47
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ ทางการเคลื่อนไหว โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

  • Upload
    ss

  • View
    220

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019

Page 2: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ความเปนมาของโครงการ

ในปจจุบันประเทศไทยมีศูนยฟนฟูเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิการทางการเคลื่อนไหวยังไมมีเฉพาะมีแตศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนิวาส จ.สมุทรปราการ และศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ จ.นนทบุรีจะเห็นไดวาศูนยฟนฟูยังมีไมเพียงพอตอจํานวนเด็กพิการที่มากขึ้นทุกป

พญ.ดารณี สุวพันธ ผูอํานวยการศูนยสิรินธรฯ กลาววา อุบัติการณของเด็กที่พิการแตกําเนิดมีประมาณ 0.9 คนตอพันของเด็กที่คลอดมีชีพ หรือประมาณ 1,500-2,000 คนตอเด็กไทยที่เกิดใหมในแตละป หากรวมยอดสะสมประมาณเปนแสนราย ทั้งนี้หากรวมถึงกลุมเด็กที่มีอาการพิการทางสมอง ซึ่งทําใหเกิดการพิการทางการเคลื่อนไหวดวย หากรวมทั้ง 2 กลุมนี้คาดวาจะมีประมาณ 4-5 แสนคน แตทั้งนี้ยังไมเคยมีการเก็บขอมูลดังกลาววามีเด็กที่พิการที่แทจริงจํานวนเทาใด

Page 3: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

วัตถุประสงคของโครงการ

1.เพ่ือรักษาและบําบัดฟนฟูความพิการทางรางกายของเด็กตั้งแตอายุ 3-6 ป

2.ใหบริการทางดานวิชาการและเปนศูนยกลางในการรักษา

3. เปนสถานฟนฟูที่เด็กสามารถเดินทางไป-กลับ

Page 4: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

วัตถุประสงคของการศึกษา1.เพ่ือศึกษาถึงลักษณะของเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวใหทราบถึงความตองการเพ่ือตอบสนองตอความตองการและพฤติกรรมมาตรฐานตางๆ เพ่ือนํามาใชแกปญหาที่เกิดขึ้นใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูใช

2.เพ่ือศึกษาถึงโครงการ หนวยงาน สภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว ในปจจุบันเพ่ือเปนแนวทางการจัดต้ังโครงการ

3.เพ่ือศึกษาทางดานการออกแบบรายละเอียดสําหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวเพ่ือใหเกิดบรรยายการที่ดีในการฟนฟู

4. เพ่ือศึกษาแนวทางการใชประโยชนที่ดินที่มีประสิทธิภาพและรักษาสภาพแวดลอม

Page 5: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ขอบเขตโครงการ

1.ศึกษาขอมูลพ้ืนฐานทั้งหมดที่เก่ียวของกับการวิเคราะหการออกแบบ1.1 ศึกษาถึงเหตุผลและความเปนไปไดในดานตางๆ1.2 ศึกษาสภาพแวดลอมและปญหาความตองการที่เกี่ยวกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว1.3 ศึกษาโครงการที่คลายคลึง เพ่ือนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ1.4 ศึกษาระบบโครงการทุกดานรวมถึงมาตราฐานที่เกี่ยวกับการออกแบบ1.5 ศึกษาถึงความเปนไปไดของที่ต้ัง และศึกษาถึงสภาพปญหาของพ้ืนที่เพ่ือในมาประกอบในการออกแบบ1.6 ศึกษาถึงรายละเอียดโครงการ1.7 ศึกษาความตองการทั้งกายภาพและจิตใจของผูพิการทางการเคลื่อนไหว1.8 ศึกษางานสถาปตยกรรมพิเศษที่ตองใชในการออกแบบ

เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวต้ังแตอายุ 3-6 ขวบ

Page 6: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

2.ศึกษางานวางผังบริเวณขนาดใหญ2.1 ศึกษาการใชที่ดินและการวางตําแหนงของอาคาร2.2 ศึกษาระบบการสัญจร2.3 ศึกษาระบบการระบายน้ํา2.4 ศึกษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ

3.ศึกษางานวางผังบริเวณ3.1 สวนบริหารและอํานวยการ3.2 สวนบําบัดฟนฟู3.3สวนนันทนาการ3.4สวนบริการและซอมบํารุง3.5สวนลานจอดรถ

Page 7: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

4.ศึกษางานออกแบบรายละเอียด4.1 ออกแบรายละเอียดองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม4.2 รายละเอียดของระบบตาง เชน ระบบระบายน้ํา ทางเทา 4.3 ออกแบบการเลือกใชวัสดุกอสราง4.4 ออกแบบรายละเอียดพืชพรรณ

Page 8: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ข้ันตอนและวิธีดําเนินการศึกษาแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คืองานขั้นเก็บรวบรวมขอมูล

1.ศึกษาขอมูลของโครงการ1.สภาพการณ ปญหา และความตองการที่เกี่ยวของกับคนพิการ2.หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและรับผิดชอบตอคนพิการ3.ลักษณะโครงการที่เหมาะสม4.ศึกษาถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5.ศึกษาถึงสาเหตุ ประเภท ลักษณะของการพิการทางการเคลื่อนไหว6.ศึกษาพฤติกรรม ความตองการ ลักษณะของการพิการใชชีวิตประจําวัน การใชเวลาวาง การใชพ้ืนที่ภายนอกอาคาร7.มาตรฐานของ Human scale ในสวนของคนพิการที่จะนํามาใชในการออกแบบ8.ศึกษาถึงกีฬาและนันทนาการที่มีสวนในการชวยพัฒนาเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว9.ศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว10.ศึกษาโครงการที่เกี่ยวของ

Page 9: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

1.2 ศึกษาถึงความเปนไปไดของโครงการ1.2.1 ศึกษาถึงประโยชนโครงการตอสาธารณชน

1.2.2 ศึกษาถึงนโยบายของรัฐที่สนับสนุนและเกี่ยวของ1.2.3 ศึกษางานดานการบริหารและดําเนินงานในโครงการ

1.3 ศึกษาที่ต้ังของโครงการ1.3.1 วิเคราะหทําเลที่เหมาะสม1.3.2 ที่ต้ังโครงการและสภาพแวดลอม เชน ตําแหนง อาณาเขต ขนาดและรูปรางของ

พ้ืนที ่ฯลฯ1.3.3 สภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพทั่วไปของดิน การ

ใชที่ดินพืชพันธใน ทองถิ่น ทัศนียภาพ

1.3.4 สภาพทั่วไปทางเศรษฐศาสตร เชน สภาพทางเศรษฐกิจ ที่มาของงบประมาณหรือเงินทุนสนับสนุน

1.3.5 โครงสรางพ้ืนฐาน เชน ระบบคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบกําจัดขยะ ระบบระบายน้ํา กฎหมายและเทศบัญญัติ

Page 10: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

1.4 ศึกษารายละเอียดของโครงการเพ่ือนําขอมูลมาใชในการออกแบบ อันไดแก1.4.1 วัตถุประสงคของโครงการ1.4.2 การจัดรูปแบบของโครงสรางของโครงการ1.4.3 กําหนดฐานะและรูปแบบโครงการ1.4.4 โครงสรางการบริหาร

1.5 งานศึกษาประเภทเดียวกัน หรือคลายคลึงกัน

Page 11: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

องคประกอบหลักของอาคาร•สวนการฟนฟู

• สวน OUTDOOR LEARNING

• สวนกลางการศึกษา• สวนที่ใหบริการการสอนตางๆ• หองคอมพิวเตอร

Page 12: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

• สวนบําบัดรักษา• หองกายภาพ • หองธาราบําบัด • หองจิตบําบัด • หองกายอุปกรณ

• สวนกีฬาและสวนนันทนาการ• สระวายน้ํา• สนามกีฬากลางแจง

Page 13: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

• สวนบริการและบํารุง• สวนซักรีด• สวนซอมบํารุง

• สวนบริหารและอํานวยการ• ฝายบริหาร• ฝายธุระการ• ฝายการเงิน• ฝายพัสดุ• ฝายวิชาการ• ฝายทะเบียน• ฝายประสานงานและติดตอ

Page 14: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ลูกบอล(Blowster ball)

ใชฝกกระตุนพัฒนาการตางๆ เชนการกล้ิง การพลิกตะแคงตัว การนั่งการชันคอเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อหลัง ฝกการลงน้ําหนัก ฝกการทรงตัวในทานั่ง กระตุนการรับรูและทิศทาง

ราวฝกเดินใชฝกการทรงตัวซ่ึงมีความม่ันคงมากกวาอุปกรณ

ชนิดอื่น เชนไมค้ํายัน เหมาะสําหรับการเริ่มฝกเดิน ชีวิตประจําวันชีวิตประจําวันเพ่ือกระตุนพัฒนาการ

ทางดานการเคล่ือนไหว ฝกการทรงตัว

Page 15: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ถุงหนังบรรจุเม็ดเหล็กกลม (Sand bag)

ใชฝกรวมกับอุปกรณอ่ืนไดโดยมีน้ําหนักต้ังแต 0.5 , 1 , 1.5 , 2 ,2.5 , 3 กิโลกรัม เพ่ือใชถวงน้ําหนักในสวนตางๆของรางกาย ตามที่ตองการเพ่ือเปนการฝกการทรงตัว เพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อแขนและขา

อุปกรณชิ้นนี้ใชรวมกับถุงทราย โดยใชเด็กนอนบนเตียงวางขาบนอุปกรณชิ้นนี้ ใหบริเวณขอพับชวงเขาอยูตรงมุมแหลมสวนบนของอุปกรณโดยใชถุงทรายผูกที่ขอเทาแลวเตะขาขึ้นโดยที่เขาวางที่เดิมการเพ่ิมระดับความยาก และเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อ

สามารถทําไดโดยปรับมุมความสูงของกระดาน เพ่ิมขนาดน้ําหนักของถุงทราย หรือเพ่ิมจํานวนคร้ังของการยก

กระดานฝกกลามเน้ือขา

Page 16: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

การวิเคราะหโครงการโครงการประเภทเดียวกันในประเทศ

ศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาต ิ

โครงการประเภทเดียวกันในตางประเทศ National Rehabittation Center For DisableRehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center

Page 17: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

ท่ีตั้ง : ซอยโรงพยาบาลบําราศนราดูร ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี บริเวณกระทรวงสาธารณสุข

พ้ืนท่ี : 33 ไร

ลักษณะโครงการศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติเปนหนวยงานระดับกอง สังกัดกรมการแพทยกระทรวงสาธารณะสุข มีจุดหมายในการเปนศูนยกลางของภาครัฐในการรับผิดชอบทางวิชาการและการประสานงาน เพ่ือพัฒนางานฟนฟูสมรรถภาพผูปวยและผูพิการของประเทศไทย โดยดําเนินการภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแหงชาติ และ แผนเเมบทการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ

Page 18: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ภารกิจขององคกรแบงไดเปน 2 สวนคือ

•การวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลย ีรูปแบบ และ โปรแกรมการฟนฟูสมรรถภาพผูปวย ผูพิการ ท่ีมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และ เหมาะสมกับสังคมไทย

•การสนับสนุนและการถายทอดทางวิชาการเพ่ือการพัฒนาบริการฟนฟูสมรรถภาพผูปวย ผูพิการในสวนภูมิภาค เพ่ือใหเกิดการกระจายการบริการ จนผูปวย/ผูพิการท่ีตองการรับบริการสามารถเขาถึงไดเทาเทียมกัน ท่ัวประเทศ

Page 19: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

สวนประกอบโครงการ•สวนอาคารผูปวยนอก

สวนรักษาทางการแพทยและสวนบริหาร

-โรงอาหาร รานคาสวัสดิการ -สวนกายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด-สวนอาชีวะบําบัด -สวนกายอุปกรณ-งานวิชาการ -หอพักผูปวยหญิง-หอพักผูปวยชาย -อาคารโภชนาการกลาง-อาคารซอมบํารุง -หองเคร่ืองอาคารเก็บของ-อาคารซักฟอก -หองเก็บศพ -อาคารกีฬาในรม -สนามฟุตบอล

Page 20: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ลักษณะการวางผัง

มีการจัดแบงพ้ืนที่ใชสอยเปน 2 สวน อยางชัดเจน คือสวนที่ทําการ บําบัด กับสวนที่พักผูปวย โดยแบงกลางดวยทางเดินหลัก กวาง 3 เมตร จัดกลุมตามลําดับการเขาถึง และ สะดวกตอการติดตอ เชน สวน service ที่สามารถติดตอโดยตรงกับสวนที่พักผูปวย โดยไมตองผานถนน และ สวนอ่ืน ๆ กอนจัดกลุมอาคารที่ใชสอยโดยผูปวยใหอยูในกลุมเดียวกัน มีทางสัญจรเช่ือมถึงกันโดยไมผานทางรถ (ยกเวนสวนของโรงอาหารที่สรางขึ้นมาทีหลัง ที่แยกตัวออกไปทําใหเกิดความยากลําบากในการสัญจรของผูใช

( Wheelchair ) มีการเช่ือมตอ open space ของสนามกับสวนของโรงพยาบาลศรีธัญญา สรางมุมมองที่ดีใหกับบริเวณทาง สัญจรหลัก ผูปวยจะใชบริเวณทางสัญจรนี้เปนพ้ืนที่พักผอน อานหนังสือ และ พบญาติมิตร ยังไมคอยมีการคํานึงถึงการสรางสภาพแวดลอมที่ดีมากนัก เชนทางรถที่ผานสวนที่พักผูปวยตลอดเวลา และการวาง สวน service ที่เกิดเสียงรบกวน (โภชนาการ) ไวใกลผูปวยเกินไป

Page 21: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

รูปแบบการสัญจร

ทางเดินสัญจรวางตัวในลักษณะเปนเสนแลวทางแยก อาจสะดวกในดาน orientation แตในแงการติดตอกันจะไมสะดวกเพราะระยะทางที่ยืดยาว ตองเดินยอนกลับทางเดิมตลอดเวลา

การขึ้นลงอาคารของผูปวย wheelchair เสนทางหลักคือ ramp ระหวางกึ่งกลางหมายเลข 1 และ 2 แตทีD่rop off รถยนตที่มีหลังคาคลุม อยูบริเวณหนาตึกผูปวยนอก ซ่ึงไมสัมพันธกัน และ ramp ที่ขึ้นอาคาร บริเวณจุด drop off ก็มีความชันเกินมาตรฐานเนื่องจากไมไดออกแบบพ้ืนที่เผื่อไว

การสัญจรทางตั้งระหวางช้ัน และ สําหรับผูปวย wheelchair สวนใหญใชทาง ลิฟทซ่ึงอยูกึ่งกลางระหวางหอพักชายและหญิงเปนหลัก มีการทํา ramp เช่ือมในระดับความชัน 1 : 12 ที่ผูใช wheelchair ที่ผึกหัดแลวสามารถขึ้นไดดวยตัวเอง แตเม่ือสังเกตการใชงานแลว ผูที่ใช ramp กลับเปนคนปกติมากกวา

อาคารเก็บศพวางตัวอยูที่ปลายสุดทางเดินที่จะไปอาคารกีฬาในรม ใหบรรยากาศไมด ี

Page 22: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ลักษณะรูปแบบการและการวางตัวอาคาร

อาคารสวนใหญสูง 2 ชั้น วางอาคารตาม orientaion แนว ตอ – ตต. แตภายในอาคารยังไมคํานึงถึงกับการรับแสงธรรมชาติมากนักลักษณะอาคาร ท่ีทําการบําบัด จัดวางแบบ open plan ยืดหยุนการใชงานของผูปวย อาคารท่ีพักผูปวย จัดแบบsingle corrdor รับลมธรรมชาต ิพ้ืนท่ีชั้นหน่ึงสูงขึ้นจากพ้ืน 1 เมตร เพ่ือปองกันนํ้าทวม ทําใหดูตัดขาดจากพ้ืนดิน ผูปวยไมสามารถ ลงไปท่ีสนามท่ีเห็นอยูขางหนาโดยตรงได แตตองเดินออมไปลงท่ีอาคารกีฬาในรม

การใชพ้ืนท่ีวางระหวางอาคาร มีการจัดวางตนไมประดับไว แตก็เปนไดเพียงเพ่ือการมองเพียงอยางเดียวไมสามารถเขาถึงได

Page 23: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ปญหาท่ีเกิดขึ้นในโครงการ

สวนใหญเปนปญหาเร่ืองการใชงานท่ีแตกตางกัน ของผูปวยใช wheelchair ผูปวยท่ีมีปญหาเร่ืองกระดูกสันหลังและ ผูปวยท่ีใชไมเทา เชน

ระดับ dimension ของผูปวยท่ีน่ังเกาอี้จะต่ํากวาระดับปกต ิทําใหการออกแบบเฉพาะสวน เชน ระดับเคาทเตอร ระดับเสียง ท่ีต่ํากวาปกต ิสรางปญหาใหผูปวยท่ีมีปญหาเร่ืองกระดูกสันหลัง ท่ีไมสามารถกมตัวได

การออกแบบพ้ืนท่ีเปล่ียนระดับ ควรตองมีท้ัง ramp และบันไดไปพรอม ๆ กัน เพราะผูปวยท่ีใชไมเทา สามารถขึ้นดวยบันไดสะดวกกวา ramp

Page 24: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

โครงการในตางประเทศNational Rehabittion Center For Disable

ท่ีตั้ง : 1 Namiki 4 – Chome Tokorozawa Coty Saitama Prefecture 359 Japan พ้ืนท่ี : 140 ไร ลักษณะโครงการเปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับชาติของญ่ีปุน โดยมีกิจกรรมท่ีใหบริการแบงออกเปน 4 สวนใหญ ๆ คือ1. Comprehensive Rehabittation Services การใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยทีมผูเชี่ยวชาญทางดานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ซึ่งรวมท้ังคนพิการแขนขา ลําตัว คนตาบอด หูหนวก เปนใบ จุดประสงคเพ่ือใหสามารถกลับเขาสูสังคมได (Re – Entry into Society )

Page 25: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

โดยสามารถแบงการบริการไดเปน 2 ประเภท คือโรงพยาบาล ผูปวยแบบ Nursing 200 เตียง ศูนยฝก ฝกอาชีพ 210 คน ฝกกิจวัตรประจําวัน 40 คนสวนตรวจรักษาทางการแพทย การฝกอาชีพท่ัวไป เชน หัตกรรม ซักรีด การหัดขับรถกายภาพบําบัด การฝกการใชชีวิตประจําวัน ของคนตาบอดโดยเฉพาะอรรถบําบัด การฝกทางดานการกีฬาของผูพิการจักษุบําบัดสวนผูปวยใน

Page 26: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

2.Research and Development of Rehabittation Technique

สวนวิทยบริการ มีหนาท่ีทําการคนควาวิจัยและพัฒนาเทคนิคตาง ๆ ท่ีจะชวยในการฟนฟูผูพิการ

3.Training of Professional Staff

สวนของวิทยาลัย ทําหนาท่ีผลิตบุคลากรทางการแพทย ท่ีเกี่ยวของกับผูพิการ

• Infotmation Service เปนศูนยรวมขาวสารตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในญ่ีปุนและประเทศ

ตาง ๆ ท่ัวโลก

Page 27: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

สวนประกอบโครงการดานลักษณะอาคารและเน้ือท่ี (ตารางเมตร)

สวนโรงพยาบาล (Nursing ) 13,087

สวนงานวิจัย 3,108ศูนยฝก 7,655วิทยาลัย 2,314หอพักผูฝก (Non – nursing) 17,064หอพักนักศึกษา 3,768โรงยิมเนเซียมและสระวายนํ้าในรม 2,919สวนบริการ บริการ และ อื่น ๆ 22,050สวนกายอุปกรณเทียมและโรงงานผลิต 1,339

Page 28: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

รูปแบบการวางผัง มีการจัดวางผังใหมีความสัมพันธกันตามความตองการการใชสอยและลําดบั

การเขาถึงอยางชัดเจน เชนการจัดวางผังแบงตาม พ้ืนท่ี Public (Admin) Semi – public (hospital vocational education active receation)และสวน Private (non – nursing dorm service staff dorm) และ การจัดความสัมพันธของแตละสวน เชนสวนService ท่ีสามารถบริการสวนของโครงการไดคอนขางท่ัวถึง สวนของท่ีพัก staff ท่ีจัดใหใกลสวนท่ีพักผูใชแบบNon – nursing ทําใหผูใชรูสึกปลอดภัย และปองกันในกรณีตองชวยผูใชซึ่งเปนผูพิการยามฉุกเฉิน เชน อุบัติเหตุไฟไหม สวนของ recreation ท่ีสะดวกตอผูใชพิการและ ความเชื่อมโยงกับสวนบําบัด

เน่ืองจากสภาพพ้ืนท่ีลอมรอบดวยถนน จึงมีการวางพ้ืนท่ีโดยกันสวนท่ีพักผูปวยและสวนการบําบัดซึ่งตองการความสงบมากท่ีสุด ใหอยูหางจากถนนดวยพ้ืนท่ีใชสอยอื่นจัดสวน sport rectation ซึ่งเปน open – space ผืนใหญในโครงการใหมีความสัมพันธกับ พ้ืนท่ีขาง ๆ ท่ีเปน Open space ผืนใหญใหตอเน่ืองกัน

Page 29: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

รูปแบบการสัญจรเน่ืองจากพ้ืนท่ีขนาดใหญ และ ตองมีทาง service ของรถยนตเขาถึงโดยรอบ

จึงมีทางเขาออกและทางสัญจรเปนจํานวนมากมีการแยกระบบสัญจรของผูพิการกับรถออกจากกันโดยในสวนทางสัญจรของคนจะเชื่อมดวย cover way ตลอดแตก็ยังมีการตัดกันของทางรถและคนในบางจุดซึ่งอาจเกิดอันตรายไดเสนทางเดินมีลักษณะตรงไปตรงมา ซึ่งจะสะดวกตอผูใช wheelchair ผูพิการทางตา

Page 30: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร สภาพอาคารสวนใหญเปนตึกสูงขนาดใหญ คลายโรงพยาบาลท่ัวไป ใชลิฟทในการสัญจรทางตั้ง เพ่ืออํานวยความสะดวกตอผูพิการ ซึ่งอาจไมคอยเหมาะสมในแงการฟนฟูสุขภาพมากนัก มีการจัดกลุมอาคารใหลอมรอบ court ทําใหเกิดการไหลของ open space อยางตอเน่ือง โดยมีสวนOutdoor training facitty เปน open – space สีเขียวผืนใหญ ซึ่งเปนการเปดมุมมองท่ีดีใหผูใชท่ีอยูในอาคาร

Page 31: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center

ท่ีตั้ง : downtown Knoxville Tenessee

พ้ืนท่ี : 1,300 ตรม

ลักษณะโครงการเปนโครงการปรับปรุงหลังคาของโรงพยาบาลใหเปนสวนเพ่ือการบําบัด ท่ีชวยสงเสริมการฟนฟูสภาพผูปวย โดยมีแนวความคิดหลักคือการตอบสนองทางรางกาย อารมณ และ จิตวิญญาณตอผูปวย รวมท้ังญาติครอบครัวและเจาหนาท่ีในโรงพยาบาล

Page 32: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

สวนประกอบโครงการมีการแบงพ้ืนท่ีหลังคารูปตัว L ออกเปน 5 สวน ท่ีมีความหลากหลายตางกัน เพ่ือใหม ีspace ท่ีหลากหลายสามารถเลือกใชไดตามตองการ แลวเชื่อมสวนตาง ๆ เขาดวยกัน ดวยทางเดินรูปรางคดเคี้ยว ซึ่งแตละ spaceสามารถเชื่อมถึงกันดวยสายตาได โดยการออกแบบท่ีคํานึงถึงผูใชเกาอี้ลอเล่ือนเปนหลัก โดยม ีsequence ในการเขาถึงโดยบริเวณ lifft (A) ซึ่งมีคนเขาถึงมากจะเปน active zone แลวคอย ๆ ลดความ active ลงมาเร่ือย ๆ

Page 33: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5
Page 34: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

การแกปญหาในงานออกแบบ1.ดานการรับน้ําหนัก เนื่องจากเปน สวนหลังคา จึงมีการคํานึงถึงความม่ันคงของโครงสราง โดยการวางตําแหนงตนไมตามหัวเสา และ การเลือกใชวัสดุปลูกที่ลดน้ําหนักแลว2.ดานการระบายน้ํา ใชระบบการระบายน้ํา 3 ระบบดวยกัน คือ การระบายตามรองน้ํา ทอพรุง และ การระบายน้ําออกจากผิวพ้ืนโดยตรงในกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังมีการควบคุมระบบรดน้ําโดยการใหน้ํา แบบอัตโนมัติตามอุณหภูมิ เพ่ือควบคุมน้ําหนักที่จะรองรับ และ ใหน้ํามีปริมาณที่เหมาะสมกับตนไม

การใชพืชพรรณ เนื่องจากบริเวณสวนถูกลอมรอบดวยอาคารสูง 4 – 6 ช้ัน จึงตองมีการเลือกใชพืชพรรณใหเหมาะสมกับปริมาณแสงแดด โดยผูออกแบบไดเลือกใชพืชพรรณทองถิ่นที่ชอบรมเงาในสวนที่รับแสงนอย

พืชพรรณที่ใชเปนประเภท texture ละเอียด ซ่ึงนอกจากจะไมดานลมแลวยังทําใหเห็นความเคลื่อนไหวของใบที่พัดปลิวตามแรงลม ที่ดูมีชีวิตชีวา

Page 35: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

รายละเอียดของประเภทและจํานวนผูใช

โครงการศูนยฟนฟูฯ มีผูใช 3 กลุมหลักคือ

1. คนไข Patient ไดแก Out-patient ผูปวยนอก

2. เจาหนาท่ี Staff ไดแก แพทยทางดานเวชศาสตรฟนฟูและกายภาพบําบัด พยาบาล และเจาหนาท่ีท่ัวไป

3. ผูมาเยี่ยม Visitor ไดแก ผูมาเยี่ยมผูปวย ผูมาติดตองานท่ัวไป

Page 36: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

1. คนไข Patient

ประเภทของคนไข คนไขท่ีมาทําการบําบัดในศูนย ไดแก ผูท่ีมีความเส่ือม หรือสูญเสียการทํางานของอวัยวะบางสวน จากสาเหตุตาง ๆเชน โรคภัยไขเจ็บ การผาตัด และการเปนมาแตกําเนิด ซึ่งตองการการบําบัดเพ่ือฟนฟูสมรรถภาพใหใชการไดหรือดําเนินชีวิตไดตามปกต ิอาจเปนผูพิการจริงหรือผูท่ีมีความบกพรองทางรางกายและอวัยวะเปนการชั่วคราวท่ีสามารถฟนฟูใหดีดังเดิมได โดยท้ังผูปวยในและนอกจะมีปญหาทางสมรรถภาพคลายคลึงกัน โดยสามารถแบงประเภทผูปวยความจําเส่ือม สมรรถภาพทางรางกายได คือ ผูมีปญหาทางแขนขาและลําตัว

เมื่อดูจากสถิต ิ10 อันดับของจํานวนผูปวยในและนอกของศูนยสิรินทรเพ่ือการฟนฟูฯแลว ปรากฎวา ผูปวยสวนใหญน้ันเปนผูท่ีมีปญหาทางแขนขาและลําตัวเปนหลักเชน ภาวะการเจ็บปวยของระบบกระดูกและกลามเน้ือ ภาวะอัมพาตคร่ึงซีก คร่ึงทอนและท้ังตัว และผูพิการแขนขาขาด ซึ่งเปนประเภทท่ีมากท่ีสุดของผูพิการในภาคกลาง

Page 37: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ประเภทของผูปวยนอก ผูปวยนอกสวนใหญคือผูท่ีอยูในจังหวัดกรุงเทพหรือจังหวัดใกลเคียงท่ีสามารถ

เดินทางไปกลับไดมาทําการบําบัดตามโปรแกรมท่ีทีมแพทยกําหนดไว เชนการทํากายภาพบําบัดแบบตางๆ โดยกําหนดเวลาในการตรวจวินิจฉัยผูปวยนอกใหมเฉพาะชวงเวลาเชา 8.00-12.00 น. และมีการจัดการเวลานัดมาทํากายภาพบําบัดอยางแนนอน รวมถึงมีการจํากัดปริมาณของผูปวยใหเหมาะสมกับการรองรับของเจาหนาท่ี และ facility ท่ีมี คือประมาณ 70 คน ตอวัน เพ่ือไมใหกระทบกับการบําบัดผูปวยใน ประเภทผูปวยนอกสวนใหญมภีาวะการเจ็บปวยของกระดูกและกลามเน้ือท่ีไมจําเปนตองรักษาดวยการผาตัด ภาวะอัมพาจคร่ึงซีก ผูมาทําแขน ขาเทียมโรคปวดหลัง เปนตน

Page 38: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ประเภทผูปวยใน เปนผูปวยท่ีพักอาศัยภายในโครงการ โดยทําการบําบัดตาม โปรแกรมการรักษาจากทีมแพทย โดยมีจํานวนวันพักเฉล่ีย 20 คนตอวัน หรือสูงสุดประมาณ 1 ป ประเภทของผูปวยในสวนใหญมีภาวะท่ีมีผลพวงจากระบบประสาท เชน อัมพาตคร่ึงทอน อัมพาตท้ังตัว ผูพิการแขนขาขาด และผูปวยในระบบกระดูกและกลามเน้ือ เปนตน

สาเหตุท่ีจําเปนตองมีท่ีพักผูปวยใน ไดแก - มีความจําเปนตองควบคุมสภาพแวดลอมกิจวัตรประจําวันและการ

บําบัดรักษาอยางตอเน่ือง- การติดตอรายวันทําไมไดเน่ืองจากอยูไกลและมีอุปสรรคทางการเดินทาง- ปญหาทางสภาพแวดลอมท่ีบานหรือท่ีพักใกลศูนยไมเหมาะสมกับผูปวย- ตองการฝกสภาพจิตใจในการอยูรวมกับคนหมูมากเพ่ือท่ีจะเรียนรูท่ีจะ

ออกไปใชชีวิตอยางสมบูรณ และชวยใหมีการดูแลซึ่งกันและกัน

ประเภทผูปวยใน

Page 39: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

กลุมอายุคนไข พิจารณาจากสถิติของผูพิการ ท่ีจะเปนผูใชหลักในโครงการซึ่งจากตาราง สรุปไดวากลุมผูใชเปนเด็กทีมีอายุตั้งแต 3-6ป เปนหลัก

2. เจาหนาท่ี Staffการบําบัดรักษาจําเปนตองมีกลุมบุคลากรซึ่งเรียกวากลุมเวชศาสตรฟนฟู

ทํางานรวมกันในการบําบัดรักษา

Page 40: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

ผูมาเยี่ยม Visitorเปนกลุมท่ีมาใชเปนคร้ังคราว ในชวงเวลาส้ันๆ มีจุดประสงคของการมา

ตางๆกันโดยแยกประเภทเปน- ผูมายี่ยมผูปวย ไดแกบรรดาญาติมิตรของผูปวย ซึ่งมักจะมาเยี่ยมผูปวย

ในชวงเย็น หรือวันหยุด เสาร

Page 41: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

จํานวนผูใช•คนไข โครงการจําเปนตองเจาะจงใหชัดเจนเพ่ือประสิทธิภาพและความคุมคาท่ีดีท่ีสุดของโครงการ โดยพิจารณาตามความสามารถในการรองรับในดานบุคคลากร เคร่ืองมือเคร่ืองใชในการรักษา และพ้ืนท่ีในการรองรับ- คนไขใน ปจจัยในการรับจํานวนคนมีเกณฑดังน้ี1. ความตองการของการฟนฟูโดยเทียบจากจํานวนของคนพิการซึ่งเปนผูใชหลัก ซึ่งจํานวนผูปวยในท่ีควรรองรับไดคิดเปนอัตรา 2.4% ของผูพิการ (เทียบกับอัตรารองรับของแผนการสงเคราะหและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ) ดังน้ันจํานวนผูปวยท่ีควรรองรับไดคือ

จํานวนผูพิการในภาคกลาง x2.4% = 248,100 x 0.024 = ประมาณ 60 คน

Page 42: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

2. จํานวนบุคลากรท่ีทําการรักษาตองมีจํานวนบุคลากรมากพอกับจํานวนผูปวยท่ีจะรับ ซึ่งจะมีสวนแปรผันตามจํานวนผูปวยท่ีรองรับเปนอัตรามาตรฐาน เชน

แพทยเวชศาสตรฟนฟู 1 : 15นักกายภาพบําบัดตอผูปวย 1 : 8ผูชวยนักกายภาพบําบัดตอผูปวย 1 : 1นักกิจกรรมบําบัดตอผูปวย 1 : 8-16

3.ปริมาณพ้ืนท่ีในสวนการบําบัดรักษาตอจํานวนผูปวย

4.ปริมาณเน้ือท่ีของโครงการตอจํานวนผูปวย

Page 43: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

รายละเอียดดานหนาที่ใชสอยในโครงการมีสวนประกอบดานหนาที่ใชสอยหลายสวน ซ่ึงสามารถแยกโครงสรางใหชัดเจนไดดังนี้

สวนกลางและสวนบริหารเปนสวนกลางในดานการบริหารทั้งหมดของโครงการ ทั้งในดานฝายธุรการ และบริหาร สวนนี้

มักใชเนื้อที่ใชสอยอยูสวนหนาของโครงการ แยกเปนอาคารออกมา เพ่ือใหสะดวกตอการติดตอ ประสานงาน ซ่ึงจะประกอบดวย หองผูบริหารระดับตางๆ หองประชุมยอย หองธุรการ หองพัสดุกลาง หองโถงตอนรับ และหองประชาสัมพันธเปนตน

สวนพัฒนาวิชาการมีหนาที่รับผิดชอบงานดานวิชาการ การวางแผนงาน งานทะเบียนและสถิต ิงานประชุม การ

ฝกอบรมสัมมนา และติดตามประมวลผลผูเขารับการฟนฟูดานหองสมุด รวมถึงการวิจัยคนควาเพ่ือการพัฒนางานฟนฟูใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรจัดวางพ้ืนที่ไวใกลสวนบริหารเพ่ือความสะดวกในการติดตองานทั้งภายในและภายนอก

Page 44: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

สวนฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยมีหนาที่รับผิดชอบในเร่ืองการตรวจสภาพความพิการ และความสามารถของอวัยวะ

ที่เหลืออยู วางแผนการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย ใหบริการบําบัดดานตางๆ ประสานงานกับโรงพยาบาลในการสงตอผูปวยรับการฟนฟู รวมถึงดานการปฐมพยาบาลเบื้องตนดวย สามารถแบงสวนตางๆออกเปน

สวนผูปวยนอกมีหนาที่ใหบริการผูปวยและประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจโรค ทั่วไป หรือโรค

เฉพาะทาง จะประสานงานกับฝายอ่ืนๆของศูนยเพ่ือการตรวจวินิจฉัย รักษาพยาบาล และฟนฟูสภาพโดยจะประกอบดวยหองทําบัตร หองรอตรวจ หองจายยา หองเก็บเงิน หองแสดงนิทรรศการ และหองอาหารสําหรับผูปวยนอก

สวนรักษาทางการแพทย ประกอบไปดวยหองสําหรับตรวจผูปวย หองผาตัดยอย หองพยาบาล มีโถงพักคอย

เช่ือมตอกับสวนผูปวยนอก

Page 45: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

สวนงานกายภาพบําบัดเปนการบําบัดรักษาและฟนฟูสภาพรางกายใหเปนปกติมากท่ีสุด ดวยวิธีตางๆเชน การใชความรอน ความเย็น นํ้า แสง ไฟฟา พรอมการออกกําลังกาย ตานทานนํ้าหนัก การจัดเน้ือท่ีแบงเปน 2 สวน คือสวนภายในอาคาร ประกอบดวย

หองตรวจ หองบําบัดดวยอุปกรณไฟฟาหองออกกําลังกาย (คลายฟตเนส) สําหรับการบําบัดท้ังเดี่ยวและกลุมหองธาราบําบัด ซึ่งมีเคร่ืองมือสําหรับแชรางกายบางสวน และอางท่ีแช

รางกายไดท้ังตัว ซึ่งมีการออกแบบใหผูปวยโดยเฉพาะสระบําบัด ม ี2 ขนาด คือ 7x15 m. 2.4x4 m. (สระนวด) ซึ่งมีอุปกรณ

อํานวยความสะดวกใหผูปวยขึ้นลงไดสะดวก เชน ramp และราวจับ ตองมีการจัดเตรียมอุปกรณตางๆเชน เคร่ืองทําความรอน เคร่ืองฆาเชื้อโรค เคร่ืองกรอง เคร่ืองปม ซึ่งสามารถ ใชสระรวมกับสวนของ Recreation ไดดวย โดยการบริหารเวลาใหเหมาะสม

Page 46: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

สวนภายนอกอาคาร ประกอบไปดวยพ้ืนที่ทํากายภาพบําบัดเชน พ้ืนที่หัดเดิน ซ่ึงอาจใชวัสดุตางๆกัน เชน พ้ืนทราย

, พ้ืนหญา พ้ืนที่ออกกําลังกายดวยเคร่ืองมือเฉพาะคลายสวนสุขภาพ โดยในสวนนี ้ตองการรมเงาคอนขางมาก เพ่ือใหสะดวกสบายตอผูปวย

สวนงานกิจกรรมบําบัดเปนสวนที่ชวยปรับปรุงสภาพจิตใจและรางกายผูพิการ ใหสอดคลองกับสภาพการใชงาน โดย

การสอนใหผูพิการสามารถทํากิจวัตรประจําวันไดตามปกต ิโดยในการบําบัด อาจแบงไดเปน 2 รูปแบบ คือการฝกกิจวัตรประจําวัน ไดแก อาบน้ํา นอน ทําครัว แตงตัว และทักษะการหยิบจับตาง ๆ เปนตนการทํากิจกรรมตางๆรวมกัน เพ่ือเปนการฝกฝนการเขาสังคม โดยมีทั้งกิจกรรมภายในโครงการ เชน กิจกรรมประกอบเพลง กิจกรรมการพัฒนาภูมิทัศน และกิจกรรมภายนอก เชน การพาผูปวยออกนอกสถานที่เชน ไปตลาด ไปทองเที่ยวตามที่ตางๆโดยสวนของอาคารควรมีสภาพแวดลอมที่เงียบสงบ เพ่ือใหผูฝกมีสมาธิในการฝกมากที่สุดและมีบรรยากาศเปนธรรมชาติเพ่ือความผอนคลาย และควรมีสวนฝกทํากิจกรรมตางๆภายนอกอาคารเชน การทําสวนปลูกฝก และลานประกอบกิจกรรมรวมกัน

Page 47: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

สวนอรรถบําบัดหมายถึงการชวยบําบัดผูปวยบางรายที่มีปญหาทางการไดยินมีผลทางปญหาการพูด

ประกอบดวยหองทดสอบการไดยิน หองบําบัดแบบเดี่ยวและหองบําบัดแบบกลุม โดยจะตองมีการควบคุมเสียงใหเงียบและกันเสียงรบกวนเพ่ือเกิดสมาธิมากที่สุด ภายนอกอาคารควรมีสวนสําหรับทําการบําบัดแบบกลุมเชนที่นั่งพักผอนพูดคุยที่สงบและรมร่ืน

สวนจิตบําบัด หมายถึงการรักษาทางสภาพจิตใจ โดยการใหการรักษา ใหคําแนะนํา กําลังใจ เพ่ือใหผูปวยมี

จิตใจ ผอนคลาย สดช่ืน มีความหวัง มีกําลังใจ โดยอาจรวมเปนสวนหนึ่งอยูในอรรถบําบัดไดเนื่องจากการใชงานใกลเคียงกัน

สวนกายอุปกรณเทียมคือสวนที่ผลิตเคร่ืองชวยเหลือผูพิการในแงแขนขา เทียม เกาอ้ีลอเลื่อนโดยจะประกอบดวยหองทดลอง คือหองทําการวัดและลองอุปกรณ รวมถึงการถอดอวัยวะเทียมหรือเคร่ืองชวย

ภายในมีอุปกรณทดสอบการหัดเดิน บันไดลาด ลักษณะเปนหองโลงคลายโรงยิมโรงงาน คือสถานที่ลิต และเก็บอุปกรณเชนเกาอ้ีลอเลื่อน มีการใชอุปกรณขนาดใหญ และมักมี

เสียงดังจากการผลิต จึงควรมีการแยกโรงงานเพ่ือเปนการลดเสียง และอันตรายที่อาจเกิดจากไฟไหม โดยอาจมีพ้ืนที่นอกอาคารซ่ึงเปนลานสําหรับทดลองเกาอ้ีลอเลื่อนที่สะดวกและกวางขวางกวาในอาคาร