21

Click here to load reader

คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

  • View
    2.229

  • Download
    5

Embed Size (px)

DESCRIPTION

คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ปี 57 E-BOOK ราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ : www.Sheetram.com สอบถามรายละเอียด Facebook http://www.facebook.com/Sheetram LINE ID : sheetram บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

Citation preview

Page 1: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

1

Page 2: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

2

ขอบเขตเนื้อหา

สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเก่ียวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ความเปนมาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 5 วิสัยทัศน 15 พันธกิจ 15 ทิศทางการดําเนินงาน 2554 – 2559 15 สัญลักษณ 17

สวนที่ 2 ความรูดานสิทธิมนุษยชน หนาท่ีของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 19 อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก 19 อนุสัญยาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี 20 กรอบความรวมมือในสถาบันสิทธิมนุษยชนเอเชีย-แปซิฟก 21 แนวทางการปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ 21 สิทธิเกี่ยวกับนํ้า 22 ผูพิทักษสิทธิมนุษยชน 23 สิทธิของผูปวยทางจิต 24 สิทธิในการพัฒนา 25

สวนที่ 3 กฎหมายที่เก่ียวของกับสทิธิมนุษยชน ประมวลจริยธรรม 27 รัฐธรรมธูญ ท่ีเกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน 33 พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 50 พรฎ.คาตอบแทนและคาใชจายในการเดินทาง 64 ประกาศคณะกรรมการสทิธิมนุษยชน เรื่องการปฏิบัติราชการแทนฯ 67 ประกาศคณะกรรมการสทิธิมนุษยชน เรื่องการแบงสวนราชการภายใน ฯ 69 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยการรักษาราชการแทนและการปบัติราชการแทน 98 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน ขอมูลขาวสารของราชการ 102 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยเงินคาตอบแทนพิเศษฯ 110 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเสนอเรื่อง

ตอศาลรัฐธรรมนูญ 114 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวงิธีจายคาเบี้ยเล้ียงวาดวย

หลักเกณฑและวิธีการรับรององคการเอกชนฯ 134 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวิธกีารตรวจสอบการละเมิด 138 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและการขึ้นทะเบียนองคการ

เอกชนดานสิทธิมนุษชน 145 สวนที่ 4 ความถนัดทางเชาวนปญญา (Aptitude Test)

อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ 148 วิธีบวก 148

วิธีลบ 153 วิธีคูณ 156 วิธียกกําลัง 161 วิธีหาร 169

เง่ือนไขภาษา 176 อุปมาอุปไมย 194

ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหน่ึงของสิ่งหน่ึง 194 ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม 195

Page 3: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

3

ความสัมพันธในลักษณะหนาท่ี 197 ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน 198 ความสัมพันธในลักษณะสถานท่ี 199 ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม 200

เง่ือนไขสัญลักษณ 202 คณิตศาสตรท่ัวไป 207 การหาผลบวกของเลขหลายจํานวนเรียงกัน 207 การหาอัตราสวนและรอยละ 209

ดอกเบี้ย 211 การคํานวณระยะหางระหวางเสา 213 การแจกบัตรอวยพรและการสัมผัสมือ 215 การแปรผันตรงและการแปรผกผัน 217 การแกสมการ 222 การคํานวณเกี่ยวกับขาและหัวของสตัว 222 คาเฉล่ีย 226 การหา ครน. และหรม. 230 ความสามารถทางดานเหตุผล 233 การคํานวณหาพื้นท่ีและปริมาตร 235 การวิเคราะหสรุปเหตุผลทางโอเปอรเรต 238 ตาราง กราฟและแผนภูมิ 239

สวนที่ 5 ความรูทางดานการใชภาษาไทย การใชคํา 247 การใชคําราชาศัพท 250 การสรุปใจความ 259 สํานวน สุภาษิต คําพังเพย 262 การเขียนสะกดการันต 267 ประโยค 268 ลักษณะภาษา 270 การใชภาษา 284 คําเปนคําตาย 294 คําเช่ือม 296 การสะกดคํา 302 กการเขียนภาษาใหถูกตอง 307 การเรียงประโยค 310 บทความสั้น 316 บทความยาว 322

สวนที่ 6 ความรูพ้ืนฐานทางดานภาษาอังกฤษ ความรูพื้นฐานดานภาษาอังกฤษ 328 แนวขอสอบ GRAMMAR AND VOCABULARY 352 แนวขอสอบ VOCABULARY 356 แนวขอสอบ Reading Comprehension 361

Page 4: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

4

ความเปนมาของคณะกรรมการสิทธมินุษยชนแหงชาต ิ สัญลักษณ ภาพตราสัญลักษณของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

คําอธิบายความหมายของเครื่องหมาย รูปทรงดอกบัว

คือ ความมคีุณธรรม ความเอื้ออาทรระหวางเพือ่นมนษุยอนัเปนจริยวตัรอันดีงามของคนไทย

รูปคนลอมเปนวงกลม

คือ การสรางพลังความรวมมอืกับทุกภาคสวนของสังคม เพื่อเสริมสรางวฒันธรรมสิทธิมนุษยชนใหเปนสวนสําคัญในกระบวนการพัฒนาประเทศ

รูปมือ

คือ การรวมมือกับทุกภาคสวนของสงัคมทั้งในระดับประเทศและระหวางประเทศ ในการโอบอุม คุมครองศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพ ดวยหลักแหงความเสมอภาค และภราดรภาพ

สีน้ําเงิน

คือ สีของความเชื่อมั่นของประชาชนและทุกภาคสวนของสงัคม คือ ความมุงมั่น อดทนในการทํางานเพื่อประชาชน คือ ความสามัคค ีและการประสานพลังอยางหนักแนนจากทุกภาคสวนของสังคม เพื่อเสริมสรางวฒันธรรมสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย

เครื่อง หมายราชการดังกลาว นอกจากใชเปนตราประจําสํานกังานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติแลว ใหใชเปนตราประจําตําแหนงประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตราประจําคณะกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติ และตราประจาํตําแหนง

Page 5: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

5

ความรูดานสทิธิมนุษยชน พันธกรณีดานสิทธิมนษุยชนคืออะไร

ในปจจุบันประเทศไทยเปนภาคีสนธสัิญญา ดานสิทธิมนุษยชนซึ่งสหประชาชาตถิือเปน สนธิสัญญาหลัก จํานวน 7 ฉบับไดแก

1.อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC)

2.อนุสัญญาวา ดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรใีนทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Woman - CEDAW)

3.กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covernant on Civil and Political Rights - ICCPR)

4.กติกา ระหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covernant on Economics, Social and Cultural Rights - ICESCR)

5.อนุสัญญาวา ดวยการขจัดการเลือกประติบตัิทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - CERD)

6.อนุสัญญาตอ ตานการทรมานและการประตบิัติหรอืการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม หรือยํ่ายีศักด์ิศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment - CAT)

7.อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities - CRPD)

สนธิ สัญญาดานสิทธิมนุษยชนมีลักษณะเปนสนธิสัญญาพหุภาคี กลาวคือ เปนสนธิสัญญาที่มีรัฐมากกวาสองรัฐข้ึนไปเขาเปนภาคีสนธิสัญญา ซึ่งกระบวนการในการทําสนธิสัญญามีหลายข้ันตอน นับตั้งแตการเจรจา การใหความยินยอมของรัฐเพื่อผูพันตามสนธิสัญญาโดยการลงนาม การใหสัตยาบัน การภาคยานุวัติ และบางรัฐอาจตั้งขอสงวน หรือตีความสนธิสัญญา และเมื่อปฏิบัติตามข้ันตอนในการทําสัญญาครบถวนแลว ภาคีก็มีพันธกรณีที่ตองปฏิบัติตามสนธิสัญญาตอไป การเขาเปนภาคีของสนธิสัญญากอใหเกิดพันธกรณีที่ตองปฏิบัติใหสอดคลอง กับสนธิสัญญา มิฉะนั้นอาจตองรับผิดในทางระหวางประเทศ ดังนั้น เมื่อประเทศไทยเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ประเทศไทยก็ตองปฏิบัติตามพันธกรณีของสนธิสัญญาดังกลาว พันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของไทย

Page 6: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

6

หนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 200 กําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทํา อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย เปนภาคี และเสนอมาตรการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการ กระทําดังกลาวเพื่อใหดําเนินการแกไข หากไมมีการดําเนินการแกไข คณะกรรมการตองรายงานตอรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภาดําเนินการตอไป นอกจากคณะกรรมการจะมีอํานาจในการ ตรวจสอบและรายงานการกระทําดังกลาวแลว ยังมีอํานาจหนาที่ในการเสนอแนะนโยบาย และ ขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนดวย

อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC)

สาระสําคัญ อนุสัญญาวาดวยเด็กประกอบดวย บทบัญญตัิ 54 ขอ ไดแกเรือ่งเกี่ยวของกับสิทธิของเด็กโดยตรง ซึ่งเนนหลักพื้นฐาน 4 ประการ และแนวทางในการตีความอนุสัญญาทัง้ฉบับ ไดแก

1. การหามเลือกปฏิบัติตอเด็กและการใหความสําคญัแกเด็กทุกคนเทาเทียมกันโดย ไมคํานึงถึงความแตกตางของเด็ก ในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง ชาตพิันธุ หรือสังคม ทรัพยสิน ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะอื่นๆ ของเด็ก หรือบิดามารดา หรือผูปกครองทางกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อใหเด็กมีโอกาสที่เทาเทียมกัน

2. การกระทําหรือการดําเนินการทั้งหลายตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของเด็กเปนอันดับแรก

3. สิทธิในการมีชีวติ การอยูรอด และการพัฒนาทางดานจิตใจ อารมณ สังคม 4. สิทธิในการแสดงความคดิเห็นของเด็ก และการใหความสําคญักับความคดิ เหลานั้น

Page 7: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

7

ประมวลจริยธรรม กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที ่

ของสํานักงานคณะกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติ โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 279 บัญญัติใหมี

ประมวลจริยธรรมเพื่อกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการหรือเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภท โดยใหมีกลไกและระบบในการบังคับใชเปนไปอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งกําหนดข้ันตอนการลงโทษตามความรายแรงแหงการกระทํา

เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยดังกลาว

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประกอบกับมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ครั้งที่ 17/2553 เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553 และครั้งที่ 18/2553 เมื่อวันที่ 23 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2553 จึงกําหนดมาตรฐาน ทางจริยธรรมขึ้นเปนประมวลจริยธรรมกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดังตอไปนี้

หมวด 1 บททั่วไป

ขอ 1 ประมวลจริยธรรมกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ของสํานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินี ้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ 2 ในประมวลจริยธรรมนี ้“กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ” หมายความรวมถึง ประธานกรรมการ สิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน และลูกจางของสํานักงาน

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คานิยม” หมายความวา ส่ิงที่กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเจาหนาที่ของ

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ยึดถือเปนเครื่องชวยตัดสินใจแลวกําหนดการกระทําของตน

Page 8: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

8

“จริยธรรม” หมายความวา ธรรมทีเ่ปนขอประพฤติปฏบิัต ิศีลธรรม กฎของศีลธรรมสําหรับกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตจิะตองยึดถือและปฏิบัต ิ

หมวด 2 ปณิธานและอุดมการณ

สวนที ่1 ปณิธาน

ขอ 3 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ มีความปรารถนา มุงมั่นและตั้งใจจะปกปองคุมครอง สนับสนุนและสงเสริมศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทยหรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม

สวนที ่2 อุดมการณ

ขอ 4 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ตองเคารพศักด์ิศรีความเปนมนุษยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรอง หรือคุมครอง ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทย มีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม และจะยึดมั่นในหลักนิติธรรม โดยคํานึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติและประชาชน

หมวด 3 มาตรฐานจริยธรรม

สวนที ่1 มาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานยิมหลัก

ขอ 5 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ตองปฏบิัติหนาที่โดยยึดมั่น ในมาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก 9 ประการ ดังนี้

(1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม (2) การมีจิตสํานึกท่ีดี ซื่อสัตย สุจริตและรับผิดชอบ (3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตนและไมมีผล

ประโยชนทับซอน (4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย

Page 9: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

9

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญมาตราที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน

หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย

สวนที่ 1 บททั่วไป

มาตรา 26 การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพ ตามบทบัญญตัิแหงรัฐธรรมนญูนี ้ มาตรา 27 สิทธิและเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญนี้รบัรองไวโดยชัดแจง โดยปริยายหรือโดยคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ยอมไดรับความคุมครองและผกูพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง มาตรา 28 บุคคลยอมอางศักด์ิศรีความเปนมนษุยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทา ที่ไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบคุคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญหรอืไมขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน บุคคล ซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญตัิแหงรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกข้ึนเปนขอ ตอสูคดีในศาลได บุคคล ยอมสามารถใชสิทธิทางศาลเพื่อบังคับใหรัฐตองปฏิบตัิตามบทบญัญัติในหมวดนี้ ไดโดยตรง หากการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแหงการใช สิทธิและเสรีภาพตามที่รฐัธรรมนูญนีร้ับรองไวแลว ใหการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องนั้นเปนไปตามที่กฎหมายบัญญตั ิ บุคคลยอมมสิีทธิไดรับการสงเสริม สนบัสนุน และชวยเหลือจากรัฐ ในการใชสิทธิตามความในหมวดนี้

Page 10: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

10

มาตรา 29 การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลท่ีรัฐธรรมนูญรับรองไว จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบญัญัตแิหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กําหนดไวและเทาที่จําเปน และจะกระทบกระเทือนสาระสาํคัญแหงสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได กฎหมาย ตามวรรคหนึง่ตองมีผลใชบังคับเปนการทั่วไป และไมมุงหมายใหใชบังคบัแกกรณีใดกรณีหนึ่งหรือแกบุคคลใดบุคคลหน่ึงเปน การเจาะจง ทั้งตองระบบุทบญัญัติแหงรัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจในการตรากฎหมายนั้นดวย บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองใหนํามาใชบังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดวยโดยอนุโลม

สวนที่ 2 ความเสมอภาค

มาตรา 30 บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกันชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่น กําเนิด เชื้อชาต ิภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบคุคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชือ่ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอบทบญัญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได มาตรการ ที่รัฐกําหนดข้ึนเพื่อขจัดอปุสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิและ เสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอืน่ ยอมไมถอืเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตามวรรคสาม มาตรา 31 บุคคลผูเปนทหาร ตํารวจ ขาราชการ เจาหนาที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือลูกจางขององคกรของรัฐ ยอมมีสิทธแิละเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกับบคุคลทั่วไป เวนแตที่จํากัดไวในกฎหมายหรือกฎท่ีออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบญัญัติแหง กฎหมาย เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วนิัย หรือจริยธรรม

Page 11: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

11

พระราชบัญญัตคิณะกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 14 พฤศจกิายน พ.ศ. 2542

เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด

เกลาฯ ใหประกาศวา โดยท่ีเปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 และมาตรา 48 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “สิทธิมนุษยชน” หมายความวา ศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพและ

ความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

Page 12: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

12

ประกาศคณะกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติ เร่ือง การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสงักัดสํานักงานคณะกรรมการสทิธิมนุษยชน

แหงชาติ พ.ศ. 2556

โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 256 และมาตรา 257 บัญญัติใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เสนอแนะนโยบาย และขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ ตอรัฐสภาหรือคณะรัฐมนตรีสงเสริมการศึกษาวิจัย สงเสริมความรวมมือและประสานงานระหวางหนวยราชการ องคการเอกชน และองคการอื่น ในดานสิทธิมนุษยชน และจัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ โดยไดบัญญัติใหมีสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนหนวยงานอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น ประกอบกับพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 18 บัญญัติใหสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีหนาที่รับผิดชอบเก่ียวกับกิจการทั่วไปของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และใหมีอํานาจหนาที่รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รับคํารอง สืบสวนสอบสวน หรือตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมอบหมาย ศึกษาเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 12 และมาตรา 15 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝายรัฐสภา พ.ศ. 2554 ประกอบกับมาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในการประชุมครั้งที่ 32/2556 เมื่อวันพุธที่ 16 ตุลาคม 2556 จึงออกประกาศแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดังนี้

Page 13: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

13

ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรื่อง การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2556”

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ใหยกเลิกประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรื่อง การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ขอ 4 ใหแบงสวนราชการภายในสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดังตอไปนี้ โดยใหข้ึนตรงตอเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

(1) สํานักบริหารกลาง (2) สํานักคุมครองสิทธิมนุษยชน (3) สํานักกฎหมายและคดี (4) สํานักวิจัยและวิชาการ (5) สํานักสงเสริมและประสานงานเครือขาย (6) สํานักสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ (7) กลุมงานอํานวยการกิจการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (8) หนวยตรวจสอบภายใน (9) กลุมงานติดตามและสารบบสํานวน ขอ 5 สํานักบริหารกลาง มีอํานาจหนาที่ ดังนี้ (1) ดําเนินการเก่ียวกับงานสารบรรณ งานบริหารท่ัวไป งานอาคารสถานที่

และยานพาหนะ งานพิธกีาร งานรักษาความปลอดภัย งานชวยอํานวยการ และปฏิบัติงานในฐานะฝายเลขานุการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

(2) ดําเนินการเก่ียวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในฐานะองคกรกลางการบริหารงานบุคคล (ก.ส.)

(3 ) จัดทําแผนยุทธศาสตรด านการพัฒนาระบบงานของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

(4) จัดระบบงานและบริหารงานทรัพยากรบุคคล รวมท้ังการเสริมสรางวินัยและระบบคุณธรรม

Page 14: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

14

(5) พัฒนาระบบและจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ

(6) จัดทําแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการประจําป ประสานนโยบายและแผนไปสูการปฏิบัติ รวมทั้งเรงรัด ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน

(7) บริหารงบประมาณและแผนการเงิน ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ และการพัสดุ

(8) จัดทําแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (9) จัดการฝกอบรม พัฒนาศักยภาพบุคลากร และติดตามประเมินผลการ

พัฒนาบุคลากร (10) ปฏิบัติงานที่มิไดกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของสวนราชการใดของ

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (11) รวมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ

หรือตามที่ไดรับมอบหมาย ใหสํานักบริหารกลาง แบงออกเปน 6 กลุมงาน ดังนี้ (1) กลุมงานบริหารท่ัวไป มีอํานาจหนาที่ ดังนี้

(ก) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารท่ัวไป และงานชวยอํานวยการ

(ข) ปฏิบัติงานในฐานะฝายเลขานุการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และติดตามการดําเนินการตามนโยบาย คําส่ัง หรือการมอบหมายของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและรายงานความกาวหนา พรอมทั้งจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน

(ค) สนับสนุนงานเลขานุการของผูบริหารสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

(ง) สนับสนุนการดําเนินงานพระราชพิธี รัฐพิธี ศาสนพิธี และพิธีการตางๆ (จ) รวมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่

เกี่ยวของหรือตามที่ไดรับมอบหมาย (2) กลุมงานบริหารงานทรัพยากรบุคคล มีอํานาจหนาที่ ดังนี้

(ก) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานทรัพยากรบุคคล รวมทั้งการเสริมสรางวินัยและระบบคุณธรรม

Page 15: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

15

ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนษุยชนแหงชาติ วาดวยขอมูลขาวสารของราชการ

พ.ศ. 2555

เพื่อใหการบริการ การจัดระบบ การขอ การอนุญาตและการบริการขอมูลขาวสารของราชการที่อยูในความรับผิดชอบของ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนไปดวยความเรียบรอย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ถูกตองตามกฎหมายและระเบียบของราชการ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 และมาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ประกอบกับขอ 4 ของประกาศคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการไวใหประชาชนเขาตรวจดู ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ 2541 กําหนดวาการใหประชาชนเขาตรวจดูขอมูลขาวสาร หนวยงานของรัฐจะกําหนดระเบียบปฏิบัติเพื่อรักษาความเปนระเบียบเรียบรอยหรือความปลอดภัยก็ได โดยคํานึงถึงความสะดวกของประชาชนผูขอตรวจดูขอมูลขาวสารดวย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ จึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2555”

ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ในระเบียบนี้ “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา ส่ิงที่ส่ือความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง

ขอมูล หรือส่ิงใด ๆ ไมวาการส่ือความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการ ใด ๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเคร่ืองคอมพิวเตอร หรือโดยวิธีการอื่นใดที่ทําใหส่ิงที่บันทึกไวปรากฏได

“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ หรือสวนราชการในสังกัด ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐ หรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน

Page 16: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

16

“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารท่ีเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้น หรือมีเลขหมาย รหัส หรือส่ิงบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้นได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน หรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย ที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของสํานักงานคณะกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติ

“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการขอมูลขาวสารของ

ราชการ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงาน

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “สวนราชการในสังกัด” หมายความวา สวนราชการในสํานักงาน

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่มีฐานะเปนสํานักหรือ กลุมงานหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทา

“ผูขอรับบริการ” หมายความวา บุคคลธรรมดา นิติบุคคลตามกฎหมาย หนวยงานราชการหนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ

ขอ 4 ใหเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนผูรักษาการตามระเบียบนี้และใหมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้

ในกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได ใหเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจวินิจฉัยส่ังการตามที่เห็นสมควร

หมวด 1 คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนษุยชน

แหงชาติ ขอ 5 ใหมีคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานคณะกรรมการ

สิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรียกโดยยอวา “กข.สม.” ประกอบดวย เลขาธิการหรือรองเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่เลขาธิการมอบหมายเปนประธานกรรมการ รองเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักทุกสํานัก หรือหัวหนาสวนราชการในสงักัดท่ีเรียกชื่ออยางอื่นที่เทียบเทาสํานัก ผูอํานวยการ กลุมงานอํานวยการ

Page 17: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

17

ระเบียบคณะกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑและวธิีจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทาง

ของพยานบุคคล พยานผูเช่ียวชาญ พยานผูทรงคุณวุฒิ และพนักงานเจาหนาที ่พ.ศ. 2554

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

ประกอบกับมาตรา 4 และมาตรา 32 (4) แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเล้ียงและคาเดินทางของพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ พยานผูทรงคุณวุฒิ และพนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2554”

ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ วาดวย

หลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเล้ียงและคาเดินทางของพยานบุคคล พยานผูทรงคุณวุฒิ พยานผูเชี่ยวชาญ และพนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2545

ขอ 4 ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนุกรรมการท่ีคณะกรรมการ

แตงตั้งเพื่อปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “พยานบุคคล” หมายความวา บุคคลผูรูเห็นเหตุการณหรือทราบขอเท็จจริง

โดยตรง ซึ่งไดรับเชิญจากคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ พนักงานเจาหนาท่ี หรือสํานักงาน เพื่อมาใหถอยคําทําความเห็น หรือเปนพยานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน

Page 18: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

18

“พยานผูเช่ียวชาญ” หมายความวา พยานบุคคลที่มีความรูความเชี่ยวชาญหรือประสบการณเฉพาะดาน ที่คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการกําหนด

“พยานผูทรงคุณวุฒิ” หมายความวา พยานบุคคลที่มีคุณวุฒิทางการศึกษาและเปน ผูที่ มีความรู ความเชี่ ยวชาญระดับสูง เฉพาะด าน ที่คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการกําหนด

“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา บุคคลผูซึ่งคณะกรรมการแตงตั้งข้ึนเพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน

“ผูรอง” หมายความวา บุคคลผูที่ไดรับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนซึ่งไดย่ืนคํารองไวตอคณะกรรมการ กรรมการ สํานักงาน หรือพนักงานเจาหนาที่

“คาเดินทาง” หมายความวา คาพาหนะ คาที่พัก และคาใชจายอื่น “คาใชจายอ่ืน” หมายความวา คาใชจายอื่นที่มีความจําเปนตองจายอัน

เนื่องมาจากการเดินทาง หากไมจายคาใชจายดังกลาวจะไมสามารถเดินทางถึงที่หมายได ขอ 5 ใหประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติรักษาการตามระเบียบนี้ ขอ 6 กรณีมีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ใหคณะกรรมการเปนผู

วินิจฉัยชี้ขาด หมวด 1 บททั่วไป

ขอ 7 การเดินทางไปราชการเพื่อปฏิบัติงานเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ พยานผูทรงคุณวุฒิ หรือพนักงานเจาหนาที่ ใหขออนุมัติการเดินทางไปราชการและคาเดินทางจากสํานักงานตามระเบียบของทางราชการ

ขอ 8 คาใชจายอื่นใดนอกเหนือจากท่ีไดกําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ใหปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของราชการ

ขอ 9 บรรดารูปแบบ และรายการเอกสารประกอบการเบิกจายเงินตามระเบียบนี้ใหเปนไปตามที่สํานักงานกําหนด

หมวด 2 พยานบุคคล พยานผูเช่ียวชาญ และพยานผูทรงคุณวุฒ ิ

ขอ 10 ใหพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ หรือพยานผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับเชิญใหมาใหถอยคํา ทําความเห็น หรือเปนพยาน มีสิทธิไดรับคาเบี้ยเล้ียงและคาเดินทางตามอัตราตอไปนี้

Page 19: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

19

ระเบียบคณะกรรมการสทิธิมนุษยชนแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑและวธิีการในการตรวจสอบการละเมดิสิทธิ

มนุษยชน พ.ศ. 2545

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 23 วรรคสอง และวรรคสาม มาตรา 24 วรรคสอง มาตรา 25 วรรคหนึ่ง มาตรา 26 วรรคสองและวรรคสาม แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวาดวยหลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2545”

ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการ

แตงตั้งข้ึนเพื่อทําหนาที่สืบสวนและสอบสวนขอเท็จจริง รับฟงคําชี้แจงและพยานหลักฐาน และจัดทํารายงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเสนอตอคณะกรรมการ

“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธกิารคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คํารอง” หมายความวา เรื่องที่มีผูรองเรียน และใหหมายความถึงเรื่องที่

คณะกรรมการหยิบยกข้ึนพิจารณาดวย “ผูรับผิดชอบคํารอง” หมายความวา เจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ และ/หรือคณะอนุกรรมการที่ไดรับมอบหมายใหเปนเจาของคํารอง “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา บุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการ

แตงตั้งข้ึนเพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน

Page 20: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

20

ระเบียบวุฒิสภา วาดวยหลักเกณฑและวธิีการขึ้นทะเบียนองคการเอกชน

ดานสทิธิมนุษยชน พ.ศ. 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 37 ของพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 จึงออกระเบียบวุฒิสภา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการข้ึนทะเบียนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบวาดวยหลักเกณฑและวิธีการข้ึนทะเบียนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2542”

ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภาจะรับข้ึนทะเบียนองคการเอกชนดานสิทธิ

มนุษยชนเฉพาะองคการเอกชนดังตอไปนี้ (1) องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนซึ่งดําเนินกิจการเกี่ยวของโดยตรงกับ

การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน ที่เปนนิติบคุคลตามกฎหมายไทย หรือ (2) องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนซึ่งมีการดําเนินกิจการเกี่ยวของโดยตรง

กับการ สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและมีคํารับรองของสวนราชการที่เกี่ยวของ วาไดดําเนินกิจการดังกลาวมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาหนึ่งป

องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนตาม (1) หรือ (2) ตองไมมีวัตถุประสงคในทางการเมืองหรือมุงคาหากําไรจากการดําเนินกิจการดังกลาว

ขอ 4 ใหองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ตามขอ 3 มาข้ึนทะเบียนและแจงชื่อผูแทนของตนแหงละหนึ่งคนตอเลขาธิการวุฒิสภา พรอมหลักฐานแสดงวาเปนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนตามขอ 3 ภายในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2542

ขอ 5 เมื่อองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนไดมาข้ึนทะเบียนและเสนอชื่อผูแทนของตนตามขอ 4 แลว ใหเลขาธิการวุฒิสภาตรวจสอบความถูกตองและประกาศบัญชีรายชื่อองคการเอกชนและผูแทนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนที่ไดข้ึนทะเบียนไว ณ สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา

ใหเลขาธิการวุฒิสภาดําเนินการใหผูแทนองคการเอกชนตามวรรคหนึ่งเลือกกันเองเปนกรรมการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตามมาตรา 37 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542

Page 21: คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

21

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740