37
บรรยายพิเศษ เรื่อง “คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสูผูเรียนในศตวรรษที21” โดย ภราดามีศักดิวองประชานุกูล เนื่องในวันครูพระหฤทัยสัมพันธ ครั้งที่ 24 ประจําปการศึกษา 2557 วันศุกรที่ 16 มกราคม พ.ศ.2558 ณ โรงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง

คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

บรรยายพิเศษ

เรื่อง “คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสูผูเรียนในศตวรรษที่ 21”

โดย ภราดามีศักด์ิ วองประชานุกูล

เน่ืองในวันครูพระหฤทัยสัมพันธ ครั้งที่ 24ประจําปการศึกษา 2557

วันศุกรที่ 16 มกราคม พ.ศ.2558ณ โรงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง

Page 2: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

เร่ือง “คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสูผูเรียนในศตวรรษท่ี 21”

ลําดับ หัวขอ หนา1. ทานทราบหรือไม 1-22. Enjoying Peace in His Presence 33. วิถีชีวิตที่สมบูรณ เปยมดวยสันติสุขและปติสุข 4-124. กฎทองของศาสนาตางๆ (THE GOLDEN RULE) 13-155. ATTITUDE / 10 คําที่นาสนใจ 166. มาตรฐานการปฏิบัติตน

(จรรยาบรรณของวิชาชีพครู) ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

17-18

7. พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯทรงพระราชทานแกครู

19-20

8. คําพูดของบุคคลสําคัญ ที่เกี่ยวกับอาชีพครู 21-229. ครูมืออาชีพในศตวรรษที่ 21 (IT) 23-2910. วิถีสรางการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 30-35

Page 3: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ทานทราบหรือไม“ประชากรของเราถูกทําลาย เพราะขาดความรู”้ (ฮชย 4:6)

ถาเราไดอานหนังสือ พระบิดาตรัสกับลูกๆ ของพระองค เราจะพบวาพระเปนเจา องคความดีบริบูรณ ผูสรางสรรพสิ่งทั้งหลาย บิดาแหงมวลมนุษยชาติ เปนบิดาผูแสนดีของเราทุกคน เปยมไปดวยความรัก ความเมตตา ความกรุณา ความหวงใย เปนบิดาผูออนโยนที่สุด และนารักที่สุด เฝาติดตามปกปองดูแลเรา “ความหวงใยเพียงประการเดียวของเรา คือ การเฝาดูแล ปกปองมวลมนุษย และรักเขาเย่ียงบุตรของเรา” และมีความตองการที่จะชวยเหลือมนุษยลูกๆ ของพระองคเสมอ “ความปรารถนาเพียงประการเดียวของเรา คือ ทําใหชีวิตบนโลกนี้ของพวกเขางายขึ้นและมอบชีวิตนิรันดรใหพวกเขาในสวรรค” พระองคยังบอกดวยวา ความสุขที่สุดของพระองคอยูที่การชวยเหลือเรา “ความสุขที่สุดของเราอยูที่การชวยเหลือเขา และชวยเขาใหรอดพน”

ในพระคัม ภีรมีบันทึ กว า “ เราจงสร า งมนุษยขึ้นตามภาพ ลักษณของเรา ให มีความคลายคลึงกับเรา” (ปฐก 1:26) พระองคไดกลาวในหนังสือ พระบิดาตรัสกับลูกๆ ของพระองคดวยวา “จิตรกรยอมชื่นชมภาพวาดจากฝมือของตนฉันใด เราก็พอใจและ ยินดีที่จะมาอยูทามกลางมวลมนุษย ซึ่งเปนผลงานชิ้นเอกของเราฉันนั้น”

พระองคสรางมนุษยใหมีสติปญญา ใหมี อิสรภาพที่จะตัดสินเลือกปฏิบัติได โดยมีหลักที่จะเรียกวา กฎแหงเหตุและผล กฎแหงความยุติธรรม กฎธรรมชาติ กฎแหงความเปนมนุษย หรือกฎแหงกรรมก็ได นั่นคือ “ใครหวานส่ิงใดก็ยอมเก็บเกี่ยวส่ิงนั้น” (กท 6:7) ใหยึดปฏิบัติใน การดําเนินชีวิต และพระองคก็เคารพอิสรภาพของมนุษย ซึ่งนักบุญเฟาสตินาไดกลาวไวใน สาสนพระเมตตาวา “พระเปนเจาไมเคยละเมิดอิสรภาพของเรา มันขึ้นอยูกับเราวา เราตองการจะรับพระหรรษทานของพระองคหรือไม มันขึ้นอยูกับเราวา เราจะรวมมือกับพระพรของพระองค หรือจะทิ้งมันไป” (Diary 1107) พระองคไดบอกนักบุญเฟาสตินาในเรื่องเดียวกันนี้วา“แมพระเจาอยางเราก็ยังไมสามารถชวยวิญญาณเชนนั้นได เพราะ เขาดูหมิ่น เหยียดหยามเรา การมีอิสรภาพ เขาสามารถที่จะปฏิเสธเรา หรือรักเรา ก็ได” (Diary 580)

แมพระองคจะสรางเราใหมีสติปญญา มีความสามารถ มีอิสรภาพ จากประสบการณ เราก็รูวาเราไมไดสามารถทําทุกสิ่งทุกอยางได เชน การที่เราจะแกไขหรือเปล่ียนแปลงนิสัยไมดีของเราสักอยางหนึ่ง ถึงเราจะมีความปรารถนา มีความตั้งใจ และไดพยายามแลว บอยครั้งก็ยังไมสามารถทําใหสําเร็จได แตเราไมตองทอแท พระองคไดบอกเราวา “สําหรับมนุษยเปนไปไมได แตสําหรับพระเจาทุกอยางเปนไปได” (มธ 19:26)

-1-

Page 4: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ในหนังสือ พระบิดาตรัสกับลูกๆ ของพระองค พระองคไดบอกอีกวา “เรารู ความตองการ ความปรารถนา และทุกๆส่ิงในใจลูก แตเราจะเปนสุขและรูสึกขอบคุณลูกสักเทาไรหากเราเห็นลูกเขามาหาเรา ปรับทุกขกับเราถึงความตองการของลูก เหมือนลูกที่มีความวางใจอยางเต็มเปยมในบิดาของตน เราจะปฏิเสธลูกไดอยางไร ถาลูกขอเรา ไมวาส่ิงนั้นจะเล็กสุดหรือใหญสุด” และในพระคัมภีร พระองคก็ไดบอกเราวา “จงขอเถิด แลวทานจะไดรับ จงแสวงหาเถิด แลวทานจะพบ จงเคาะประตูเถิด แลวเขาจะเปดประตูรับทาน เพราะคนที่ขอยอมไดรับ คนที่แสวงหายอมพบ คนที่เคาะประตูยอมมีผูเปดให ทานใดที่ลูกขออาหาร จะใหกอนหินหรือ ถาลูกขอปลา จะใหงูหรือ แมแตทานทั้งหลายที่เปนคนชั่ว ยังรูจักใหของดีๆ แกลูกแลวพระบิดา ของทานผูสถิตในสวรรค จะไมประทานของดีๆแกผูที่ทูลขอพระองคมากกวานั้นหรือ” (มธ 7:7-11) “ดังนั้น เราบอกทานทั้งหลายวา ทุกส่ิงที่ทานวอนขอในการอธิษฐานภาวนาจงเชื่อเถิดวาทานไดรับ และทานก็จะไดรับ” (มก 11:24) “ทุกคนที่มีความเชื่อในพระองค จะไมไดรับความอับอาย” (รม 10:11)

ในพระคัมภีรพระองคบอกเราอีกวา “จงแสวงหาพระอาณาจักรของพระเปนเจา และความชอบธรรมของพระองคกอน แลวพระองคจะทรงเพ่ิมทุกส่ิงเหลานี้ให” (มธ 6:33) และในสาสนพระเมตตาพระองคก็ไดบอกเราวา “ทําทุกอยางที่ลูกทําได ในเรื่องนี้ แลวเราจะทําใหสําเร็จ ทุกส่ิงที่ลูกทําไมได” (Diary 881)

เมื่อพระเปนเจา บิดาผูแสนดีของเรา รัก หวงใย มีความสุขที่สุดที่จะชวยเรา พรอมทั้งเคารพไมละเมิดอิสรภาพของเรา ฉะนั้น เพ่ือใหชีวิตของเราประสบความสําเร็จ มีความสุขแทจริงเปยมดวยปติสุข และสันติสุข ทุกเชาเราควรมอบชีวิต จิตใจ จิตวิญญาณ และทุกส่ิงทุกอยางใหกับพระองค ใหพระองคมีความสุข ที่จะชวยเรา และเราก็ต้ังใจแนวแน ตัดสินเลือกที่จะยึดมั่นธรรมะ คุณงามความดี ความถูกตอง แลวเราก็พยายามทําหนาที่ของเราใหดีที่สุดพระองคก็ “จะทําใหสําเร็จทุกส่ิง” ที่เราทําไมได และการดําเนินชีวิตประจําวันเราก็ควรยึดมั่นกฎทองที่วา “ทานอยากใหเขาทํากับทานอยางไร ก็จงทํากับเขาอยางนั้นเถิด” (มธ 7:12)ทั้งนี้เพ่ือให “พระนามพระองคจงเปนที่สักการะ พระอาณาจักรจงมาถึง พระประสงคจงสําเร็จในแผนดิน เหมือนในสวรรค”

ทานนักบุญหลุยส มารีย กรีญอง เดอ มงฟอรต เปนผูหนึ่งที่เปนแบบฉบับยอดเย่ียมของผูที่เช่ือและวางใจในความรัก ความเมตตาของพระเปนเจา และอุทิศทั้งชีวิต เพ่ือพระเจา เพ่ือเพ่ือนมนุษยและยึดมั่นในคติประจําใจ “God Alone” หรือ “พระเจาเทานั้น” ในการดําเนินชีวิตของทาน

-2-

Page 5: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Enjoying Peace in His Presence

I AM ALL AROUND YOU, like a cocoon of Light. My Presence with you isa promise, independent of your awareness of Me. Many things can block thisawareness, but the major culprit is worry. My children tend to accept worry as aninescapable fact of life. However, worry is a form of unbelief; it is anathema to Me.

Who is in charge of your life? If it is you, then you have good reason toworry. But if it is Me, then worry is both unnecessary and counterproductive. Whenyou start to feel anxious about something, relinquish the situation to Me. Back off abit, redirecting your focus to Me. I will either take care of the problem Myself orshow you how to handle it. In this world you will have problems, but you need notlose sight of Me.

LUKE 12:22-31; JOHN 16:33

เราอยูกับเจา รอบๆเจาเสมอในทุกๆแหง เสมือนรังไหมแหงแสงสวางการสถิตอยูดวยของเรากับเจาเปนคําสัญญา แมในยามที่เจาไมรู สึกวาเราอยูดวยก็ตาม ลูกเอย มีหลายส่ิงที่สามารถขัดขวางไมใหเจารับรู ถึงการสถิตอยูดวยของเรา แตสาเหตุหลักน้ันมาจากความกังวลของเจาลูกของเราหลายคนยอมใหความคิดวิตกกังวลเปนสวนหน่ึงของชีวิตแตความกังวลเปนรูปแบบหน่ึงของความไมไววางใจในเรา ซ่ึงเปนส่ิงที่เรารังเกียจ

ลูกเอย ใครคือผูที่กําลังควบคุมชีวิตของเจา หากวาเปนเจาก็ไมนาแปลกใจที่เจาจะรูสึกกังวล แตถาเปนเรา ความกังวลทั้งหลายของเจาก็เปนเรื่องที่ไรเหตุผล และไมจําเปนเลย เมื่อใดก็ตามที่เจาเริ่มรูสึกกังวล จงวางใจฝากมอบสถานการณเหลาน้ันไวกับเรา ลูกเอย ลองถอยหลังไปสักกาวแลวหันกลับมามองที่เรา เราอาจย่ืนมือเขาชวยเหลือปญหาน้ันดวยตัวเราเอง หรืออาจสําแดงวิธีที่จะรับมือกับปญหาเหลาน้ันใหแกเจา ในโลกน้ีเจาจะประสบกับปญหาอยางแนนอน แตจงอยาละสายตาไปจากเรา

ลูกา 12:22-31; ยอหน 16:33From : Jesus Calling, page166, by Sarah Young

-3-

Page 6: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

DS

2

DS 2วิถีชีวิตที่สมบูรณ เปยมดวยสันติสุขและปติสุข

เราจะทําอะไรใหสําเร็จได เราจะตอง- รูวาเราตองการอะไร / รูเปาหมาย- มีวิธีการ

“If one does not know to which port one is sailing, no wind is favorable.”(Seneca)“ถาเราไมรูวาเรือจะเขาที่ทาไหน ลมทิศไหนก็ไมชวย” (ซีนีกา-นักปรัชญาและนักประพันธชาวโรมัน)“Until you make the unconscious conscious, it will direct your life and youwill call it fate.” ( Carl Jung )“ถาคุณไมกําหนดทิศทางของจิตใตสํานึกคุณเอง มันจะนําชีวิตคุณ และคุณก็จะเรียกมันวา ‘ โชคชะตา’ ” (คารล จูง-นักจิตวิทยาคนสําคัญของโลกชาวสวิส)ฉะนั้นการรูเปาหมาย มีวิธีการ / มีแผน เปนสิ่งสําคัญสําหรับความสําเร็จความสําเร็จใดจะย่ิงใหญกวา สําคัญกวา ความสําเร็จของชีวิต แลว เรารู เรามีเปาหมายชีวิตของเราหรือยัง

1. การดําเนินชีวิตใหประสบความสําเร็จ เปยมดวยสันติสุข ปติสุข เราจะตองทําอยางไร1.1 เราควรจะรูกอนวา เราคือใคร- พระเปนเจาบอกไวในพระคําภีรวา “เราจงสรางมนุษยขึ้นตามภาพลักษณของเรา

ใหมีความคลายคลึงกับเรา” (เทียบ ปฐก 1:26)1.2 “Yet you have made them a little lower than God” (Ps 8:5)- “พระองคทรงสรางเขาใหตํ่ากวาพระองคแตหนอยเดียว” (สด 8:5)

เราเปนภาพลักษณของพระเจา และมีความคลายคลึงกับพระองคแลว- เกียรติ / ศักดิ์ศรี / คุณคาของมนุษยจะขนาดไหน- ศักยภาพของมนุษยจะมากมายสักเพียงใด

-4-

Page 7: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

“ลูกก็รูดีวาเราสามารถทําทุกส่ิงไดเพราะอานุภาพของเรา ใชแลวเรากําลังมอบอานุภาพนี้แหละใหลูกทุกคนเพ่ือใชในเวลานี้และตลอดกาล เราจะแสดงตน เปนบิดาของลูกเสมอ ทั้งนี้ลูกตองแสดงตนเปนลูกของเรา”(พระบิดาตรัสกับลูกๆ ของพระองค หนา 97/62)

1.3 แลวพระองคสรางเรามาทําไม / เพ่ืออะไร- พระบิดาตรัสกับลูกๆ ของพระองค หนา 95/61

“เราไดสรางลูกขึ้นมาเพ่ือจุดประสงคเดียว คือเพ่ือให

- รูจักเรา- รักเรา- ปรนนิบัติเราเหมือนลูกที่ซื่อๆ และวางใจปรนนิบัติบิดา

ของตน”- หนังสือคําสอนเลมครบ ขอ 8

เพ่ือใหเรา- รูจักพระองค- รักพระองค- ปรนนิบัติพระองคบนแผนดินนี้ เราจะไดเสวยบรมสุขกับ

พระองคในสวรรค- พระบิดาตรัสกับลูกๆของพระองค หนา 61/40- “I created man for Myself and it is right that I should be ALL for him.Man will not enjoy true happiness except with his Father andCreator, because his heart is made for Me alone.”

- “เราไดสรางมนุษยขึ้นเพ่ือเราเอง จึงเปนความถูกตองที่เราควรเปนทุกส่ิงทุกอยาง สําหรับเขา มนุษยจะไมไดลิ้มรสความสุขที่แทจริง เวนแตกับบิดาและผูสรางของเขา เพราะหัวใจของเขาถูกสรางเพ่ือเราแตผูเดียว”

-5-

Page 8: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

พระเปนเจาตองการใหเปนที่รูจัก เปนที่รักและไดรับการถวายเกียรติ ใชวาพระองคมีความตองการมนุษย และการนมัสการของเรา “การที่เราตองการใหเราเปนที่รูจัก ไดรับการถวายเกียรติ และเปนที่รัก ไมใชเพราะเราตองการมนุษย ส่ิงสรางของเรา และการนมัสการของเขาแตเหตุผลเพียงประการเดียวเทานั้นที่เรากําลังลดตัวลงมาหาเขาก็เพ่ือชวยเขาใหรอดพน และใหเขามีสวนในพระสิริมงคลของเรา” (พระบิดาตรัสกับลูกๆของพระองค หนา 87/56)

2. พระเปนเจาไดมี / เตรียมแผนการอะไรไวใหเราแตละคนพระคําภีรกลาวไววา- “พระยาหเวหทรงเรียกขาพเจากอนที่ขาพเจาเกิด ทรงขานชื่อขาพเจาต้ังแตอยู

ในครรภมารดา” (เทียบ อสย 49:1)- “กอนที่เราปนทานในครรภมารดา เรารูจักทานแลว กอนที่ทานจะเกิด เราแยก

ทานไวแลว” (เทียบ ยรม 1:5)- “เรารูแผนการที่เราวางไวสําหรับทาน เปนแผนการที่นําความเจริญรุงเรือง

ไมใชเหตุราย เพ่ือใหอนาคตของทานมีความหวังเต็มเปยม” (เทียบ ยรม 29:11)ดวยความเมตตาอันไรขอบเขตพระองค พระองคไดเตรียมแผนการใหเราแตละคน และเปน

แผนการเพ่ือความสุขของเรา- “เปนลูกนี่แหละที่จะทําใหเราตองเจ็บปวดเชนนี้ หากลูกออกจากอารามนี้ นี่คือ

ที่ ที่เราเรียกใหลูกมา ไมใชที่ไหนอีก และที่นี่แหละ ที่เราไดเตรียมพระหรรษทาน มากมายไวใหลูก” (Diary 19)*

นอกจากไดจัดเตรียมแผนการใหเรา เพ่ือความรุงเรืองของเราแลว พระองคยังไดเตรียมพระหรรษทานใหมากมาย เพ่ือใหเราใชในการดําเนินตามแผนการนั้น เพ่ือใหเรามีความสุขอยางแทจริง ไดล้ิมรสความสุขนิรันดรตั้งแตในโลกนี้แลว และเพ่ือใหเราไดรอดพน

นี่คือ ความรักความเมตตาอันไรขอบเขตของพระบิดา พอผูแสนดีของเรา รักและหวงใยลูก ๆ ของพระองคเสมออยางไมมีวันเปล่ียนแปลง พระองคไดบอกดวยวา “ความหวงใย เพียงประการเดียวของเรา คือ การเฝาปกปองดูแลมวลมนุษยและรักเขาเย่ียงบุตรของเรา” (พระบิดาตรัสกับลูกๆ ของพระองค หนา 28/17) และยังบอกอีกวา “ความสุขที่สุดของเราอยูที่การชวยเขาและชวยเขาใหรอดพน” (พระบิดาตรัสกับลูกๆ ของพระองค, หนา 46/28)

-6-

Page 9: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

3. เราจะรักและรับใชพระองคไดอยางไรเมื่อนักกฎหมายถามพระเยซูคริสตเจาวา

“พระอาจารยขาพเจาจะตองทําส่ิงใด เพ่ือจะไดชีวิตนิรันดร”พระองคตรัสถามเขาวา

“ในธรรมบัญญัติมีเขียนไววาอยางไร”เขาทูลตอบวา

“ทานจะตองรักองคพระผูเปนเจา พระเจาของทานสุดจิตสุดใจ สุดวิญญาณ สุดกําลังและ สุดสติปญญาของทาน ทานจะตองรักเพ่ือนมนุษยเหมือนรักตนเอง”

พระองคตรัสกับเขาวา“ทานตอบถูกแลว จงทําเชนนี้แลวจะไดชีวิต” (เทียบ ลก 10:25-28)“ธรรมบัญญัติ และคําสอนของบรรดาประกาศกก็ขึ้นอยูกับบทบัญญัติสองประการนี้” (เทียบ มธ 22:40)

พระเยซูคริสตเจาไดตรัสวา“ทานจงเปนคนดีอยางสมบูรณ ดังที่พระบิดาเจาสวรรคของทานทรงความดี อยางสมบูรณเถิด” (เทียบ มธ 5:48)

เมื่อชายหนุมทูลถามวา“ขาพเจาปฏิบัติตามบทบัญญัติเหลานี้ทุกขอแลว ยังขาดอะไรอีกหรือ”

พระองคตรัสตอบเขาวา“ถาทานอยากเปนคนดีอยางสมบูรณ จงไปขายทุกส่ิงที่มี มอบเงินใหคนยากจน และทานจะมีขุมทรัพยในสวรรค แลวจงติดตามเรามาเถิด”(เทียบ มธ 19:21)

เปโตรจึงทูลถามวา“ขาพเจาทั้งหลายสละทุกส่ิงและติดตามพระองคแลวจะไดอะไรบาง”

พระเยซูคริสตเจาตรัสตอบวา“ผูใดที่สละบานเรือน พ่ีนองชายหญิง บิดามารดา บุตร ไรนา เพราะเห็นแกเรา ก็จะไดรับตอบแทนรอยเทา และจะไดรับชีวิตนิรันดรเปนมรดกดวย”

(เทียบ มธ 19:29)“God cannot be outdone in generosity”

-7-

Page 10: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

พระเปนเจาไดจัดเตรียมแผนการและแนวทางการดําเนินชีวิตใหเราพรอมพระพรตางๆ มากมายสําหรับผูที่สละทุกสิ่งทุกอยางเพ่ือพระองค พระองคก็จะเพ่ิมใหอีกเปนรอยเทาในโลกนี้ และไดรับชีวิตนิรันดรในโลกหนา

แผนการของพระองคสําหรับเราแตละคน ก็เพ่ือความสุขที่แทจริงและความเจริญรุงเรือง ของเราพระประสงค หรือน้ําพระทัยของพระองค จึงเปนส่ิงสําคัญที่สุดสําหรับมนุษย เพราะนั่น

คือความปรารถนาดีของพอผูแสนดีที่มีไวใหกับลูกๆ ของพระองค เพ่ือจะไดลิ้มรสความสุขที่แทจริงต้ังแตในโลกนี้ และจะไดรอดพนดวย

ฉะนั้นสิ่งที่เราควรทํา และใหความสําคัญเปนอันดับแรกในชีวิตของเราและตองทําอยางจริงจังคือ ศึกษาเรียนรู ขอพระเมตตาใหเรารูแผนการของพระองคสําหรับเรา ใหเราเขาใจ เห็นคุณคาขณะเดียวกัน ก็ใหเรามีความกลาหาญ มีความเขมแข็ง มีความปรารถนา มีความเด็ดเดี่ยวที่จะตัดสินใจเลือกแผนการ / พระประสงคของพระองค และยึดมั่นเปนวิถีชีวิตของเรา เพ่ือใหชีวิตของเราเปนการรับใชพระองคอยางซื่อสัตยเสมอ

4. ส่ิงที่พึงรู / พึงจดจํา / พึงยึดถือปฏิบัติ4.1 “My people are destroyed for lack of knowledge” (Hos 4:6)

“ประชากรของเราถูกทําลาย เพราะขาดความรู” (ฮชย 4:6)4.2 พระเปนเจา องคความดีบริบูรณ ผูสรางสรรพสิ่งทั้งหลาย เปนบิดาผูแสนดีของมนุษยทุก

คน เราจึงเปนพ่ีนองกัน ความรัก ความเมตตา ความกรุณา ความหวงใยของพระองคนั้นไรขอบเขต สุดจะหย่ังถึงได มีสําหรับทุกคนไมมีเวน ไมมีวันหมด คนย่ิงบาปหนามาก ย่ิงมีสิทธิ์ในความเมตตาของพระองคมาก (สาสน พระบิดา ; สาสนพระเมตตา)

4.3 พระองคทรงสรางมนุษยตามภาพลักษณของพระองค และใหเรามีความคลายคลึงกับพระองค ใหเรามีอิสรภาพ และพระองคไมละเมิดอิสรภาพของเรา ใหเรามีสิทธิ์ที่จะตัดสินเลือก การตัดสินใจเลือก การกระทําของเราจะไดมีคุณคาแทจริง ขณะเดียวกันเราก็ตองรับผิดชอบในสิ่งที่เราเลือกและทํา “A person will reap exactly what he sows”(Gal 6:7) “ใครหวานส่ิงใดก็ยอมเก็บเกี่ยวส่ิงนั้น” (เทียบ กท 6:7)

4.4 พระเปนเจาเปนบิดาผูแสนดี รักเรา หวงใยเรา ปกครองดูแลเราดวยพระญาณเอ้ืออาทรของพระองค ฉะนั้นเรา “จงราเริงยินดีเสมอ จงอธิษฐานภาวนาอยางสม่ําเสมอ จงขอบคุณพระเจาในทุกกรณี” (เทียบ 1 ธส 5 : 16-18)

4.5 “จงแสวงหาพระอาณาจักรของพระเปนเจาและความชอบธรรมของพระองคกอนแลวพระองคจะทรงเพ่ิมทุกส่ิงเหลานี้ให” (มธ 6 : 33)

-8-

Page 11: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

4.6 “ทานจะตองรักองคพระผูเปนเจา พระเจาของทานสุดจิตสุดใจ สุดวิญญาณ สุดกําลังและสุดสติปญญาของทาน ทานจะตองรักเพ่ือนมนุษยเหมือนรักตนเอง” (เทียบ ลก10:27)

4.7 “ทานทั้งหลายจงเปนผูศักดิ์ สิทธ์ิ เพราะเรา พระยาหเวห พระเจาของทานเปนผูศักดิ์สิทธ์ิ” (เทียบ ลนต 19 : 2)

4.8 “จงเปนผูเมตตากรุณาดังที่พระบิดาของทานทรงพระเมตตากรุณาเถิด” (เทียบ ลก 6 :36)

4.9 “ทานอยากใหเขาทํากับทานอยางไร ก็จงทํากับเขาอยางนั้นเถิด” (เทียบ มธ 7 : 12)4.10 “ทานทําส่ิงใดตอพ่ีนองผูตํ่าตอยที่สุดของเราคนหนึ่ง ทานก็ทําส่ิงนั้นตอ

เรา” (มธ 25:40)4.11 “การใหยอมเปนสุขมากกวาการรับ” (เทียบ กจ 20 : 35)

4.12 สําหรับพระเปนเจาแลว ทุกอยางเปนไปได“ไมมีส่ิงใดที่พระเจากระทําไมได” (เทียบ ลก 1:37)“สําหรับมนุษยเปนไมได แตสําหรับพระเปนเจา ทุกอยางเปนไปได” (เทียบ มธ

19:26)“ลําพังลูกเอง ลูกไมสามารถทําอะไรไดเลย แตกับเราลูกสามารถทําไดทุกอยาง

(Diary 429)*4.13 “ขาพเจาทูลขอสองส่ิงจากพระองค ตราบที่ขาพเจายังมีชีวิตอยู โปรดอยาทรงปฏิเสธ

คําขอนี้เลย ขอใหความมุสาและถอยคําเท็จอยูหางไกลจากขาพเจา อยาประทานความยากจนหรือความร่ํารวยแกขาพเจาเลย แตโปรดประทานอาหารเทาที่จําเปนแกขาพเจา เพ่ือวาถาขาพเจาอิ่ม ขาพเจาจะปฏิเสธพระองค พูดวา ‘พระยาหเวหเปนใครกัน’ หรือเพ่ือวาถาขาพเจายากจน แลวจะไปขโมย กระทําใหพระนามพระเจาของขาพเจา ถูกลบหลู” (เทียบ สภษ 30:7-9)

4.14 “ความรักเงินตราเปนรากเงาของความชั่วทุกประการ” (เทียบ 1 ทธ 6: 10)4.15 “มนุษยจะไดประโยชนใดในการที่จะไดโลกทั้งโลกเปนกําไร แตตองเสียชีวิต และพินาศ

ไป” (เทียบ ลก 9: 25)4.16 “God Alone” หรือ “พระเจาเทานั้น” (นักบุญหลุยส มารีย กรีญอง เดอ มงฟอรต)4.17 “Thou hast created us for thyself, and our heart cannot be quieted till it may

find repose in thee.” (St. Augustine)“พระองคไดสรางลูกๆ ขึ้นมาเพ่ือพระองคเอง และจิตใจของลูกไมสามารถสงบนิ่งไดจนกวาจะไดพักผอนในพระองค” (นักบุญ ออกุสติน)

-9-

Page 12: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

4.18 “There is nothing wrong with making mistakes. Mistakes are part of life andessential for growth. It’s like that saying, ‘Happiness comes through goodjudgment, good judgment comes through experience, and experience comesthrough bad judgment.’ But there is something very wrong with making thesame mistakes over and over again, day in and day out. This shows acompletelack of self-awareness, the very quality that separates humans fromanimals.”

( The Monk Who Sold His Ferrari, page 125)

“มันไมผิดอะไรกับการผิดพลาด การผิดพลาดเปนสวนหนึ่งของชีวิต และเปนส่ิงสําคัญ สําหรับการเจริญเติบโต เหมือนกับคํากลาวที่วา ‘ความสุขเกิดจากการตัดสินใจที่ดี การตัดสินใจที่ดีเกิดจากประสบการณ และประสบการณเกิดจากการตัดสินใจ ที่ผิดพลาด แตมันจะเปนส่ิงผิดมหันตที่ผิดพลาดซ้ําแลวซ้ําอีก วันแลววันเลา นี่แสดงใหเห็นวา เปนการขาดความตระหนักรูอยางส้ินเชิงซึ่งเปนคุณสมบัตินั้นเลยที่แยกแยะมนุษยออกจากเดียรัจฉาน’”

(เดอะ มั๊งค ฮู โซลด ฮิซ เฟอรรารี่ หนา 125)

-10-

Page 13: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

4.19 บทภาวนาLord God,in your wisdom your created us,by your providence you rule us :penetrate our inmost being with your holy light,so that our way of life may always be one of faithful service to you.We make our prayer through our Lord.

(Divine Office : Week 3, Wednesday morning)

ขาแตพระเจาในพระปรีชาญาณของพระองค พระองคไดสรางลูกขึ้นมาดวยพระญาณเอ้ืออาทร พระองคปกครองดูแลลูกโปรดฉายแสงอันศักดิ์สิทธิ์ ลงมาสูสวนลึกสุดของตัวตนของลูกเพ่ือวาวิถีชีวิตของลูก จะไดเปนการรับใชพระองคอยางซื่อสัตยเสมอลูกวอนขอพระองคโดยอาศัยพระบารมีของพระเยซูคริสตเจา

(บทภาวนาทําวัตร อาทิตยที่ 3 วันพุธตอนเชา)

4.20 บทภาวนาอันทรงฤทธานุภาพย่ิง ที่พระเปนเจาไดประทานใหมนุษย ลูกๆของพระองคผานทางซิสเตอรเฟาสตินา เมื่อวันที่ 13 กันยายน 1935 สําหรับขอพระเมตตาของพระองค ใหกับตนเอง ใหกับมนุษยโลก เพ่ือให “พระประสงคจงสําเร็จในแผนดินเหมือนในสวรรค” พระองคยังใหซิสเตอรรูวา ทุกสิ่งเปนไปได พระองคจะประทานทุกสิ่งใหโดยการสวดภาวนาบทนี้ “... the Lord let me know that everything can beobtained by means of this prayer : พระองคใหดิฉันรูวา เราสามารถไดรับทุกส่ิงทุกอยางดวยการสวดสายประคําพระเมตตา” (Diary 1128)*

-11-

Page 14: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

- “Eternal Father, I offer You the Body and Blood, Soul and Divinity ofYour dearly beloved Son, Our Lord Jesus Christ, in atonement forour sins and those of the whole world.”“For the sake of His sorrowful passion have mercy on us and onthe whole world.” (Diary 476)*

- “ขาแตพระบิดานิรันดร ลูกขอถวายแดพระองค ซึ่งพระกาย พระโลหิตพระวิญญาณ และพระเทวภาพแหงพระบุตรสุดที่รักของพระองค พระเยซูคริสตเจา พระเจาของลูกทั้งหลาย เพ่ือชดเชยบาปของลูกและของชาวโลกทั้งมวล”“เดชะพระมหาทรมานอันนาเศราสลดย่ิงของพระเยซูเจา ขอทรงโปรดเมตตาลูกทั้งหลายและชาวโลกทั้งมวลเทอญ” (Diary 476)*

* สมุดบันทึกประจําวันของซิสเตอรเฟาสตินา14 มกราคม 2558

-12-

Page 15: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

กฎทองของศาสนาตางๆ (THE GOLDEN RULE)

1. ศาสนายูดาห (JUDAISM)อะไรเปนส่ิงที่นารังเกียจในสายตาของเจา จงอยาทําส่ิงนั้นตอเพ่ือนบาน นี่คือหลักโตราห ที่เหลือเปนคําอธิบายWhat is hateful to you, do not do to your neighbour.This is the whole Torah; all the rest is commentary. (Hillel, Talmud, Shabbat31a)

2. ศาสนาฮินด-ูพราหมณ (HINDUISM)นี่คือขอสรุปของหนาที่ : จงอยาทําตอผูอื่นในส่ิงที่จะเปนเหตุใหเสียใจ ถามันเกิดแกตัวทานThis is the sum of duty : Do not do to others what would cause pain if done toyou. (Mahabharata 5:1517)

3. ศาสนาพุทธ (BUDDHISM)จงอยาปฏิบัติตอผูอื่นในส่ิงที่ทานเองพบวาเปนภัยTreat not others in ways that you yourself would find hurtful.(The Buddha, Udana-Varga 5.18)

4. ศาสนาขงจ้ือ (CONFUCIANISM)ถอยคําหนึ่งซึ่งรวบรวมหลักสําคัญของพฤติกรรมที่ดีงามทั้งหมด... ความเมตตาเปยมดวยรัก ก็คือ “จงอยาทําตอผูอื่นในส่ิงที่ทานไมตองการใหทํากับตนเอง”One word which sums up the basic of all good conduct… loving kindness. Donot do to others what you do not want done to yourself. (Confucius, Analects15.23)

-13-

Page 16: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

5. ศาสนาเตา (TAOISM)จงคํานึงถึงผลประโยชนของเพ่ือนบาน ดังผลประโยชนของตนเอง และนึกถึงความสูญเสียของเพ่ือนบาน เหมือนความสูญเสียของตนเองRegard your neighbour’s gain as your own gain, and your neighbour’s loss asyour own loss.(Lao Tzu, T’ai Shang kan Ying P’ien, 213-218)

6. ศาสนาคริสต (CHRISTIANITY)ทานอยากใหเขาทํากับทานอยางไร ก็จงทํากับเขาอยางนั้นเถิดนี่คือธรรมบัญญัติและคําสอนของบรรดาประกาศกIn everything, do to others what you would have them do to you;for this sums up the Law and the Prophets. (Jesus, Matthew 7:12)

7. ศาสนาบาไฮ (BAHA’I FAITH)จงอยาเพ่ิมใหกับจิตวิญญาณใด ภาระที่ทานไมปรารถนาใหตนเองตองแบกรับและจงอยาปรารถนาตอผูใดในส่ิงที่ทานไมปรารถนาใหกับตนเองLay not on any soul a load that you would not wish to be laid upon you,anddesire not for anyone the things you would not desire for yourself. (Baha’u’llah,Gleanings)

8. ศาสนาเชน (JAINISM)จงปฏิบัติตอส่ิงสรางทั้งมวลในโลก เชนเดียวกับที่เราปรารถนาใหไดรับการปฏิบัติOne should treat all creatures in the world as one would like to be treated.(Mahavira, Sutrakritanga 1.11.33)

-14-

Page 17: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

9. ศาสนาอิสลาม (ISLAM)ไมมีใครในพวกทานเชื่ออยางแทจริง จนกวาทานมีความปรารถนาตอผูอื่นเหมือนดังที่ทานปรารถนาตอตัวทานเองNot one of you truly believes until you wish for others what you wish foryourself.(The Prophet Muhammad, Hadith , The Qur’a,)

10. ศาสนาซิก (SIKHISM)ฉันไมใชคนแปลกหนาสําหรับใครเลย และไมมีใครที่เปนคนแปลกหนาสําหรับฉัน แทจริงฉันเปนเพ่ือนของทุกคนI am a stranger to no one; and no one is a stranger to me. Indeed, I am afriend to all. (Guru Granth Sahib, Pg. 1299)

11. ศาสนาโซโรอัสเตอร (ZOROASTRIANISM)จงอยาทําตอผูอื่นในส่ิงใดๆ ซึ่งเปนภัยตอตัวทานเองDo not do unto others whatever is injurious to yourself.(Shayast-na-Shayast, 13.29)

12. ศาสนาที่เปนความเชื่อทองถิ่นดั้งเดิม (NATIVE SPIRITUALITY)เรามีชีวิตอยูได เทาที่เรารักษาโลกนี้ใหอยูไดWe are as much alive as we keep the earth alive.(Chief Dan George)

13. เอกบุคลาภาพนิยม (UNITARIANISM)เรายืนยันและสงเสริมความเคารพสายใยการพ่ึงพากันและกันแหงสรรพส่ิงที่ดํารงอยู ซึ่งเราเปนสวนหนึ่งWe affirm and promote respect for the interdependent web of all existence ofwhich we are a part. (Unitarian Universalist Principle)

วันที่ 8 มิถุนายน 55

-15-

Page 18: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ATTITUDEVery interesting message hope it motivate u in 2014......If : A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y ZIs equal to; 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26ThenH+A+R+D+W+O+R+K ; 8+1+18+4+23+15+18+11 = 98%K+N+O+W+L+E+D+G+E ; 11+14+15+23+12+5+4+7+5 =96%L+O+V+E ; 12+15+22+5 = 54%L+U+C+K ; 12+21+3+11 = 47%None of them makes 100%.Then what makes 100% ???Is it Money?NO !!! M+O+N+E+Y= 13+15+14+5+25 = 72%Leadership?NO !!! L+E+A+D+E+R+S+H+I+P = 12+5+1+4+5+18+19+8+9+16 = 97%Every problem has a solution, only if we perhaps change our "ATTITUDE".A+T+T+I+T+U+D+E ; 1+20+20+9+20+21+4+5 = 100%It is therefore OUR ATTITUDE towards Life and Work that makes OUR Life 100%Successful... Amazing mathematics, and that’s why I love it cus it’s like our life.

10 คําท่ีนาสนใจคําที่มีอักษรตัวเดียว บงบอกถึง... ความเห็นแกตัวมากที่สุด “I” ฉัน จงหลีกเล่ียงการใชคํานี้คําที่มีอักษร 2 ตัว แตเปนคําที่นาพึงพอใจที่สุด “We” เราควรใชคํานี้เสมอคําที่มีอักษร 3 ตัว แตมีพิษรายแรงที่สุด “Ego” ความทะนงหรือความเห็นแกตัว เอาชนะมันใหไดคําที่มีอักษร 4 ตัว ที่ถูกใชงานมากที่สุด “Love” รัก จงใหความสําคัญอยางสุดซึ้งคําที่มีอักษร 5 ตัว ที่ทําใหเราเพลิดเพลินที่สุด “Smile” ย้ิม จงรักษาไวใหดีคําที่มีอักษร 6 ตัว ที่แพรกระจายเร็วที่สุด “Rumour” ขาวลือ อยาใสใจกับมันมากคําที่มีอักษร 7 ตัว ที่ทํางานหนักที่สุด “Success” ความสําเร็จ จงทําใหสัมฤทธิ์ผลคําที่มีอักษร 8 ตัว ที่เห็นใครดีกวาไมได “Jealousy” ความริษยา หึงหวง จงอยูไกลๆ จากคํานี้คําที่มีอักษร 9 ตัว ที่มีพลังมากที่สุด “Knowledge” ความรู จงแสวงหาอยางไมจบสิ้นคําที่มีอักษร 10 ตัว ที่มีคามากที่สุด “Friendship” มิตรภาพ จงรักษาไวอยางดี

-16-

Page 19: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพครู)จรรยาบรรณตอตนเอง

๑. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดานวิชาชีพบุคลิกภาพ และวิสัยทัศนใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยูเสมอ

จรรยาบรรณตอวิชาชีพ๒. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก ศรัทธา ซื่อสัตยสุจริต รับผิดชอบตอ

วิชาชีพ และเปนสมาชิกที่ดีขององคกรวิชาชีพจรรยาบรรณตอผูรับบริการ

๓. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ สงเสริมใหกําลังใจแกศิษย และผูรับบริการตามบทบาทหนาที่โดยเสมอหนา

๔. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ และนิสัยที่ถูกตองดีงามแกศิษย และผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่อยางเต็มความสามารถดวยความบริสุทธิ์ใจ

๕. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติ ปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ

๖. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษ ตอความเจริญทางกาย จิตใจ อารมณ และสังคมของศิษย และผูรับบริการ

๗. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองใหบริการดวยความจริงใจ และเสมอภาคโดยไมเรียกรับ หรือยอมรับผลประโยชนจากการใชตําแหนงหนาที่โดยมิชอบ

จรรยาบรรณตอผูรวมประกอบวิชาชีพ๘. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอยาง

สรางสรรค โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สรางความสามัคคีในหมูคณะจรรยาบรรณตอสังคม

๙. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตน เปนผูนําในการอนุรักษและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา สิ่งแวดลอม รักษาผลประโยชนของสวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

-17-

Page 20: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Education Professional StandardsStandards of ConductPersonal ethics

1. Education professional practitioners shall have self-discipline and improve their professionalpractice, personality and vision to keep up with the academic, economic, social and politicaldevelopment.

Professional ethics2. Education professional practitioners shall have love, faith, integrity and responsibility for the

profession and act as a good member of professional organizations.

Client centered ethics3. Education professional practitioners shall care for and be merciful to, pay attention to, assist and

encourage their students and clients on an equal treatment basis, in accordance with their roles andduties.

4. Education professional practitioners shall encourage their students and clients to achievelearning, skills, good and proper conduct, in accordance with their roles and duties, to the fullcapability and generosity.

5. Education professional practitioners shall conduct themselves as a good role model in terms ofphysical conduct, speech and mental conduct.

6. Education professional practitioners shall not act in any manner which is against the physical,intellectual, mental, emotional and social development of their students and clients.

7. Education professional practitioners shall provide services honestly and equally without askingfor, accepting or acquiring any interests which would be considered abuses of their authority.

Collegial ethics8. Education professional practitioners shall provide assistance and support to one another

constructively by adhering to the morality and create synergy among themselves.

Societal ethics9. Education professional practitioners shall conduct themselves as leaders in economic, social,

religious, art and cultural, intellectual and environmental conservation and development as well aspreserve the public interests and adhere to the democratic regime of government with the King asHead of the State.

-18-

Page 21: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯที่ทรงพระราชทานแกครู

๑. “...ผูท่ีเปนครูอาจารยน้ัน ใชวาจะมีแตความรูในทางวิชาการ และทางการสอนเทาน้ันก็หาไมจะตองรูจักอบรมเด็กท้ังในดานศีลธรรมจรรยา และวัฒนธรรม รวมท้ังใหมีความสํานึกรับผิดชอบในหนาท่ี และในฐานะท่ีจะเปนพลเมืองท่ีดีของชาติตอไปขางหนา การใหความรูหรือท่ีเรียกวาการสอนน้ันตางกับการอบรม การสอน คือ การใหความรูแกผูเรียน สวนการอบรม เปนการฝกจิตใจของผูเรียนใหซึมซาบจนติดเปนนิสัย...”

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกบัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร๑๕ ธันวาคม

๒๕๐๓

๒. “...การสอนใหนักเรียนมีความรูดีเปนสิ่งสําคัญมาก แตมีสิ่งสําคัญย่ิงกวาน้ันอีก คือ จะตองฝกหัดใหนักเรียนรูจักคิดพิจารณา นําวิชาความรูน้ันไปใชในทางท่ีถูกตองเหมาะสมแกงานไดดวยการศึกษาท่ีใหท้ังวิชาการและวิธีใชวิชาโดยถูกตองเชนน้ี จึงจะเปนการศึกษาท่ีดี...”

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกบัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร๑๕ ธันวาคม

๒๕๐๙

๓. “...จิตใจของครูแตกอนน้ันมากดวยความเมตตา ความเมตตาทําใหครูเห็นแกศิษยย่ิงกวาเห็นแกตัว จึงมุงท่ีจะสั่งสอนและอบรมศิษยใหมีท้ังความดีและความรู สามารถเสียสละความสุข ความสะดวกสบายและแมความสนุกของตนเองได เพื่อประโยชนของศิษย ครูของไทยจึงผูกมัดใจศิษยใหเคารพรักใครไดม่ันคง…”

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของบัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร๑๙ ธันวาคม

๒๕๑๑

๔. “...ครูจะตองตั้งใจในความดีอยูตลอดเวลา แมจะเหน็ดเหน่ือยเทาไร ก็จะตองอดทนเพื่อพิสูจนวาครูน้ีเปนท่ีเคารพสักการะได แตถาครูไมตั้งตัวในศีลธรรม ถาครูไมทําตัวเปนผูใหญ เด็กจะเคารพไดอยางไร...”

พระบรมราโชวาท พระราชทานแกคณะครู โรงเรียนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ณ ศาลาผกาภิรมย

๘ พฤษภาคม ๒๕๑๓

-19-

Page 22: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

๕. "...ครูน้ันจะตองใหความรูแกเด็ก ๆ ดวยความเมตตา ดวยความหวังดี คือ ดวยความเมตตาตอผูท่ีเปนลูกศิษย และดวยความหวังดีตอสวนรวม เพราะถาสวนรวมประกอบดวยบุคคลท่ีมีความรูดีสวนรวมก็ไปรอด..."พระบรมราโชวาทพระราชทานแกคณะอาจารยและนักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวลณ พระราชวัง ไกลกังวล หัวหิน

๒๗ พฤษภาคม ๒๕๑๓

๖. “...ชีวิตครูควรเปนชีวิตท่ีสะอาดบริสุทธิ์ เปนแบบอยางแกผูอื่นได สามารถปลูกฝงเยาวชนใหมีท้ังความรูและคุณธรรม อันเหมาะสมแกการเปนพลเมืองดีของชาติ ดวยความรูและคุณธรรมซ่ึงทานท้ังหลายไดเพียรสั่งสมไว ครูจึงจะสมเปนปูชนียบุคคลไดตามคติท่ีเช่ือกันมาแตโบราณ หากครูหวั่นไหวไปตามโลกธรรมเสียแลว ความเปนปูชนียบุคคลก็ยอมเปนท่ีเคลือบแคลงสงสัย ผูถืออาชีพครูจึงพึงปฏิบัติงานของตนดวยความรูอันมีคุณธรรมเปนเคร่ืองกํากับจึงจะสมกับการเปนปูชนียบุคคล...”พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกบัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม

๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๖

๗.“...ถาครูไมหวงประโยชนท่ีควรหวงหันไปหวงอํานาจ หวงตําแหนง หวงสิทธิและหวงเงินกันมากๆ เขาแลว จะเอาจิตใจท่ีไหนไปหวงความรู ความดี ความเจริญของเด็ก ความหวงใยในสิ่งเหลาน้ันก็คอยๆ บ่ันทอนทําลายความเปนครูไปจนหมดสิ้นจะมีอะไรเหลือไวพอท่ีตัวเองจะภาคภูมิใจหรือผูกใจใครไวได ความเปนครูก็ไมมีคาเหลืออยู ใหเปนท่ีเคารพบูชาอีกตอไป...”

พระราชดํารัสแกครูอาวุโสในโอกาสเขาเฝาฯ๒๑ ตุลาคม ๒๕๒๑

๘."...ครูท่ีแทจริงน้ันตองเปนผู ทําแตความดี คือตองหม่ันขยัน และอุตสาหะพากเพียร ตองเอื้อเฟอเผื่อแผ และเสียสละ ตองหนักแนนอดทน และอดกลั้น สํารวมระวังความประพฤติปฏิบัติของตน ใหอยูในระเบียบ แบบแผนท่ีดีงาม รวมท้ังตองซ่ือสัตย รักษาความจริงใจวางใจเปนกลางไมปลอยไปตามอํานาจอคติ..."

พระราชดํารัส พระราชทานแกครูอาวุโส๒๘ ตุลาคม ๒๕๒๓

-20-

Page 23: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

คําพูดของบุคคลสําคัญ ที่เกี่ยวกับอาชีพครูครูที่ดียอมไมฆาเวลาศิษย

สํานึกผิดทิ้งเด็กไวมิไดสอน

หนึ่งนาทีนั้นมีคาอยาตัดรอน

เมื่อศิษยออนจะโทษใครใหคิดดู

ม.ล.ปน มาลากุล

***********************************************

ไมมีอาชีพไหนเลย...

ที่จะวิเศษและย่ิงใหญเทากับอาชีพครู

และไมมีอาชีพไหนเลย...

ที่จะกําหนดชะตากรรมของประเทศ เหมือนที่ครูทําได

ไมมีอาชีพไหน...

ที่จะชวยใหอนาคตของโลกเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดี นอกจากอาชีพครู

ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

***********************************************

“I cannot teach anybody anything, I can only make them think.” -Socrates

"Those who educate children well are more to be honored than they whoproduce them; for these only gave them life, those the art of living well." – Aristotle

-21-

Page 24: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

"I am indebted to my father for living, but to my teacher for living well." -Alexander the Great (His teacher was the legendary philosopher Aristotle)

“A teacher affects eternity; he can never tell where his influence stops.” – HenryAdams

“Better than a thousand days of diligent study is one day with a great teacher.”-Japanese Proverb

“The mediocre teacher tells. The good teacher explains. The superior teacherdemonstrates. The great teacher inspires.”- William Arthur Ward

“The secret of education lies in respecting the student” -Ralph Waldo Emerson

"Education is not the filling of a pail, but the lighting of a fire." - William ButlerYeats

“Teaching is more than imparting knowledge, it is inspiring change. Learning ismore than absorbing facts, it is acquiring understanding.”-William Arthur Ward

“The principle goal of education in the schools should be creating men andwomen who are capable of doing new things, not simply repeating what othergenerations have done.”-Jean Piaget

"Tell me and I forget. Teach me and I remember. Involve me and I learn." -Benjamin Franklin

"A child miseducated is a child lost." - John F. Kennedy

“If you are planning for a year, sow rice; if you are planning for a decade, planttrees; if you are planning for a lifetime, educate people.” -Chinese Proverbs

-22-

Page 25: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ครูมืออาชีพ ในศตวรรษที่ 21การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21

What does it mean to teach in the 21st Century? If teachers can only provide ...

Content Facts Dates Formulars Research Theories Stories Information

Then is our role in the lives of students obsolete??? Students can find information on ....

Blogs Facebook Cell Phones Twitter Wikipedia YouTube MP3 Players Bing

-23-

Page 26: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Virtually limitless informationWhatever, whenever, wherever... Teachers are no longer the main source of information.So...???How do we teach students to handle these resources? Sure, they know how to use a searchengine...

But has anyone shown them how to : Validate information? Synthesize information? Leverage information? Communicate information? Collaborate with information? Solve problems with information?

With all of this information available, should our curriculum be focused on facts and content orskills? Think of the skills used when you ask :

How do I fix my car ? What’s the best credit card deal for me? What’s the fastest route home to avoid traffic? Should I rent or buy? How can I get my image out there so companies will hire me? My connecting flight was just concelled. What do I do now? Who should I vote for? Where can I get reliable news? What is the most efficient tool for this project?

How would your students answer these questions? Have you asked them?

-24-

Page 27: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

การสรางสรรค (Create)And what does creation mean today?

Blogging Podcasting Animating Planning Recording Designing Programming

And what about all the other ICT skills?Paraphrasing Mashing BookmarkingExperimenting Attributing SubscribingPosting Uploading EditingReflecting Tagging TwitteringLocating Searching CommentingIntegrating Networking Linking

Where do these fit into Bloom’s Taxonomy?

And what about Responsibilities? Reliability? Integrity?

From whom are they learning this? Friends? Strangers? Themselves?

-25-

Page 28: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

And where do we expect them to learn aboutPirating Plagiarism SlanderCopyright Crowdsourcing Confidentiality

Professionalism ??

-26-

How could you gather and discuss data via :Facebook iPhone CrowdsourcingOnline Surveys Twitter

How could you talk about reliable sources using:Office 2010 Podcasts SearchWikipedia Blogs

So what does this mean for the classroom?It means we need to rethink the tools we useand the types of problems we ask students tosolve.

How could students publish and evaluate work using:

How could students collaborate using:

Page 29: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Tonight’s Homework:Answer the following question using any resources you wish. You must explain, justify,and evaluate your opinion and resources.

- What is the current relationship between India and Pakistan?

- Read the terms and conditions of YouTube and summarize the key ideas.

What skills could students gain through this process?What kinds of discussions could this create in the classroom?How could students SHARE COLLABORATE COMPARE PUBLISH these ideas?

-27-

How could struggling students benefit from:

- You have $1000 to donate towards hungerrelief. To which organization in which countrywould you give it?- If you could live anywhere in the world,where would it be? Use data in yourjustification.

- What are the top rated jobs in your country?- What required skills do these jobs have in

common?

- Find an online presentation program. Use it tocreate a 2-minute presentation of the pros andcons of the program.

Page 30: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Think of the possibilities.But how do we manage laptops, cellphones, MP3 Players at school?

The same way we manage: paper, pencils, textbooks and notecards.The tools provide temptation, but they are not the source of negative behavior.Any lesson you create, no matter what tools are used has to be...

- challenging- relevant- engaging

But why does every lesson have to entertain students with new toys?These tools are no longer about pure entertainment.Students do not need to be entertained... they need to be engaged.Entertainment is not the same as engagement.

Entertainment EngagementPassive ActiveFor enjoyment for learningShort lived long-term resultsDoesn’t require relevance meaningful and applicableEscape from problems solving problemsUsing the creativity of others using the creativity of the participant

Entertainment can and should be fun and exciting. But our charge is to provide meaningfuland powerful engagement.So where does it start? With you...

1. See what’s out there Find some sites Try some software Do some research

2. Start small What is one thing you could do in the next 2-3 week to better engage with 21st

century skills?

-28-

Page 31: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

3. Collaborate Don’t do it alone. Plan carefully and ask what others have found successful.

4. Take a risk Change cannot occur without conflict. Try it and see what happens.

And remember the big picture No matter what content you teach... No matter what skills you teach... No matter what subject you teach...

The question to ask is... what does it mean to teach?

เราพรอมแลวหรือยังที่จะบริหารจัดการการศึกษา

ในโลกยุคการส่ือสารไรพรมแดน

เราจะจัดบริหาร จัดการควบคุม ใชประโยชนจากส่ือสังคมออนไลน

อยางไรเปนไท หรือ เปนทาส

เปนผูสรางสรรค หรือ ผูคัดลอกเปนผูผลิต หรือ ผูบริโภค

ทันสมัย หรือ ตกยุคจัดการ IT หรือถูก IT จัดการรูเทาทัน หรือ ถูกครอบงํา

ฝายนโยบายและแผน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่มา - http://www.youtube.com/watch?v=TivtI47sfyM

-29-

Page 32: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

วิถีสรางการเรียนรูในศตวรรษที่ 21วิถีสรางการเรียนรู เพ่ือศิษย ในศตวรรษที่ 21

ศ.นพ.วิจารณ พานิชประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม

การเรียนรูท่ีตางจากเด็กยุคเกาอยางมาก ก็คือเด็กยุคใหมน่ีความรูเยอะ และก็ความรูท่ีวิ่งมาหาเด็กน่ีเยอะ เพราะฉะน้ันเร่ืองท่ีเรียนในหองเรียน ยากมากท่ีเด็กจะสนใจ เพราะเร่ืองอื่นนาสนใจกวาเยอะถาเด็กเปนผูเลือกท้ังหมดน่ี เด็กก็ยังไมโต เด็กยังคิดไมกวาง ดังน้ันการศึกษาก็ตองเขาไปชวยจัดการให

นพ. ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพเลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ

ในศตวรรษน้ีเปนยุคไอที เปนยุคสารสนเทศของจริง จํานวนความรูมันเพิ่มข้ึนมหาศาลอยางรวดเร็ว ตัวอยางท่ีดี ก็เชน ตัวอยางทางการแพทย มันมีความรูทางการแพทยเกิดใหมทุกวัน เราไลไมทัน เปนไปไมไดท่ีจะทองท้ังหมด ดังน้ัน เราไมไดตองการนักเรียนท่ีรูเยอะๆ นักเรียนท่ีทองเกงเรียนเกง แตเพียงอยางเดียว แตเราอยากไดเด็ก อยากไดนักเรียน อยากไดบัณฑิตท่ีใฝรู อยากเรียนรูของใหมเร่ือยๆ และก็รูวิธีท่ีจะเรียนรูดวย ก็คือ มีทักษะการเรียนรูท่ีเรียกวา Learning Skill พรอมกันน้ันเราก็ตองการ เด็กท่ีมีทักษะการใชชีวิตท่ีดีดวยท่ีเรียกวา Life Skill

ทีมงานสําหรับโลกในศตวรรษท่ี 21 น้ัน นอกจากความรูในสาระวิชาหลักท่ีเด็กควรจะไดรับการสอน

เด็กควรจะตองรูแนวคิดสําคัญในศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย ความรูเกี่ยวกับโลก ความรูดานการเงิน เศรษฐศาสตรธุรกิจ และการเปนผูประกอบการ ความรูดานการเปนพลเมืองท่ีดี ความรูดานสุขภาพ และความรูดานสิ่งแวดลอม นอกจากน้ีเด็กยังควรไดรับการปลูกฝงทักษะสําคัญ 3เร่ือง อีกดวย คือ

1. ทักษะชีวิตและการทํางาน ซ่ึงประกอบไปดวยความยืดหยุนและการปรับตัว การริเร่ิมสรางสรรค การเปนตัวของตัวเอง ทักษะดานสังคมและทักษะขามวัฒนธรรม การเปนผูสรางหรือผลิตและ ความรับผิดชอบเช่ือถือได และภาวะผูนําและความรับผิดชอบ

--30-

Page 33: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม คือความคิดริเร่ิมสรางสรรคและนวัตกรรม การคิดอยางมีวิจารณญาณและการแกปญหา และการสื่อสารและความรวมมือ

3. ทักษะดานสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี คือการใชและประเมินสารสนเทศไดอยางเทาทัน วิเคราะหและเลือกใชสื่อไดอยางเหมาะสม และใชเทคโนโลยีใหมอยางมีประสิทธิภาพ

และเพื่อใหกระบวนการเรียนรูตางๆ ประสบความสําเร็จ เราจําเปนจะตองมี โครงสรางพื้นฐาน4 ดาน เพื่อสนับสนุนการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 คือ 1. มาตรฐานและการประเมินในยุคศตวรรษท่ี 212. หลักสูตรและการเรียนการสอนสําหรับศตวรรษท่ี 21 3. การพัฒนาครูในศตวรรษท่ี 21 ท่ีไมใชแคการอบรม และ 4. สภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมตอการเรียนรู

-31-

Page 34: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

นพ. ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพเลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ

การเรียนการสอนแบบเกา คุณครูก็สอน และก็มุงท่ีจะใหความรูแกเด็กเยอะๆ แตเด็กก็มีหนาท่ีรับความรูเยอะๆ แลวก็ทอง การเรียนการสอนแบบน้ี ก็อาจจะเหมาะสําหรับ 100 - 200 ปท่ีผานมา แตวา ในสมัยใหม ในศตวรรษใหม การเรียนการสอนประเภทมอบความรูกันตรงๆ ใชไมไดผล

ศ.นพ.วิจารณ พานิชประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม

ความจริงท่ีสําคัญก็คือวา ความรูมันเยอะมาก ครูก็เวียนหัว ทํายังงัยถึงจะยัดใหเด็กหมด อยางน้ีเด็กก็เวียนหัวตาย ผลวิจัยบอกวา ครูอยาไปสอนเยอะ สอนเฉพาะสวนท่ีสําคัญ Essential แลวหลังจากน้ัน เด็กจะมีความสามารถท่ีจะเอาความรูตรงน้ันไปตอกันเอง แลวก็งอกข้ึนมา สวนท่ีไมไดสอน เด็กก็จะเรียน ไดเอง การเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 คือ Teach Less, Learn More จุดสําคัญคือวา มันตองเปลี่ยนวิธีการของการศึกษา โดยเปลี่ยนเปาหมายจากความรูไปสูทักษะ เปลี่ยนจากครูเปนหลัก เปนนักเรียนเปนหลัก เรียนโดยการปฏิบัติท่ีเรียกวา Project Based Learning (PBL) คือเด็กเรียนโดยการทํา Project

ทีมงานการเรียนแบบ Project Based Learning (PBL) เปนการเรียนท่ีฝกใหนักเรียนไดเรียนรูผานการ

ทํางานจริง หรือ Project ตางๆ โดยท่ีครูเปนเพียงโคช (Coach) คอยชวยเหลืออยูขางๆ การเรียนแบบน้ีจะชวยใหเด็กฝกใชทักษะตางๆ ตั้งแตการตีโจทย คนควาหาขอมูล หัดตรวจสอบและประเมินขอมูล เพื่อนําสิ่งท่ีเหมาะสมมาใชกับ Project ไดฝกปฏิบัติจริง เพิ่มทักษะในการสื่อสาร การนําเสนออยางสรางสรรค และท่ีสําคัญท่ีสุดยังไดฝกการทํางานเปนทีม แลกเปลี่ยนความรูรวมกันเพื่อตอยอด และสรางเปนองคความรูของตนเองตอไป

ศ.นพ.วิจารณ พานิชประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม

Project นึงเราสามารถท่ีจะออกแบบ และใสเงื่อนไขใหนักเรียนไดเรียนรูทักษะสารพัดได คือ ครูตองฝกการเปนครูฝก ชวยเปนโคชใหกับเด็กไดฝกทํางาน แลวโคชท่ีเกง ก็ตองโคชใหไดท้ังจิตใจอารมณ สรางแรงบันดาลใจ ใหเห็นวิธีวา การเรียนมันเกิดคุณคาอยางไร เพราะทักษะท่ีสําคัญอยางหน่ึงคือ ทักษะแหงแรงบันดาลใจ ท่ีทําใหตัวเองมีแรงบันดาลใจ มีพลัง มีไฟ และเม่ือไหรก็ตามท่ีเด็กมีแรงบันดาลใจ ชีวิตมันจะมีชีวิตชีวา

-32-

Page 35: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

นพ. ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพเลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ

การเรียนการสอนแบบ PBL สมัยใหม การเรียนรูไมมีกรอบ เปนการเรียนรูท่ีมีเสรีภาพทางปญญาตามสมควร เพราะวาเราไมสนใจคําตอบ เราสนใจกระบวนการหาคําตอบ โจทยปญหาขอนึงมีวิธีตอบเยอะแยะ เราไมรูหรอกวาคําตอบไหนถูก ไหนไมถูก และเราก็ไมสนใจเทาไหรนัก เราสนใจวิธีท่ีเด็กกลุมละ 5 คน 7 คน ชวยกันหาคําตอบมากกวา การวัด ไมใชเปนการวัดเพื่อประเมินไดตก แตเปนการวัดเพื่อประเมินความกาวหนา เด็กทุกคนมีศักยภาพท่ีจะพัฒนาตนเองไปเร่ือยๆ ตอใหเปนเด็กเรียนรูชาเขาก็สามารถเดินข้ึนบันไดไปไดเร่ือยๆ ถาเราวัดท่ีพัฒนาการ

ศ.นพ.วิจารณ พานิชประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม

การบานมีไวเพื่ออะไร เพื่อประโยชนอะไร เพื่อใหเกิดอะไรในตัวคนเรียน ท่ีใชกันท่ัวไปคือวาเพื่อใหเด็กไดมีความรู ท่ีน้ีมันมีการบานแบบสมัยใหม ท่ีผมอยากจะเลา เปนการบานท้ังป การบานน้ีเรียนเปนทีม ก็คือวาปลายปจะแสดงละครเชกสเปยร (Shakespeare) 1 เร่ือง การบานแบบน้ีทําใหเด็กมีใจมุงม่ันอยูกับสิ่งท่ีเปนระยะยาว และก็ทํางานรวมกันเปมทีม ท่ีสําคัญก็คือวา เราจะบนวาเด็กสมัยน้ีสมาธิสั้น แตเด็กท่ีเรียนแบบน้ีจะไมมีปญหาเร่ืองสมาธิสั้น เพราะสมาธิมันมีท้ังป น่ีคือการเรียนรูท่ีไมมีการสอบ

นพ. ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพเลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ

โลกสมัยใหม ความรูมันมหาศาลจนไมรูจะสอนอะไรใหเด็กจริงๆ และก็ไมแปลกท่ีครูหน่ึงคนจะไมรู

ศ.นพ.วิจารณ พานิชประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม

เพราะฉะน้ันจึงตองมีเคร่ืองชวย เคร่ืองชวยน้ีคือ Professional LearningCommunity (PLC) ก็คือรวมตัวกันเรียนรู เรียนรูการทําหนาท่ีครูยุคใหมจุดสําคัญคือ รวมกันทํา ดีกวาทําคนเดียว

ทีมงานProfessional Learning Community (PLC) เปนเคร่ืองมือท่ีจะชวยครูในการออกแบบการเรียนรู

ของเด็กไดอยางเหมาะสมกับบริบทของแตละท่ี เพราะพื้นฐานของเด็กแตละคนน้ันไมเหมือนกัน ครูเพียงแคคนเดียวอาจจะไมสามารถออกแบบการเรียนรูใหกับเด็กไดท่ัวถึง ซ่ึง PLC จะเขามาทํางานแทนท่ี การสั่งการ เนนใหทุกฝายมารวมตัวกันเปนชุมชนการเรียนรู ชวยกันคิด ชวยกันทํา เพื่อใหครูมีทักษะในการออกแบบการเรียนรู สามารถพัฒนาและปรับปรุง PBL เพื่อใหเด็กไดมีทักษะท่ีจําเปนสําหรับศตวรรษท่ี 21

-33-

Page 36: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

นพ. ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพเลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ

เราเช่ือวา ศักยภาพของชุมชนการเรียนรูของครู จะสามารถพัฒนาตนเองไปดวยกันท้ังกลุมไดเราไมเช่ือวาจะมีหลักสูตรอบรมการสราง PBL ใหดีๆไดในช่ัวขามคืน การเร่ิมตนดวย PBL ท่ีมีอยูแลวอาจจะดีบาง ไมดีบาง เราคอยๆพัฒนาดวยกันนาจะเปนวิธีท่ีย่ังยืนกวา แลวก็เปนจริงสอดคลองกับบริบทของประเทศไทย

ศ.นพ.วิจารณ พานิชประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม

ตัว Concept ของการศึกษาน่ีมันตองเปลี่ยนไปจากท่ีเราคุนเคย จากหนามือเปนหลังมือเยอะมาก ถาเรียนหนักอยางปจจุบัน ซ่ึงมีผลกระทบอยางไร ขอท่ี 1 ก็คือ เด็กวัยรุนจะเสียคน ในสัดสวนท่ีเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ เพราะมันไมมีแรงบันดาลใจ ไมสนุก นาเบ่ือ แตอยางท่ี 2 น่ี อันตรายกวา ก็คือท้ังชาติเลยโง เพราะอะไร เรียนแคไดความรู ไมไดทักษะ ท่ีเรากําลังทะเลาะกันอยู เพราะสวนหน่ึงเปนผลจากการศึกษา ท่ีไมลึกพอ ท่ีไมทําใหคนไทย พลเมืองมีวิจารณญาณ แตถาเรียนแลวใหได CriticalThinking ซ่ึงจริงๆ แลวสอนไดยากมาก แตวาทําใหเรียนได Critical Thinking คิดอยางมีวิจารณญาณสังคมเราก็จะยกระดับข้ึนมา

ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=Pr_bG72nBpk

-34-

Page 37: คุณธรรม เทคโนโลยี พัฒนาสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

-35-