7
เสวนาทางวิชาการโครงการจัดการความรู โครงสรางสถาปตยกรรมไทยประเภทเครื่องไม : เรือนไทยภาคกลาง วันที๒๙ มิถุนายน พ..๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๓๐ น.- ๑๖.๐๐ น. ณ หองประชุมอาคารดํารงราชานุภาพ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร โดย สํานักสถาปตยกรรม กรมศิลปากร

เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เรือนไทยภาคกลางThai traditional architecture

Citation preview

Page 1: เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

เสวนาทางวิชาการโครงการจัดการความรู

โครงสรางสถาปตยกรรมไทยประเภทเคร่ืองไม

: เรือนไทยภาคกลาง

วันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๔

เวลา ๑๓.๓๐ น.- ๑๖.๐๐ น.

ณ หองประชุมอาคารดํารงราชานุภาพ

พิพธิภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

โดย

สํานักสถาปตยกรรม กรมศิลปากร

Page 2: เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

เรือนทับขวัญ พระราชวังสนามจันทร นครปฐม

เรือนไทยภาคกลาง

รูปแบบเรือนไทยภาคกลาง ถูกออกแบบใหสอดคลองกับการอยูอาศัยในสภาพอากาศแบบรอนช้ืนและมีความสัมพันธกับกรรมวิธีในการใชไมเปนวัสดุหลักที่ใชในการกอสราง โดยปจจัยที่ทําใหเกิดลักษณะของเรือนไทยนั้น นาจะมาจากการสรางพืน้ที่เพื่อตอบสนองประโยชนใชสอยตามความเปนอยูในชีวิตประจําวัน และออกแบบใหสอดคลองกับสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ เชน การยกใตถุนเรือนสูงหนีน้ําทวมในฤดูน้ําหลาก เพื่อปองกันอันตรายจากสัตวปา และ เปนพื้นที่ใชสอยอเนกประสงค การทําหลังคาจ่ัวทรงสูงอันมีผลในเร่ืองสัดสวนความงามทางสถาปตยกรรม และเปนการเพิ่มมวลรูปทรงหลังคาชวยระบายอากาศรอน หลังคากันสาดย่ืนยาวเพื่อชวยปองกันแดดฝน การลมเสาเรือน ทําใหสัดสวนของเรือนสวยงาม และชวยเสริมความม่ันคงแข็งแรง การสรางฝาเรือนโดยใชไมตีเปนฝาปะกนหรือฝาสายบัว มีชองลูกฝก เพิ่มความสวยงาม และชวยระบายอากาศรอน เปนตน

การเลือกใชวัสดุในการปลูกเรือน

เนื่องจากวาปาไมมีอยูโดยทั่วไป ไมจึงเปนวัสดุที่หาไดงายในทองถ่ิน และเปนวัสดุหลักในการกอสรางงานสถาปตยกรรมประจําภูมิภาค ทําใหชางมีความคุนเคยกับงานไมมากกวางานปูน ซ่ึงในเรือนไทยภาคกลาง จะเห็นถึงตัวอยางการใชวัสดุตางๆที่มีในทองถ่ิน ที่นํามาใชในการกอสรางและมีความสอดคลองกับความเปนอยูของคนไทยภาคกลาง ที่นาสนใจ เชน การใชแฝกหรือหญาคาที่เปนพืชในทองถ่ินมุงหลังคาเรือนชาวบาน ชวยระบายความรอนในพื้นที่ใตหลังคา ชวยใหอากาศถายเท และมีประโยชนชวยลดน้ําหนักโครงสรางหลังคา สําหรับเรือนเจานายหรือชนช้ันสูง ใชดินเหนียวมาผลิตเปนกระเบื้องดินเผา ทั้งนี้เพราะดินเหนียวเปนส่ิงที่หาไดงายในทองถ่ิน การใชไมทําฝาเรือนจะชวยเร่ืองการระบายความรอนไดดี

Page 3: เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

เรือนหมู บานคุณภาณุวัฒน ชัยพิพากร อ.บางระจัน จ.สิงหบุรี

เรือนไทยวรรณคดี ม.กรุงเทพ จ.ปทุมธานี

เรือนไทยคุณสนั่น ขจรประศาสน จ.นนทบุรี

Page 4: เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

วิเคราะหการรับแรงสวนประกอบโครงสรางอาคารเรือนไทย ดวยความคุนเคยและความชํานาญในงานไมของชางทําเรือนไทยโบราณ ทําใหเกิดเปนรูปแบบของงานโครงสรางไมเรือนไทยภาคกลางอันนาสนใจ ซ่ึงเม่ือพิจารณาถึงสวนโครงสรางโดยละเอียดแลว จะเห็นถึงความเขาใจในการใชวัสดุไมในการกอสรางที่ผสมผสานกับรูปแบบทางสถาปตยกรรม สามารถรักษาความงามของเรือนไวไดอยางลงตัว

โครงสรางเรือนไทย

รูปตัด แสดงช้ินสวนองคประกอบโครงสรางเรือนไทยภาคกลาง

Page 5: เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

ระบบการสงถายแรง

รูปแสดงแบบจําลองการสงถายแรงในองคอาคารเม่ือมีแรงกระทําในแนวดิ่ง

ระบบการสงถายแรงทางโครงสรางเร่ิมจากสวนบนสุดลงสูดานลางสุด สวนโครงสรางหลังคา ( น้ําหนักกระเบื้อง ระแนง กลอน แป,อกไก จันทัน เสารับโครงสรางหลังคา ) สวนโครงสรางพื้น ( พื้น รอด เสา) สวนโครงสรางฝาผนัง ( ฝาผนัง พรึง รอด เสา ) และน้ําหนักจากเสาทั้งหมดก็จะถายลงสูตอมอ ฐานราก ตามลําดับ

น้ําหนักแนวด่ิงท่ีถายลงแป

น้ําหนักท่ีต้ังฉากกับแป น้ําหนักท่ีกระทําตอแปในแนวขนานกับหลังคา

น้ําหนักจากอกไก

แรงดึง

แรงรวมถายลงเสา

น้ําหนักจากพื้น

น้ําหนักจากเชิงกลอนและสะพานหน฿

น้ําหนักจากเสาถายลงฐานราก

น้ําหนักจากคํ้ายันถายลงเสา

Page 6: เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

วิเคระหแรงภายในช้ินสวน

ระแนง

ระแนงวางตัวตามความยาวของหลังคาและมีระยะการวางตามขนาดกระเบ้ือง ประมาณ 0.11-0.13 ม. โดยมีชวงพาดประมาณ 0..40-0.60 ม. ระแนงจะทําหนาท่ีเปนบาใหกระเบ้ืองเกาะและรับนํ้าหนักจากกระเบ้ืองถายลงสู “กลอน” โดยระแนงมีลักษณะการรับแรงทางโครงสรางในรูปแบบคาน

กลอน

มีหนาตัดเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา ขนาดประมาณ 3/4” x 3” หรือ 3/4” x 4” มีระยะหางในการวางประมาณ 0.40-0.60 ม. และมีชวงพาดประมาณ 0.60-0.80 ม.วางนอนในแนวดิ่งตามแนวจันทัน เหตุท่ีตองวางกลอนในแนวนอนน้ันก็เพ่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีในการรับ “ระแนง” และเพ่ือใหสามารถดัดโคงตามแนวหลังคาได โดยกลอนน้ันมีลักษณะการรับแรงทางโครงสรางในรูปแบบคาน

อกไก

มีลักษณะเปนไมหนาตัดรูปขาวหลามตัด ขนาดประมาณ 4”x5”-4”x6” ยาวตลอดเรือน มีหนาท่ียึดกลอน ดั้งและจันทัน ตั้งอยูบนยอดสุดของหลังคา รูปทรงของอกไกท่ีตองเปนรูปขาวหลามตัดลักษณะหันมุมแหลมขึ้นดานบนน้ันก็เพ่ือใหรับกับทองปนลม ตามองศาของหนาจ่ัวเพ่ือใหไดความงามทางสถาปตยกรรม

เชิงกลอน

มีลักษณะเปนไมหนาตัดรูปส่ีเหล่ียมผืนผาวางตั้ง ขนาดประมาณ กวาง 1 1/2”-2” ยาว 6”-8” ว่ิงยาวรอบปลายหลังคาในแตละช้ันรองรับ “สะพานหนู” ซ่ึงสะพานหนูมีหนาท่ีหลักในการชวยปรับระดับกระเบ้ืองแผนสุดทายใหปลายไดรูปสวยงาม และเชิงกลอนยังชวยยึดปลายเตาหรือปลายจันทันไมใหแกวง พรอมกับถายนํ้าหนักไปท่ีเตาแลวถายลงสูเสาเรือน

Page 7: เรือนไทยภาคกลาง - Thai architecture

แปลาน มีลักษณะเปนไมหนาตัดรูปส่ีเหล่ียมผืนผา ขนาดประมาณ 2”x4” หรือ 2 1/2”x4 1/2” โดยขนาดของแปลานจะขึ้นอยูกับระยะหางของจันทัน วางตัวในแนวนอนและวางเสมอหลังจันทัน โดยแปลานน้ันมีลักษณะการรับแรงทางโครงสรางในรูปแบบคาน

แปหัวเสา มีลักษณะเปนไมหนาตัดรูปส่ีเหล่ียม ขนาดประมาณ 4”x4” หรือ 3 1/2”x4” วางทับบนขื่อดานขางหัวเทียน ว่ิงขนานไปตามดานยาวของตัวเรือน

จันทัน

มีลักษณะเปนไมหนาตัดรูปส่ีเหล่ียมผืนผา ขนาดประมาณ 2”x6” – 2”x8” แตงรูปตามแนวโคงของหลังคา โดยยึดติดกับใบดั้ง ขื่อ แปหัวเสา ในทุกชวงเสา และบากดานหลังจันทันเพ่ือรับแปลาน จันทันทําหนาท่ีรับนํ้าหนักจากแปลานถายลงสูใบดั้ง ขื่อ และแปหัวเสา

ขื่อ

มีลักษณะเปนไมหนาตัดรูปส่ีเหล่ียมผืนผา ขนาดประมาณ 2”x8” – 2”x10” วางนอนพาดระหวางหัวเสา โดยมีหัวเทียนของเสาเปนตัวยึด นอกจากรับแรงแลว ยังทําหนาท่ียึดหัวเสาและรับแรงดึงจากจันทันอีกดวย เพราะโครงหลังคาจ่ัวในเรือนไทยน้ัน จะเกิดแรงดึงในตัวขื่อจากแรงถีบของจันทัน

เตา

มีลักษณะเปนไมหนาตัดรูปส่ีเหล่ียม ขนาดประมาณ 2”x4” ยาวประมาณ 0.60-0.70 ม. ซ่ึงความยาวของเตาจะขึ้นอยูกับระยะยื่นของหลังคาช้ันปกนก ปลายดานหน่ึงเจาะทะลุเสา สวนปลายอีกดานหน่ึงเจาะยึดกับเชิงกลอน ในทุกชวงเสาทําหนาท่ีรับนํ้าหนักจากเชิงกลอนถายลงสูเสา และยึดปลายจันทันของหลังคาช้ันกันสาด