับตรวจ

“โทษปรับทางปกครอง” หมายความวา โทษปรับโดยการหักเงินเดือนหรือคาจาง หรือการเรียกใหชําระเงินตามอัตราที่กําหนดไวในระเบียบนี้

“เงินเดือน” หมายความวา เงินที่จายใหแกเจาหนาที่เปนรายเดือนหรือคํานวณรวมเปนรายเดือนได โดยมีอัตรากําหนดไวแนนอนในบัญชีอัตราเงินเดือนและคาจาง หรือกําหนดไวในเอกสารสําคัญอื่นใด แตทั้งนี้ ไมรวมถึงเงินอื่นที่จายควบกับเงินเดือนหรือคาจาง

16

จรรยาบรรณและความรับผิดชอบในวิชาชีพการตรวจเงินแผนดนิและมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรม

ตามความในมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 รัฐตองจัดใหมีแผนพัฒนาการเมือง จัดทํามาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ และพนักงาน หรือลูกจางอื่นของรัฐเพ่ือปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบและเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาท่ี ประกอบกับคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินไดวางนโยบายการตรวจเงินแผนดิน ขอ 2 ใหมีการปฏิบัติหนาท่ีอยางเปนอิสระและเปนกลาง ยึดม่ันในอุดมการณแหงวิชาชีพ มีจรรยาบรรณ ซ่ือสัตยสุจริต มีคุณธรรมและเที่ยงธรรม

วัตถุประสงค เพ่ือใหขาราชการและลูกจางของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ผูมีหนาท่ีและความ

รับผิดชอบในการตรวจเงินแผนดิน ตลอดจนผูเกี่ยวของหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีระบบและระเบียบตามมาตรฐานทางวิชาชีพของการตรวจเงินแผนดิน และไดผลการตรวจสอบที่สามารถใหความเชื่อม่ันไดวาเปนผลงานที่มีคุณภาพและเช่ือถือได เปนท่ีไววางใจของประชาชน ตลอดจนมีความประพฤติดีมีความสํานึกในหนาท่ี จึงเห็นควรกําหนดมาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบในวิชาชีพการตรวจเงินแผนดิน เพ่ือดํารงไวซ่ึงเกียรติและศักด์ิศรีของตําแหนงหนาท่ีราชการและสถาบันการตรวจเงินแผนดิน

ขอบเขตการใช 1. ผูตรวจสอบ ขาราชการและลูกจางสํานักงานการตรวจเงินแผนดินทุกคน รวมถึง

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และผูเกี่ยวของหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน 2. ใชในการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร

คํานิยาม ผูตรวจสอบ : หมายถึง เจาหนาท่ีตรวจสอบ ขาราชการ ลูกจาง และผูเกี่ยวของหรือ

สนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน หนวยงาน : หมายถึง สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ธรรมัตตาภิบาล : หมายถึง การควบคุมและปฏิบัติตนใหอยูในกรอบของระบบบริหาร

ปกครองและสังคมที่ดี ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสราง ระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542

17

ผูเกี่ยวของหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน : หมายถึง ท่ีปรึกษา ผูเช่ียวชาญ ลูกจางช่ัวคราว หรือสํานักงานเอกชน ซ่ึงไดจัดจางเพื่อปฏิบัติงานของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน

ผูใชผลการตรวจสอบ : หมายถึง รัฐสภา รัฐบาล นักวิชาการ และสาธารณชน สิทธิเสรีภาพสวนบุคคล

: หมายถึง สิทธิเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540

จุดยืนวิชาชีพ : หมายถึง หลักการของวิชาชีพการตรวจสอบที่ตองคงไวซ่ึงความเที่ยง ธรรม ผูตรวจสอบจะตองเปนผูมีความยุติธรรม และเสนอรายงานการ ตรวจสอบอยาง ตรงไปตรงมา ตามหลักการของวิชาชีพโดยไม ยอมให อคติ หรือความลําเอียงหรืออิทธิพลใดมาทําใหตนเสียความเท่ียงธรรมไป

จรรยาบรรณและความรับผิดชอบในวิชาชีพการตรวจเงินแผนดิน ก. ความรับผิดชอบ

ขอ 1 ผูตรวจสอบตองมีความรับผิดชอบตอหนาท่ีในฐานะผูประกอบวิชาชีพ และมีวิจารณญาณตามปกติวิสัยของผูตรวจสอบจะรูสึกผิดสังเกตตอส่ิงท่ีพบวาไมปกติ และตองเปนวิจารณญาณท่ีมีคุณธรรม ขอ 2 ผูตรวจสอบตองรับผิดชอบตอทุกคนที่เปนผูใชผลการตรวจสอบของตน โดยตองรักษาความมั่นใจของผูใชผลงานนั้น และจะตองดําเนินการตามหลักธรรมัตตาภิบาล

ข. การรักษาประโยชนของประชาชน ขอ 3 ผูตรวจสอบตองทํางานเพื่อประโยชนของประชาชน ปฏิบัติหนาท่ีในความรับผิดชอบ ใหเปนท่ีไววางใจของประชาชน ตองตระหนักในภาระหนาท่ีของตน และปฏิบัติหนาท่ีความรับผิดชอบตามหลักการแหงวิชาชีพการตรวจเงินแผนดิน ขอ 4 ผูตรวจสอบตองปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตยสุจริตเปนธรรมและชอบธรรม มีจุดยืนวิชาชีพตองปฏิบัติงานตรวจสอบดวยความระมัดระวังรอบคอบตามมาตรฐานการตรวจสอบท่ีกําหนดไวมีความจริงใจ และมีเจตนารมณในการรักษาประโยชนของประชาชน ขอ 5 ผูตรวจสอบตองถือวาประโยชนสวนรวมอยูเหนือประโยชนสวนตน และไมประกอบอาชีพหรือวิชาชีพใด ๆ ท่ีขัดตอการปฏิบัติหนาท่ีในฐานะผูตรวจสอบ

ค. ความซ่ือสัตยสุจริต ขอ 6 ผูตรวจสอบตองตระหนักวาตนตองมีจิตใจที่มีความซ่ือสัตยสุจริตอยางสูงสุดในการ

ปฏิบัติหนาท่ี

18

ขอ 7 การมีความซ่ือสัตยสุจริตน้ันตองไมลวงละเมิดความลับของหนวยรับตรวจ เพ่ือไมใหกระทบตอความมั่นคงของประเทศและสิทธิเสรีภาพสวนบุคคล เวนแตเปนการปฏิบัตตามท่ีกฏหมายกําหนด ขอ 8 ในการรักษาความซื่อสัตยสุจริต ผูตรวจสอบตองมีหลักการของจุดยืนวิชาชีพ หลักการของความเปนอิสระ และหลักการของความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ

ง. จุดยืนวิชาชีพและความเปนอิสระ ขอ 9 ตองคงไวซ่ึงหลักการของจุดยืนวิชาชีพ

ขอ 10 ตองมีอิสระในการเสนอขอเท็จจริง และส่ิงท่ีพบจากการตรวจสอบซึ่งมีสาระสําคัญ ขอ 11 ตองไมมีสวนไดเสียในงานที่ตนรับผิดชอบ ขอ 12 ตองใหประชาชนเช่ือวาผูตรวจสอบเปนอิสระจริงโดยไมมีเหตุการณใดท่ีทําใหเช่ือไดวาบุคคลใดบุคคลหน่ึงมีอิทธิพลเหนือความเปนอิสระของผูตรวจสอบ ขอ 13 ตองไมมีสวนรวมในการทํางานของหนวยรับตรวจ เวนแตเปนการใหคําแนะนําตามอํานาจหนาท่ีเพ่ือการปฏิบัติท่ีถูกตองของหนวยรับตรวจ ไมเปนผูดูแลรักษาทรัพยสินของหนวยรับตรวจ และไมเปนตัวแทนของหนวยรับตรวจเพื่อดําเนินการใด ๆ นอกจากท่ีกฎหมายกําหนด ขอ 14 ตองไมขอรับบริจาคจากหนวยรับตรวจ เพ่ือหนวยงาน ตนเอง หรือผูอื่นหรือกูยืมเงินจากเจาหนาท่ีของหนวยรับตรวจ ขอ 15 ตองไมรับของกํานัลหรือประโยชนอื่นใดท่ีมีมูลคาเกินปกติวิสัยท่ีวิญูชนจะพึงใหกันโดยเสนหาในการปฏิบัติตามอํานาจหนาท่ี และไมเรียกรองหรือขอความชวยเหลือจากหนวยรับตรวจเกินความจําเปน โดยเปนการแสวงหาประโยชนอันมิควรไดสําหรับตนเองหรือผูอื่น

จ. ความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผูประกอบวชิาชีพ ขอ 16 ผูตรวจสอบตองมีความรูในดานการตรวจสอบที่ตนรับผิดชอบอยางเพียงพอ หรือมีความรูดานอื่นท่ีสามารถนํามาใชในการตรวจสอบ ตามมาตรฐานการตรวจสอบที่กําหนด ขอ 17 ตองพัฒนาความรูและเรียนรูดานการตรวจสอบ หรือความรูท่ีสนับสนุนการตรวจสอบอยางมีคุณภาพและตอเน่ือง ขอ 18 ตองทํางานอยางเต็มความสามารถดวยความขยันขันแข็ง และอยางรวดเร็ว รวมท้ังปรับปรุงงานที่ตนรับผิดชอบใหดีข้ึนตลอดเวลา ขอ 19 ตองมีการวางแผนงานตรวจสอบกอนนําไปปฏิบัติ โดยมีการปรับปรุงแผนใหเหมาะสมกับสถานการณเสมอ สามารถปฏิบัติไดจริง มีการติดตามและควบคุมดูแลอยางเพียงพอในงานที่ตนรับผิดชอบ และกรณีมีผูชวยตองสอบทานงานของผูชวยดวย

ฉ. ความเสมอภาคตอหนวยรับตรวจ ขอ 20 ตองปฏิบัติตอหนวยรับตรวจดวยความเสมอภาคกันโดยไมเลือกปฏิบัติ

19

ขอ 21 ตองทําการตรวจสอบอยางสรางสรรคเพ่ือนําไปสูการปรับปรุงแกไขของหนวยรับตรวจโดยไมมุงการจับผิด ขอ 22 ตองใหความเปนธรรมตอหนวยรับตรวจ และมีความโปรงใสชัดเจนในการปฏิบัติงานตรวจสอบ

คุณธรรมและจริยธรรมสวนบุคคล ก. การประพฤติตนอยางมีศักดิ์ศรี

ขอ 23 ตองยกยองใหเกียรติเคารพในศักด์ิศรีของผูบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชา ผูรวมงานผูรับตรวจ และผูอื่น ขอ 24 ตองไมเอาผลงานของผูตรวจสอบอื่นมาเปนของตน และไมเอาเปรียบผูรวมงาน ท้ังทางตรงและทางออม ขอ 25 การรับของกํานัล ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดจากผูรับตรวจหรือผูเกี่ยวของ ใหถือปฏิบัติเชนเดียวกับขอ 15 ขอ 26 ตองไมขอเงินหรือกูยืมเงินจากผูรับตรวจหรือผูเกี่ยวของ ขอ 27 ตองไมชวยเหลือหรือมีสวนรวมชวยเหลือใหมีการหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามระเบียบ หรือใหผูกระทําความผิดหลุดพนจากความรับผิดท้ังหมดหรือบางสวน ขอ 28 ตองไมรับเลี้ยงจากผูรับตรวจ หรือผูเกี่ยวของในลักษณะที่ไมเหมาะสมและอาจทําใหเสีย ความเปนอิสระ ความนาเช่ือถือ หรือเสียหายแกราชการ

ข. ไมประพฤติตนในทางเสื่อมเสีย ผิดศีลธรรมและจารีตประเพณี ขอ 29 ตองไมมีพฤติการณท่ีผิดศีลธรรมจารีตประเพณีอันดีงาม และไมลวงละเมิดผูอื่น ท้ังทางกายและวาจา ขอ 30 ตองไมแตงเคร่ืองแบบหรือแตงกายท่ีแสดงใหเห็นวาเปนขาราชการ หรือลูกจางของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเขาไปในสถานที่อันไมสมควร เชน สถานอาบอบนวด สถานอบายมุข เปนตน ขอ 31 ตองไมเสพสุราหรือส่ิงมึนเมาทุกชนิดในสถานที่ราชการ ท้ังในและนอกเวลา เวนแตเม่ือมีการจัดงานของหนวยงาน ขอ 32 ตองไมด่ืมสุราจนเสียกริยา หรือด่ืมสุราในที่ชุมชนจนเกิดเร่ืองเสียหายหรือเส่ือมเสียเกียรติศักด์ิแหงหนาท่ีราชการ ขอ 33 ตองไมเลนการพนันทุกประเภทในสถานที่ราชการหรือสถานที่พักของทางราชการ หรือในระหวางท่ีเดินทางไปปฏิบัติราชการ ขอ 34 ตองไมทะเลาะวิวาทหรือสงเสียงในสถานที่ราชการ หรือสถานที่พักของทางราชการ จนกอใหเกิดความรําคาญแกผูรวมงานหรือผูรวมพักอาศัย

20

แนวขอสอบพระราชบัญญัติความรับผดิทางละเมิดของเจาหนาที่

3. ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใด ผูเสียหายสามารถฟองหนวยงานใดได

ก. กระทรวงการคลัง ข.กระทรวงกลาโหม ค. กระทรวงยุติธรรม ง. กระทรวงมหาดไทย ตอบ ก. กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ เปนพระราชบัญญัติที่กําหนดให

หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดท่ีเจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติหนาท่ี ซึ่งผูเสียหายสามารถฟองหนวยงานของรัฐซึ่งเจาหนาที่ดังกลาวสังกัดอยูไดโดยตรง ไมสามารถฟองเจาหนาที่ได (มาตรา 5 วรรคหนึ่ง) ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาท่ีซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใด ผูเสียหายสามารถฟองกระทรวงการคลังใหเปนหนวยงานของรัฐที่ตองรับผิดได (มาตรา 5 วรรคสอง) 4. ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกใหอีกฝายหนึ่งชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกําหนดอายุความกี่ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนนั้นแกผูเสียหาย ก. หนึ่งป ข. หาป

ค. สิบป ง. ย่ีสิบป ตอบ ก. หนึ่งป ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียก

ใหอีกฝายหน่ึงชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกําหนดอายุความ หนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนนั้น แกผูเสียหาย (มาตรา 9) 5. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ คือใคร ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ค. รัฐมนตรวีาการกระทรวงยุติธรรม

21

แนวขอสอบพระราชบัญญตัิวาดวยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐพ.ศ. 2542

3.ผูใดตกลงรวมกันในการเสนอราคา เพื่อวัตถุประสงคที่จะใหประโยชนแกผูใดผูหนึ่งเปนผูมีสิทธิทําสัญญากับหนวยงานของรัฐ โดยหลีกเล่ียงการแขงขันราคาอยางเปนธรรม ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสามป ข. ปรับรอยละหกสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดในระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น ค. ถูกท้ังขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ก. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสามป

ผูใดตกลงรวมกันในการเสนอราคา เพื่อวัตถุประสงคที่จะใหประโยชนแกผูใดผูหนึ่งเปนผูมีสิทธิทําสัญญากับหนวยงานของรัฐ โดยหลีกเล่ียงการแขงขันราคาอยางเปนธรรม หรือโดยการกีดกันมิใหมีการเสนอสินคาหรือบริการอื่นตอหนวยงานของรัฐ หรือโดยการเอาเปรียบแกหนวยงานของรัฐอันมิใชเปนไปในทางการประกอบธุรกิจปกติ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสามป และปรับรอยละหาสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดในระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น หรือของจํานวนเงินที่มีการทําสัญญากับหนวยงานของรัฐแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา 4.ผูใดขมขืนใจผูอื่นใหจํายอมรวมดําเนินการใด ๆ ในการเสนอราคาหรือไมเขารวมในการเสนอราคา หรือถอนการเสนอราคา ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคกุตั้งแตหาปถึงสิบป ข. ปรับรอยละหาสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดในระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น ค. ถูกท้ังขอ ก. และ ขอ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ค. ถูกทั้งขอ ก. และ ขอ ข.

22

ผูใดขมขืนใจผูอื่นใหจํายอมรวมดําเนินการใด ๆ ในการเสนอราคาหรือไมเขารวมในการเสนอราคา หรือถอนการเสนอราคา หรือตองทําการเสนอราคาตามท่ีกําหนด โดยใชกําลังประทุษรายหรือขูเข็ญดวยประการใด ๆ ใหกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพยสินของผูถูกขูเข็ญหรือบุคคลท่ีสาม จนผูถูกขมขืนใจยอมเชนวานั้น ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงสิบป และปรับรอยละหาสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดในระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น หรือของจํานวนเงินที่มีการทําสัญญากับหนวยงานของรัฐแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา 5. ผูใดใชอุบายหลอกลวงหรือกระทําการโดยวิธีอื่นใดเปนเหตุใหผูอื่น ไมมีโอกาสเขาทําการเสนอราคาอยางเปนธรรม ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสองป และปรับรอยละย่ีสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น ข. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสามป และปรับรอยละสามสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น ค. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงส่ีป และปรับรอยละสี่สิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น ง. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงหาป และปรับรอยละหาสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น ตอบ ง. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงหาป และปรับรอยละหาสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น

ผูใดใชอุบายหลอกลวงหรือกระทําการโดยวิธีอื่นใดเปนเหตุใหผูอื่น ไมมีโอกาสเขาทําการเสนอราคาอยางเปนธรรมหรือใหมีการเสนอราคาโดยหลงผิด ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงหาป และปรับรอยละหาสิบของจํานวนเงินที่มีการเสนอราคาสูงสุดระหวางผูรวมกระทําความผิดนั้น หรือของจํานวนเงินที่มีการทําสัญญากับหนวยงานของรัฐแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา 6.การดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวของกับการเสนอราคา รูวาการเสนอราคามีการกระทําความผิดแลวละเวนไมดําเนินการ มีความผิดฐานกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงหาป และปรับตั้งแตหาหมื่นถึงสองแสนบาท

23

ข. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองหมื่นถึงสองแสนบาท ค. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหาหมื่นถึงสองแสนบาท ง. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงย่ีสิบป และปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นถึงสองแสนบาท ตอบ ข. จําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองหม่ืนถึงสองแสนบาท

เจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐผูใดซึ่งมีอํานาจหรือหนาที่ในการอนุมัติ การพิจารณาหรือการดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวของกับการเสนอราคาครั้งใด รูหรือมีพฤติการณปรากฏแจงชัดวาควรรูวาการเสนอราคาในครั้งนั้นมีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ละเวนไมดําเนินการเพื่อใหมีการยกเลิกการดําเนินการเกี่ยวกับการเสนอราคาใน ครั้งนั้น มีความผิดฐานกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท 7.เจาหนาที่รายใดชวยเหลือผูเสนอราคาใหมีสิทธิเขาทําสัญญากับหนวยงานของรัฐโดยไมเปนธรรม ตองระวางโทษอยางไร

ก. จําคุกตั้งแตหาปถึงย่ีสิบป หรือจําคุกตลอดชีวิต ข. ปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงส่ีแสนบาท ค. ถูกท้ังขอ ก. และ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ค. ถูกทั้งขอ ก. และ ข. เจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐผูใด หรือผูไดรับมอบหมายจากหนวยงานของรัฐผูใด

โดยทุจริตทําการออกแบบ กําหนดราคา กําหนดเงื่อนไข หรือกําหนดผลประโยชนตอบแทน อันเปนมาตรฐานในการเสนอราคาโดยมุงหมายมิใหมีการแขงขันในการเสนอราคาอยางเปนธรรม หรือเพื่อชวยเหลือใหผูเสนอราคารายใดไดมีสิทธิเขาทําสัญญากับหนวยงานของรัฐโดยไมเปนธรรม หรือเพื่อกีดกันผูเสนอราคารายใดมิใหมีโอกาสเขาแขงขันในการเสนอราคาอยางเปนธรรม ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงย่ีสิบป หรือจําคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงส่ีแสนบาท

24

แนวขอสอบระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน วาดวยวนิัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544

3. ขอใด หมายถึง “เงิน” ก. เช็ค ข. ดราฟต

ค. ธนาณัติ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ "เงิน" หมายความวา เงินตราที่ชําระหนี้ไดตามกฎหมาย และใหหมายความรวมถึง

เอกสารการเงินซึ่งใชแทนตัวเงิน หรือมีมูลคาเปนเงิน เชน เช็ค ดราฟต ธนาณัติ เปนตน 4. ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง มีอัตราโทษปรับทางปกครองมีกี่ระดับชั้น ก. 2 ระดับชั้น ข. 3 ระดับชั้น ค. 4 ระดับชั้น ง. 5 ระดับชั้น ตอบ ค. 4 ระดับช้ัน 5. โทษปรับไมเกินเงินเดือน 1 เดือน เปนโทษระดับชั้นใด ก. โทษชั้นที่ 1 ข. โทษชั้นที่ 2 ค. โทษชั้นที่ 3 ง. โทษชั้นที่ 4 ตอบ ก. โทษช้ันที่ 1 6. โทษปรับเทากับเงินเดือนตั้งแต 2 เดือน ถึง 4 เดือน เปนโทษระดับชั้นใด ก. โทษชั้นที่ 1 ข. โทษชั้นที่ 2 ค. โทษชั้นที่ 3 ง. โทษชั้นที่ 4

ตอบ ข. โทษช้ันที่ 2 7. โทษปรับเทากับเงินเดือนตั้งแต 5 เดือน ถึง 8 เดือน เปนโทษระดับชั้นใด ก. โทษชั้นที่ 1 ข. โทษชั้นที่ 2 ค. โทษชั้นที่ 3 ง. โทษชั้นที่ 4 ตอบ ค. โทษช้ันที่ 3

25

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740