12
ประเมินผลการทางาน 1 ปี กสทช. มุมมองด้านกิจการโทรคมนาคม อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิSiam Intelligence Unit 24 December 2012

ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ประเมินผลการทำงาน กสทช. กิจการด้านโทรคมนาคม 1 ปี 24 ธันวาคม 2555 NBTC Public Forum #11 Isriya Paireepairit อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ Siam Intelligence Unit (SIU)

Citation preview

Page 1: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

ประเมินผลการท างาน 1 ปี กสทช.มุมมองด้านกิจการโทรคมนาคม

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์Siam Intelligence Unit

24 December 2012

Page 2: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

Disclaimer

ผู้บรรยายท างานกับ กสทช. ในฐานะ “อนุกรรมการ”2 คณะ• คณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมส าหรับการบริหารคลื่นความถี่ย่าน ๒.๑ GHzเพื่อ

รองรับเทคโนโลยี IMT-2000 หรือ IMT Advanced

• คณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมส าหรับการบริหารคลื่นความถี่วิทยุคมนาคม ระบบเซลลูล่า Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 MHz

Page 3: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม

๓.๗ ประสิทธิการในการด าเนินงานของ กสทช.

Page 4: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

1. การแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมเพิ่มการแข่งขันของกิจการโทรคมนาคม

• จ านวนผู้เล่นรายใหญ่เท่าเดิม

• MVNO ยังไม่มีความเคลื่อนไหว

• การออกกฎด้านแชร์โครงข่าย ยังไม่เห็นผล

• การสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน 1800MHz ยังไม่เห็นผล

• ยังมีการกีดกันเรื่อง Number Portability ระหว่างผู้ประกอบการ

• ประเด็นเรื่อง TRUE/CAT ยังไม่ได้ข้อยุติ

ลดอัตราค่าบริการโทรคมนาคม

• มีความพยายาม “ลดราคา” 3G บนคลื่น 2.1GHz แต่ยังไม่เสร็จสิ้น

• ไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงของค่าบริการ 2G/3G บนใบอนุญาตเดิม

• Broadband ไม่มีความเปลี่ยนแปลงด้านราคา

Page 5: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

2. การออกใบอนุญาต-จัดสรรคลื่นจ านวนผู้ประกอบการเพิม่ขึ้น

• จ านวนผู้เล่นรายใหญ่เท่าเดิม

• MVNO ยังไม่มีความเคลื่อนไหว

• กฎเกณฑ์ด้านต่างด้าว ยังเป็นปัญหา

มีบริการโทรคมนาคมที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ

• 3G ถือว่าใหม่หรือไม่?

อนุญาตให้ใช้ความถี่เพิ่มขึ้น• สามารถจัดประมูล 2.1GHz ไปได้

• การขอคืนคลื่น 2.3GHz จาก TOT ยังไม่เห็นผล

Page 6: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

3. การใช้ทรัพยากรโทรคมนาคมต้นทุนของผู้ประกอบการลดลง

• ใบอนุญาต 3G ท าให้ต้นทุนลดลงเทียบกับสัมปทานเดิม

ใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันมากขึ้น

• มีประกาศ แต่ยังไม่เห็นผล

• ในทางปฏิบัติจะมีผลจริงมากน้อยแค่ไหน?

• การอนุมัติเรื่องสิทธิแห่งทาง ยังล่าช้า

น าเทคโนโลยีใหม่เพิม่ประสิทธิภาพ• 3G ใหม่ขึ้น?

• Broadband Wireless Access ยังไม่เห็น

• Broadband ผ่านสาย ไม่ชัดเจน

แผนรับมือเหตุฉุกเฉิน-ภัยพิบัติ• ยังไม่เกิดโครงการ Hotline Emergency

• การแชร์โครงสร้างพื้นฐานช่วงภัยพิบัติ?

• แผนการใช้ความถี่ส าหรับสาธารณภัย?

Page 7: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

4. บริการโทรคมพื้นฐานโดยทั่วถึงเป้าหมาย

• มีแผนบริการ USO ภายใน 1 ปีหลังแผนแม่บท

• บริการเสียง ครอบคลุม 95% ของประชากร

• บริการอินเทอร์เน็ต 2Mbps ครอบคลุม 80% ของประชากร

ผลงาน

• กิจกรรมด้าน USO ของ กสทช. เป็นไปในเชิงรับ คือ อนุมัติเงินให้กับหน่วยงานที่มาขอรับการสนับสนุน

• ควรมีกิจกรรมหรือโครงการในเชิงรุก สร้างสรรค์และมีนวัตกรรมมากขึ้น

• เว็บไซต์กองทุน USO เก่าและไม่อัพเดต

Page 8: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

5. การคุ้มครองผู้บริโภคเป้าหมาย

• จัดท าหลักเกณฑ์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค

• จัดท าหลักเกณฑ์ควบคุมคุณภาพบริการข้อมูล

• ปรับปรุงกลไกระงับข้อพิพาท

• ผู้บริโภคตระหนักรู้สิทธิของตัวเอง

ผลงาน• ปัญหาเครือข่ายล่มบ่อยครั้ง• ขาดกลไกเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาของผู้บริโภคใน

ระยะยาว• การระงับข้อพิพาทล่าช้า• ปัญหาเดิมซ้ าซากยังแก้ไขไม่ได้

• SMS ขยะ• Roaming เน็ตรั่ว• สัญญาณหลุด• คิดเงินผิด• Number Port จ ากัดจ านวน• บัตรเติมเงิน• ตู้เติมเงิน

Page 9: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

6. อาเซียน-ความร่วมมือระหว่างประเทศ

มาตรการรองรับประชาคมอาเซียน

• ยังไม่เห็นมาตรการชัดเจน ยกเว้นจัดสัมมนา• ผู้ประกอบการไทย ไปท าธุรกิจในอาเซียน?• ผู้ประกอบการอาเซียน ท าธุรกิจในไทย?

• กฎต่างด้าว?• เอกสารเป็นภาษาไทยทั้งหมด?

• ผู้บริโภคไทย ไปใช้งานโทรคมนาคมในอาเซียน?

• ผู้บริโภคอาเซียน ไปใช้งานโทรคมนาคมในไทย?

• ASEAN Roaming

ปรับปรุงกฎระเบียบด้านระหว่างประเทศ

• ???

Page 10: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

7. ประสิทธิภาพในการด าเนินงานงบประมาณ-บุคลากร

• งบประชาสัมพันธ์ และการจัดกิจกรรม มากเกินความจ าเป็นหรือไม่

• จ านวนบุคลากรต่อผลลัพธ์ที่ออกมา มากเกินไปหรือไม่

• ประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่• จ านวนคณะอนุกรรมการที่แต่งตั้ง

การเข้าถึงประชาชน

• กระบวนการท า Public Hearing ฟังเสียงประชาชนจริงๆ หรือ

• การท าฐานข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย

• การประชาสัมพันธ์ในแง่ที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภคยังน้อยมาก

• เว็บไซต์ กสทช. เข้าถึงและหาข้อมูลยากบุคลากร 960 ล้านบาท

ด าเนินงาน 1,416 ล้านบาท

สิ่งก่อสร้าง-ครุภัณฑ์ 93 ล้านบาท

เงินสมทบกองทุน 175 ล้านบาท

รวม 2,690 ล้านบาท รายจ่าย กสทช. มกราคม-พฤศจิกายน 2555

Page 11: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

รายจ่าย กสทช. ที่น่าสนใจ (ตัวเลขปี 2554)

• เงินเดือนพนักงาน 500 ล้าน

• ค่าอาหารนอกเวลา 2.8 ล้าน

• เดินทางในประเทศ 17.6 ล้าน

• ค่าจ้างเหมาบริการอื่นๆ 102 ล้าน

• ค่ารับรอง-พิธีการ 7.6 ล้าน

• ฝึกอบรมสัมมนา 87.8 ล้าน

• ค่าลงทะเบียนฝึกอบรม 21.6 ล้าน

• ค่าจ้างที่ปรึกษา 207.5 ล้าน

• เงินบริจาคและการกุศล 328 ล้าน

• จัดประชุมภายใน 2.4 ล้าน

• วัสดุส านักงาน 10.9 ล้าน

• เดินทางต่างประเทศ 70 ล้าน

• ค่าไฟฟ้า 18.4 ล้าน

• โทรศัพท์ส านักงาน 1.65 ล้าน

• โทรศัพท์เคลื่อนที่ 1.85 ล้าน

• อินเทอร์เน็ต 15.6 ล้าน

• รวมบุคคลากร 972 ล้าน• รวมด าเนินการ 1272 ล้าน• รวมสาธารณูปโภค 40.7 ล้าน

• จ านวนเจ้าหน้าที่ >1,000 คน(ข้อมูลจาก รายงานประจ าปี กสทช. พ.ศ. 2554)

Page 12: ประเมินผลการทำงาน กสทช. ครบรอบ 1 ปี

ข้อเสนอต่อ กสทช.

ข้อเสนอ “เร่งด่วน” ปี 2556• เตรียมแก้ปัญหาคลื่น 1800MHz ที่จะ

หมดสัญญาสัมปทาน• ก ากับดูแลบริการประเภทข้อมูล ทั้งใน

เรื่องราคาและคุณภาพ• แก้ปัญหาผู้บริโภคอย่างเป็นระบบและ

จริงจัง• ด าเนินงานเชิงรุกกับ USO• ASEAN Roaming• ปรับปรุงเว็บไซต์ กสทช.

ข้อเสนอระยะยาว• ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจออก

นโยบาย• ประสิทธิภาพในการท างานของ

ส านักงาน กสทช.• แผนการประชาสัมพันธ์ที่มากกว่าการ

จัดงานกิจกรรม-ลงโฆษณาในสื่อ• ปรับปรุงกระบวนการ Public

Hearing