28
1

แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

  • Upload
    -

  • View
    402

  • Download
    2

Tags:

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ สกย นิติกร E-BOOKราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ : www.Sheetram.com สอบถามรายละเอียด Facebook http://www.facebook.com/Sheetram LINE ID : sheetram บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

Citation preview

Page 1: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

1  

 

Page 2: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

2

ขอบเขตเนื้อหา

สวนที่ 1 ความรูเก่ียวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 4 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 10 วิสัยทัศน 11 คานิยมองคกร 11 พันธกิจ 12 วัตถุประสงค 12 เปาหมายหลัก 12 ยุทธศาสตร 13 ภารกิจ/บริการ 14 ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับสวนยาง 18 การปลูกยางพารา 18 การบํารุงรักษา 31 โรคและศัตรูพืชท่ีสําคัญของยางพารา 36 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44 การแปรรูปผลผลิต 46 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 49

สวนที่ 2 กฎหมายที่เก่ียวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503

แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2530 67 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับท่ี 4)

แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 78 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 85

สวนที่ 3 กฎหมายสารบัญญัติ สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 92 สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายอาญา 144

สวนที่ 4 กฎหมายวิธีสบัญญัติ สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 175 สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 223 แนวขอสอบ 220

สวนที่ 5 กฎหมายมหาชน พรบ.วิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 272 แนวขอสอบ พรบ.วิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 298 พรบ.ความรบัผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. 2539 306 แนวขอสอบ พรบ.ความรบัผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. 2539 315 พรบ.จัดตั้งศาลปกรองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม 318

Page 3: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

3

ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง

ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเช่ือม่ันแกชาวสวนยาง

การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษด์ิ ธนรัชต มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวางวันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดานภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือนายณรงค สุจเร นายสมศักด์ิ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงินและบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวย่ิงข้ึน ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางานในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวยความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และนํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในท่ีสุด อีกท้ังใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมีหนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ย่ิงส่ิงที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุกคนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียงของ สกย. โดดเดนข้ึนมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป

Page 4: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

4

คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน

หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคล่ือนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต

พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่

ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง

ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา

ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของเกษตรกร

4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและส่ิงแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได

และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ

ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ

เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

Page 5: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

5

4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปล่ียนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล

เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางท่ีใหผลิตสูงกวา ตน

ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถใหผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม

2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยางคุมคา อนุรักษส่ิงแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษาสวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนายผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ

3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล

4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคาในตลาดทองถิ่น

5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสรางทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปล่ียนแปลง รวมถึง เสริมสรางศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล

ยุทธศาสตร เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมาย ในชวงแผน

วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4 ยุทธศาสตร ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยมุงเนนการเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ เรงรัดใหมีการปลูกยางพันธุดีหรือไมยืนตนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ ทดแทนสวนยางเกาที่ใหผลผลิต ความรูทั่วไปเก่ียวกับสวนยาง

Page 6: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

6

การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก

ยางท้ังดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําข้ันบันไดเปนตน

การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย

กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง

แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําข้ันบันได

ประโยชนของการทําแนวระดบัและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ

ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด

เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผ่ึงแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอยดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)

Page 7: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

7

มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ ยางแผนดิบคุณภาพ 1

- แผนยางมีความสะอาดและปราศจากฟองอากาศตลอดแผน - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 1.5 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัดตลอดแผน - บาง มีความหนาของแผนไมเกิน 3 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงใส มีสีสวยสม่ําเสมอตลอดแผน สีเหลืองทอง เหลืองออน - น้ําหนักเฉล่ียตอแผน 800-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.

ยางแผนดิบคุณภาพ 2 - แผนยางมีความสะอาดตลอดแผน หรืออาจมีส่ิงสกปรกและฟองอากาศอยูในแผน

ยางไดบางเล็กนอย - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 2 เปอรเซ็นต - ความยืดหยุนดีมีลายดอกเดนชัด - บาง มีความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีสม่ําเสมอตลอดแผน ลักษณะสีคอนขางคลํ้าหรืออาจมีรอยดางดําได

บางเล็กนอย - น้ําหนักเฉล่ียตอแผน 1,000-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.

ยางแผนดิบคุณภาพ 3

- แผนยางมีความสะอาด หรืออาจมีส่ิงสกปรกและฟองอากาศอยูในแผนยางไดบางเล็กนอย

- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 3 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัด - แผนยางคอนขางหนา ความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีคลํ้าคอนขางทึบ ไมโปรงใสเทาที่ควร - น้ําหนักเฉล่ียตอแผนไมเกิน 1,500 กรัม - แผนยางเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.

Page 8: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

8

พระราชบัญญัตคิวบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ

รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้

“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตนยางพันธุที่เหมาะสมท่ีจะใชปลูกเปนสวนยาง

“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยางแทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ

Page 9: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

9 หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับสารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง

“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดยคํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด

“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่งไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่งไร ตองมีสวนเฉล่ียไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด

“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษาตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ

“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง

“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผ่ึงแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิตยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ

“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศจัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอกราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยางตามวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด

“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปล่ียนยาง และหมายความรวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหน่ึงบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดยประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน

“ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย

Page 10: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

10

พระราชบัญญัตกิองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530

ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมนิทรมหาภูมพิลอดุลยเดช

สังวาลย ผูสําเร็จราชการแทนพระองค

ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503 เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน

โดยท่ีเปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อชวยเหลือเจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีข้ึน

พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะรฐัสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไว ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.) “ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามที่คณะกรรมการ

กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละ

ไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉล่ียไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตน “สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร “สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึง

สองรอยหาสิบไร “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไร

ข้ึนไป “เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผลจาก

ตนยางในสวนยางที่ทํานั้น

Page 11: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

11

“ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐจากยาง

“การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิดอื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืนตนเกาทั้งหมดหรือบางสวน

“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น

“เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปนเจาพนักงานสงเคราะห

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะหการ

ทําสวนยาง “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่งสง

สมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุนใชจายในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดีย่ิงข้ึน

ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินกิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการใด ๆ ที่จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและสวนไมยืนตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการสงเคราะห กับใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย

ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีสํานักงานแหงใหญในกรุงเทพมหานคร เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง”

มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะหเกษตรกรตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร

Page 12: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

12

แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทาํสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530

1. พรบ.กองทุสงเคราะหการทําสวนยาง ฉบับที่ใชในปจจุบนั เปนฉบับพ.ศ.ใด ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2503 ข. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2513 ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2530 ง. ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2549

ตอบ ค. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2530 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ สวนยาง

ก. ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร ข. ที่ดินแตละไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน ค. โดยเฉล่ียปลูกยางไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละไรมีตน

ยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉล่ียไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตน 3. สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ข. สวนขนาดเล็ก

“สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร 4. สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึงสองรอยหาสิบไร เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ค. สวนขนาดกลาง

“สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึงสองรอยหาสิบไร

Page 13: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

13 5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรข้ึนไป เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ง. สวนขนาดใหญ

“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรข้ึนไป 6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด

ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป

ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป

“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใดไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม

ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา

กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุย่ีสิบหาปข้ึนไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย

ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

Page 14: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

14

ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุกวาย่ีสิบหาปข้ึนไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวาอะไร

ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย.

10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน

คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณมอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรมศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่นอีกไมเกินหกคนซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยางสองคน

Page 15: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

15 12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนงคราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป

ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป

13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา

ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอยละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปนประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีรัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปนรายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ

ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอยละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ใหรัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน

Page 16: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

16 15.เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดเล็ก จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละย่ีสิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ง. รอยละเจ็ดสิบ 16. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดกลาง จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละย่ีสิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ

ตอบ ข. รอยละยี่สิบ 17. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดใหญ จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละย่ีสิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ก. รอยละสิบ

เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางนั้น แตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยาง ดังตอไปนี้

ประเภทสวนขนาดใหญ รอยละสิบ ประเภทสวนขนาดกลาง รอยละย่ีสิบ ประเภทสวนขนาดเล็ก รอยละเจ็ดสิบ

18.ภายในกําหนดเวลาใดนับแตวันส้ินปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการจัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน เสนอตอรัฐมนตรี ก. สามสิบวัน ข. หกสิบวัน ค. เกาสิบวัน ง. หนึ่งรอยย่ีสิบวัน

ตอบ ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน

Page 17: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

17

ภายในกําหนดเวลาหน่ึงรอยย่ีสิบวันนับแตวันส้ินปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการจัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน โดยมีคํารับรองการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน และทํารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานเสนอตอรัฐมนตรี 19.ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เสียเงินสงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษอยางไร

ก.จําคุกไมเกินหกเดือน ข.ปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ ค. ตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เพื่อหลีกเล่ียงไมเสียเงินสงเคราะห หรือเพื่อเสียเงิน

สงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ แตตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 20.ผูใดขัดขวางหรือไมใหความสะดวกแกกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห หรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการในการเพื่อทําการสํารวจตรวจสอบและรังวัดตองระวางโทษอยางไร

ก. จําคุกไมเกินหาวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินย่ีสิบวัน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสามสิบวัน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ข. จําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ใหกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห และบุคคลท่ีไดรับมอบหมายเปนหนังสือจาก

คณะกรรมการ เขาไปในสวนยางที่เจาของสวนยางขอรับการสงเคราะห และท่ีดินตอเนื่องกับสวนยางนั้น เพื่อทําการสํารวจตรวจสอบและรังวัด

หากผูใดขัดขวางหรือไมใหความสะดวกแกกรรมการ เจาพนักงานสงเคราะห หรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการในการปฏิบัติการ หรือไมปฏิบัติตามหนังสือเรียก ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบวัน หรือปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 18: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

18 21. ผูรักษาการตามพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร

ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ

แตงตั้งเจาพนักงานสงเคราะหและออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

**************************************************************

Page 19: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

19

แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป

ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ ตอบ ง. วันที่สิบ ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ

ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือนถัดไป 7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในกี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน

ตอบ ค. สามสิบวัน ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี

คําส่ังพักใชใบอนุญาต หรือคําส่ังเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแตกรณี 8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองย่ืนคําขอภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน

Page 20: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

20

ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอพนักงานเจาหนาที่และย่ืนคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว 9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาตทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ง. หกสิบวัน

ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมส้ินอายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะส้ินอายุ แตตองแจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย 10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน

ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย

สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย 11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน

ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการเลิก

กิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวาใบอนุญาตส้ินอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น

Page 21: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

21 12.ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต หากไมปฎิบัติตาม ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ค. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตา

ของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 13. ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตาม ตองระวางโทษปรับไมเกินเทาใด ก. หาพันบาท ข. หนึ่งหมื่นบาท ค. สองหมื่นบาท ง. หาหมื่นบาท ตอบ ข. หนึ่งหม่ืนบาท

ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตามตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท 14.ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปนผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษอยางไร

ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 22: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

22

ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปนผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 15. ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในใบอนุญาตตองระวางโทษปรับไมเกินเทาใด

ก. หนึ่งพันบาท ข. สองพันบาท ค. สามพันบาท ง. หาพันบาท ตอบ ง. หาพันบาท ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในใบอนุญาตตองระวางโทษ

ปรับไมเกินหาพันบาท 16. ใบอนุญาตนําเขาซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางท่ีอาจใชเพาะพันธุได มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด

ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท ตอบ ค. 1000 บาท 17. ใบอนุญาตคายาง มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด

ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท ตอบ ค. 1000 บาท 18. ใบอนุญาตเปนผูนํายางเขามาในราชอาณาจักร มีอัตราคาธรรมเนียมฉบับละเทาใด

ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1000 บาท ง. 5000 บาท

ตอบ ง. 5000 บาท

19. ใบผานดานศุลกากร (เก็บตามน้ําหนักของยางที่นําเขาหรือสงออก) มีอัตราคาธรรมเนียมกิโลกรัมละเทาใด

Page 23: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

23

สรุปสาระสําคัญประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย

ทรัพยสินและสวนของทรัพย ความหมายของทรัพยสินและทรัพยสิน

มาตรา 137 “ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง” มาตรา 138 “ทรัพยสินหมายความรวมทั้ง ทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจ

มีราคาและอาจถือเอาได” จากบทบัญญัติดังกลาว สามารถแยกวิเคราะหศัพท คําวา “ทรัพย” คือ วตัถุที่มี

รูปราง สวนคําวา “ทรัพยสิน” คือวตัถุที่มีรปูรางหรือไมมีรูปรางก็ได ฉะนั้น ทรัพยตามมาตรา 137 จึงเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินตามมาตรา 138 ตองนําองคประกอบที่วา “อาจมีราคาและอาจถือเอาได” มาใชดวยแมจะมิไดระบไุวก็ตาม

“วัตถุมีรูปราง” หมายถึง ส่ิงที่มองเห็นดวยตา จับตองสัมผัสได ไมตองคํานึงถึงขนาดทรัพยบางอยางจึงไมอาจมองเห็นดวยตาเปลา หรือสัมผัสไดถนัดนกั เชน เชื้อโรคแตหากใชเครื่องมือขยายไดดวยกลองจุลทรรศน และมีรูปรางในตัวเองโดยลําพังก็ใชไดแลว ประเภทของทรัพย

1.อสังหาริมทรัพย มาตรา 139 “อสังหาริมทรัพย หมายความวา ที่ดินและทรัพยอันติดอยูกับ

ที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร หรือประกอบเปนอันเดยีวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเก่ียวกับที่ดนิ หรือทรัพยอันตดิอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอันเดียวกับทีด่ินนั้นดวย”

สามารถแยกอธิบายลักษณะสําคัญได 4 กรณี 1.1 ที่ดิน คือพืน้ดินบนโลกหรือพื้นดินทั่วๆ ไป แตไมรวมถึงพื้นน้ํา หรือดินที่ขุด

ข้ึนมาแลว 1.2 ทรัพยอันตดิกับที่ดิน โดยมีลักษณะติดตรึงตราแนนหนา และถาวรไดแก ก.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยธรรมชาติ เชน ไมยืนตนมีอายุ

ยาวนานกวา 3 ป นั้นมีลักษณะติดถาวรและเปนสวนควบ จึงเปนอสังหาริมทรัพย สวนตนไมลมลุกและธัญชาติที่มีอายุต่ํากวา 3 ป เชน ตนขาวตาง ๆ จึงเปนสังหาริมทรัพย

Page 24: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

24

ข.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยมนุษย เชน การสรางอาคาร บานเรือน อนุสาวรีย หอนาฬิกา เปนตน

หลักที่ควรพิจารณา คือ การดูสภาพและเจตนาเปนสําคัญ โดยไมสนใจระยะเวลาที่นํามาติด เชน รานคางานกาชาด แมจัดงานเพียง 10 วัน แตตัวอาคารรานคาคงทนถาวรใชขายสินคาทุกป ก็ถือวาเปนอสังหาริมทรัพยแลว

1.3 ทรัพยซ่ึงประกอบเปนอันหนึ่งอันเดียวกับทีด่ิน คือ ทรัพยที่เปนสวนหนึ่งหรือประกอบเปนพื้นดิน เชน แมน้ํา หิน ทราย และแรธาตซุึ่งมีอยูตามธรรมชาติหรือมนษุยนํามารวมไวกับที่ดินก็ตาม แตไมรวมถึงสังหาริมทรัพยที่ซอนฝงหรือจมอยูในดิน เชน วัตถุโบราณ ทอประปา เปนตน

1.4 ทรัพยสินอันเก่ียวกับที่ดินหรือติดอยูกับที่ดนิหรือประกอบเปนอันเดียวกับทีด่ิน ไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจาํยอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน การติดพันในอสังหาริมทรัพย และสิทธิจํานองอันเกี่ยวกับที่ดิน เปนตน

2.สังหาริมทรัพย

มาตรา 140 “สังหาริมทรัพย หมายความวา ทรัพยสินอ่ืนนอกจากอสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงสิทธิอันเก่ียวกับทรัพยสินนั้นดวย”

อะไรซึ่ งไมใชอสังหาริมทรัพย ตองเปนสังหาริมทรัพย เสมอไป และเปนสังหาริมทรัพยหรือไม ถาไมเขาหลักเกณฑอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 139 ตอบไดทันทีวาเปนสังหาริมทรัพย

สามารถแยกออกไดเปน 2 กรณี 2.1 ทรัพยสินอ่ืนนอกจากอสังหาริมทรัพย คอื ทรัพยที่เคล่ือนไหวได เชน

รถยนต แกว แหวน เงนิทอง เปนตน 2.2 สิทธิอันเก่ียวกับทรัพยสิน คอืการเนนตัวสิทธิ ซึ่งเปนนามธรรมที่เกี่ยวกับตวั

ทรัพยที่เปนรูปธรรม แตไมไดใชคําวา ทรัพยสิทธิ จึงเปนคนละกรณี สวนในตอนทายใชคําวาทรัพยสิน แสดงวาสิทธิตัวนี้ รวมท้ังทรัพยที่มีรปูราง และไมมีรูปราง ซึง่อาจมีราคา และอาจถือเอาไดดวย เชน กรรมสิทธิ์รถยนต เปนตน

สิทธิในสังหาริมทรัพยทีไ่มมีรูปราง ตองเปนสิทธิที่กฎหมายใหการรับรองแลว เชน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน

Page 25: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

25

แนวขอสอบพรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 6.ผูมีอํานาจออกฎ กระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พรบ. วิธีปฏบิัติราชการทางปกครอง ในฉบับนี้คือผูใด ก. นายกรัฐมนตร ี ข. คณะรัฐมนตร ี ค. ประธานศาลฎีกา ง. ประธานศาลยุติธรรม ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบตัิการตาม พระราชบัญญัตนิี้ (พรบ.วิธปีฏิบัติฯ มาตรา 6) 7.ผูใดมิใชคณะกรรมการวิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตร ี ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตร ี ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด

ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา "คณะกรรมการวิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง”ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐมนตร ีเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา และผูทรงคุณวุฒิอีกไมนอยกวาหาคนแตไมเกนิเกาคน เปนกรรมการ (พรบ.วิธีปฏบิัติฯ มาตรา 7)

8.คณะกรรมการวิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง มีวาระอยูในตาํแหนงคราวละก่ีป ก. คราวละสองป ข. คราวละสามป ค. คราวละสีป่ ง. คราวละหาป ตอบ ข. คราวละสามป

ใหกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระดํารงตําแหนงคราวละสามป กรรมการซึง่พนจากตําแหนงอาจไดรบัแตงตั้งอีกได (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 8)

Page 26: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

26

9.หนวยงานใดทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชมุ ก. เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ข. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ค. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตร ี ตอบ ข. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาขอมูลและกิจการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 10) 10.ในการจัดทํารายงานของคณะกรรมการเกี่ยวกับการปฏิบัตติาม พรบ.นี้ ตองนําเสนอตอคณะรัฐมนตรีอยางนอยปละกี่ครั้ง ก. 1 ครั้ง ข. 2 ครั้ง ค. 3 ครั้ง ง. 4 ครั้ง ตอบ ก. 1 คร้ัง

จัดทํารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบญัญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้งคราวตามความเหมาะสมแตอยางนอยปละหนึ่งคร้ัง เพื่อพฒันาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครองใหเปนไปโดยมีความเปนธรรมและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน (พรบ.วธิีปฏิบัติ มาตรา 11) 11.ผูที่จะทําการพิจารณาทางปกครองไมไดคือขอใด ก. เปนคูกรณีเอง ข. เปนคูหมั้นของคูกรณ ี ค. เปนญาตขิองคูกรณ ี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

เจาหนาที่ดังตอไปนี้จะทาํการพิจารณาทางปกครองไมได (1) เปนคูกรณีเอง (2) เปนคูหมัน่หรือคูสมรสของคูกรณ ี

Page 27: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

27

(3) เปนญาตขิองคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นองหรือลูกพี่ลูกนองนับไดเพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียงสองชั้น (4) เปนหรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูพิทักษหรือผูแทนหรือตวัแทนของคูกรณ ี (5) เปนเจาหนี้หรือลูกหนี้ หรือเปนนายจางของคูกรณ ี (6) กรณีอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (พรบ.วิธีปฏิบัตฯิ มาตรา 13) 12.ที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคดัคานปฏิบัตหินาที่ตอไป ตองมคีะแนนเสียงเทาใดของกรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบตัิหนาที่ตอไปได ก. ไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ข. ไมนอยกวาหนึ่งในสาม ค. ไมนอยกวาสองในสาม ง. ไมนอยกวาสามในสี่ ตอบ ค. ไมนอยกวาสองในสาม ถาที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคดัคานปฏิบัตหินาที่ตอไปดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของกรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบตัิหนาที่ตอไปได มติดังกลาวใหกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับใหเปนที่สุด (พรบ.วิธปีฏิบัติฯ มาตรา 15)

13.ในกรณีที่มีการย่ืนคําขอหลายคําขอนั้นมีขอความทํานองเดียวกนั สามารถที่จะระบบุุคคลใดเปนตัวแทนรวมได ในกรณีเชนนีต้องมีผูลงชือ่รวมเกินกวากี่คน ก. เกินสามสิบคน ข. เกินหาสิบคน ค. เกินหารอยคน ง. เกินหนึ่งพันคน ตอบ ข. เกินหาสิบคน ในกรณีที่มีการย่ืนคําขอโดยมีผูลงชื่อรวมกันเกินหาสิบคนหรือมีคูกรณีเกินหาสิบคนย่ืนคําขอท่ีมีขอความอยางเดียวกันหรือทํานองเดียวกัน ถาในคําขอมีการระบุใหบุคคลใดเปนตัวแทนของบุคคลดังกลาวหรือมีขอความเปนปริยายใหเขาใจไดเชนนั้น ใหถือวาผูที่ถูกระบุชือ่ดังกลาวเปนตัวแทนรวมของคูกรณเีหลานั้น (พรบ.วิธีปฏิบตัิฯ มาตรา 25)

Page 28: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ

28

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่ LINE ID : sheetram

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740