3
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปดเผยผลการวิจัยยืนยันประสิทธิภาพของยาทรูวาดในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวี เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา วันที12 กันยายน 2555, ไดมี การเปดเผยเกี่ยวกับผลการศึกษาวิจัยใหม จากทีม นักวิจัยผูเชี่ยวชาญทางดานเอชไอวี/เอดส ระหวางประเทศยืนยันถึง ประสิทธิภาพของยาทรูวาดซึ่งถือเปนยาตานไวรัสตัวแรกและ เปนยาตัวเดียว ที่ไดรับการอนุมัติจากสํานักงานคณะกรรมการอาหาร ละยาประเทศสหรัฐเพื่อใชในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีได รายงานวิจัยใหมนี้ นําทีมวิจัยโดยายแพทย โรเบิรต แกรนท จากสถาบัน แกลดสโตน และดอกเตอร ปเตอร แอนเดอรสัน จากมหาวิทยาลัยโคโลราโด โดยเปนการศึกษาหาคาความเขมขนของระดับยาตานไวรัสทรูวาดาที่สามา รถชวยปองกันการแพรเชื้อเอชไอวี/เอดสได ผลการศึกษานี้ชวยใหเรา เขาใจถึงศักยภาพของตัวยาทรูวาดาและชวยเปดโอกาสใหเราเขาใจ เกี่ยวกับแนวทางใหม ในการใชยาตานไวรัสในขนาดยาที่แตกตางกัน มากขึ้น ผลการศึกษาวิจัยใหม ซึ่งไดมีการตีพิมพเผยแพรผานทางออนไลน ใน วารสาร Science Translational Medicine เรื่องนี้ เปนงานวิจัยตอเนื่อง มาจากงานวิจัยทางคลินิกชื่อโครงการ iPrEX ที่มีนายแพทยแกรนท และคณะ เปนทีมวิจัย ซึ่งไดมีการเปดเผยผลการศึกษาไปเมื่อปลายพ.ศ 2553 วา การนําเอายาตานไวรัสเอชไอวี ที่มีชื่อวายาทรูวาดา ซึ่งปกติ เปนยาตานทีนํามาใช เพื่อรักษาผูที่ติดเชื้อเอชไอวี อยูนั้น สามารถนํามาใช กินลวงหนาเพื่อปองกันการติดเชื้อเอชไอวีในคนไมติดเชื้อแตมีโอกาสเสี่ยง ตอการไดรับเชื้อไวรัสเอชไอวีได แปญหาที่ยังคางคาอยูก็คือ หากมีการนํา ยาตานนีมาใชโดยทั่วไปจริง จะมีประสิทธิภาพในการปองกันการติดเชื้อ ไวรัสไดดีเพียงใดโดยเฉพาะปญหาเกี่ยวกับการที่จะตองกินยาอยาง เครงครัดตอเนื่องวันละเม็ดทุกวัน ายแพทย แกรนท ซึ่งเปนศาสตราจารย ประจําอยูทีสถาบัน แกลดสโตน สังกัดมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย เมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ได เปดเผยวา หลังจากเริ่มตนโครงการวิจัย iPrEx ก็ มีความวิตกกังวลวา ผลของยาตานทรูวาดาในการปองกั การติดเชื้อ เอชไอวี ยังมีความไมแนนอน เพื่อที่จะใหการปองกันการติดเชื้อไดผล แนนอน จําเปนที่จะตองรับประทานยาตานอยางตอเนื่องเปนประจําทุกวัน ตามที่กําหนด ผลจากการศึ กษาวิจัยเพิ่มเติมใหม นีชวยแสดงใหเห็นวา

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยผลการวิจัยยืนยันประสิทธิภาพของยาทรูวาดา

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Press Release "สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยผลการวิจัยยืนยันประสิทธิภาพของยาทรูวาดา ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี" 12 กันยายน 2555, สถาบันแกลดสโตน, มหาวิทยาลัยโคโลราโด และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Citation preview

Page 1: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยผลการวิจัยยืนยันประสิทธิภาพของยาทรูวาดา

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปดเผยผลการวิจัยยืนยันประสิทธิภาพของยาทรูวาดา

ในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวี

เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา วันที่ 12 กันยายน 2555, ไดมีการเปดเผยเกี่ยวกับผลการศึกษาวิจัยใหมจากทีม นักวิจัยผูเชี่ยวชาญทางดานเอชไอวี/เอดส ระหวางประเทศยืนยันถึง ประสิทธิภาพของยาทรูวาดา ซึ่งถือเปนยาตานไวรัสตัวแรกและ เปนยาตัวเดียว ที่ไดรับการอนุมัติจากสํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยาประเทศสหรัฐเพื่อใชในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีได รายงานวิจัยใหมนี้ นําทีมวิจัยโดยนายแพทยโรเบิรต แกรนท จากสถาบัน แกลดสโตน และดอกเตอรปเตอร แอนเดอรสัน จากมหาวิทยาลัยโคโลราโด โดยเปนการศึกษาหาคาความเขมขนของระดับยาตานไวรัสทรูวาดาที่สามารถชวยปองกันการแพรเชื้อเอชไอวี/เอดสได ผลการศึกษานี้ชวยใหเรา เขาใจถึงศักยภาพของตัวยาทรูวาดาและชวยเปดโอกาสใหเราเขาใจ เกี่ยวกับแนวทางใหม ๆ ในการใชยาตานไวรัสในขนาดยาที่แตกตางกัน มากขึ้น

ผลการศึกษาวิจัยใหมซึ่งไดมีการตีพิมพเผยแพรผานทางออนไลนในวารสาร Science Translational Medicine เรื่องนี้ เปนงานวิจัยตอเนื่อง มาจากงานวิจัยทางคลินิกชื่อโครงการ iPrEX ที่มีนายแพทยแกรนท และคณะ เปนทีมวิจัย ซึ่งไดมีการเปดเผยผลการศึกษาไปเมื่อปลายป พ.ศ 2553 วา การนําเอายาตานไวรัสเอชไอวทีี่มีชื่อวายาทรูวาดา ซึ่งปกติ เปนยาตานที่นํามาใชเพื่อรักษาผูที่ติดเชื้อเอชไอวีอยูนั้น สามารถนํามาใช กินลวงหนาเพื่อปองกันการติดเชื้อเอชไอวีในคนไมติดเชื้อแตมีโอกาสเสี่ยงตอการไดรับเชื้อไวรัสเอชไอวีได แตปญหาที่ยังคางคาอยูก็คือ หากมีการนํา ยาตานนี้มาใชโดยทั่วไปจริง จะมีประสิทธิภาพในการปองกันการติดเชื้อ ไวรัสไดดีเพียงใดโดยเฉพาะปญหาเกี่ยวกับการที่จะตองกินยาอยาง เครงครัดตอเนื่องวันละเม็ดทุกวัน

นายแพทยแกรนท ซึ่งเปนศาสตราจารย ประจําอยูที่สถาบัน แกลดสโตน สังกัดมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย เมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดเปดเผยวา “หลังจากเริ่มตนโครงการวิจัย iPrEx ก็มีความวิตกกังวลวา ผลของยาตานทรูวาดาในการปองกันการติดเชื้อ เอชไอวยีังมีความไมแนนอน เพื่อที่จะใหการปองกันการติดเชื้อไดผล แนนอน จําเปนที่จะตองรับประทานยาตานอยางตอเนื่องเปนประจําทุกวัน ตามที่กําหนด ผลจากการศกึษาวิจัยเพิ่มเติมใหมนี้ ชวยแสดงใหเห็นวา

Page 2: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยผลการวิจัยยืนยันประสิทธิภาพของยาทรูวาดา

2

ยาตานทรูวาดายังสามารถชวยปองกันการติดเชือ้ไวรัสได ถึงแมวาบุคคล นั้นจะไมไดกินยาตานเปนประจําทุกวันอยางสมบูรณก็ตาม”

การที่เราตองรับประทานยาติดตอกันทุกวันใหไดอยางสมบูรณ เปนเรื่องที่ปฏิบัติไดยากสําหรับคนทั่วไป แตการที่เราจะรูวาคนไขไดกินยา จริงทุกวันตามที่แพทยกําหนดหรือไม ก็เปนเรื่องที่ทาทายมากเชนกัน เปนไปไดที่คนไขทั่วไปมักจะรายงานเกี่ยวกับการกินยาสูงกวาที่เปนจริง เพราะเขาคิดวานั่นเปนสิ่งที่แพทยตองการที่จะไดยิน ดังนั้นทมีนักวิจัยจึง จําเปนทีจ่ะตองหาวิธกีารที่ดีกวาในการคํานวณประสิทธิภาพของยา ทรูวาดาในกรณีที่อาจมีการรับประทานยาตอเนื่องที่แตกตางกันออกไปดวย

ในการนี้ ทีมวิจัยจึงไดมีการวิจัยทดลองทางคลินิกโดยการให อาสาสมัครที่ไมติดเชื้อเอชไอวีจํานวน 24 รายไดรับประทานยาตาน ในจํานวนที่แตกตางกัน คือ สองวัน สี่วัน และเจ็ดวัน ตอสัปดาห การวัดระดับความเขมขนของยาตานในเลือดที่ไดมาจากอาสาสมัครเหลานี้ จะชวยสะทอนใหเราทราบถึงระดับความสม่ําเสมอในการรับประทานยาของคนไขได จากนั้นนักวิจัยจึงไดสรางรูปแบบจําลองเพื่อเปรียบเทียบ ระดับความเขมขนของยาตานในเลือดที่วัดไดจากอาสาสมัครในโครงการ วิจัย iPrEX เพื่อที่จะศึกษาวา อาสาสมัครในโครงการ iPrEX นั้นมีการรับประทานยาตานอยางสม่ําเสมอทุกวันหรือไม และผลของการกินยาตานตอเนื่องในระดับที่แตกตางกันออกไป จะยังชวยปองกันอาสาสมัครจากการติดเชื้อเอชไอวีไดมากนอยแคไหน

ศาสตราจารยนายแพทยสุวัฒน จริยาเลิศศักดิ์ ผูอํานวยการสถาบัน วิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม และเปนหัวหนารวม ในโครงการวิจัย iPrEX ของประเทศไทย ไดกลาววา “ถือเปนเรื่อง ที่นาสนใจอยางมาก เพราะจากผลการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบนี้ เราพบวา อาสาสมัครโครงการวิจัย iPrEx ที่แมจะไมไดรับประทานยาตาน อยางตอเนื่องทุกวันจริง ๆ ก็ยังใหผลในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีได โดยการวิเคราะหเปรียบเทียบพบวา หากมีการรับประทานยาทรูวาดา อยางนอย 4 วันตอสัปดาห (แทนที่จะเปน 7 เม็ดตอสัปดาหหรือกินทุกวัน) ยังสามารถชวยลดโอกาสการติดเชื้อเอชไอวีไดสูงถึง 96% และยังพบอีกวา หากระดับความเขมขนของยาตานในเลือดสูงเทากับการกินยา 7 วัน ตอสัปดาหหรือกินยาครบทุกวัน จะมีประสิทธิภาพในการลดโอกาส การติดเชื้อเอชไอวีไดสูงถึง 99% จากผลการศึกษาเปรียบเทียบนี้”

โดยปกติทั่วไป การประเมินความสม่ําเสมอหรือวินัยในการรับประทาน ยาตานเพื่อการปองกันตัวอยางเชน ยาทรูวาดา มักเปนการวัดเชิงคุณภาพ เชน “เพียงพอ” หรือ “สมบูรณ” แตการศึกษาวิจัยนี้ถือเปนการศึกษาวิจัย ครั้งแรกทีก่ําหนดวัตถุประสงควา ตองการศึกษาหาวิธวีัดเชิงปริมาณ

Page 3: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยผลการวิจัยยืนยันประสิทธิภาพของยาทรูวาดา

3

เพื่อประเมินระดับความเขมขนของยาในรางกาย เพื่อใหสามารถนําไปใช เปรียบเทียบกับระดับความเขมขนของยาตานที่มีประสทิธภิาพในการ ปองกันการติดเชื้อ ผลการศึกษานี้ชวยเปดประตูใหเราสามารถศึกษา หาวิธีการเพื่อประเมินจํานวนของขนาดยาที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งนาจะชวย ทําใหการใชยามีราคาลดลง มีความสะดวกมากขึ้น และสามารถ ปรับใหเขากับนิสัยของคนไดมากขึ้น

ดร.แอนเดอรสันกลาววา “สิ่งตอไปที่เราจะทําอยางเรงดวน ก็คือ การพัฒนาวิธีการและเครื่องมือที่ใชไดงาย แตมปีระสิทธิภาพที่จะชวย ใหแพทยสามารถประเมินความสม่ําเสมอในการรับประทานยาตานของ คนไข เพื่อจะไดรูวา ยาทรูวาดาจะชวยปองกันการติดเชื้อไดดีมากนอย แคไหน ในขณะที่ปจจุบันเรายังไมทราบผลของการศึกษาวิจัยที่กําลัง อยูระหวางการดําเนินการเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการปองกันการติดเชื้อ โดยการรับประทานยาตานในขนาดแตกตางกันออกไป ฉะนั้นขอแนะนํา ในการรับประทานยาตานไวรัสทรูวาดาเพื่อการปองกันการติดเชื้อ ในทางเวชปฏิบัติ ทีไ่ดรับการอนุมัติจากสํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา ของประเทศสหรัฐอเมริกา ก็คือ การตองรับประทานยาทรูวาดา หนึ่งเม็ดตอวัน ตอไป”

นพ. แกรนด ไดกลาววา “คนไขควรจะรับประทานยาหนึ่งเม็ดตอวัน เพื่อใหไดผลในการปองกันการติดเชื้อไดดีที่สุด และเราขอสนับสนุนให ประชาชนเลือกใชวิธกีารที่หลากหลายเพื่อปองกันการติดเชื้อเอชไอว ีรวมกันไปดวย เชน การใชถุงยางอนามัยเปนประจํา การรักษาดวย ยาตานไวรัสในคูนอนที่ติดเชื้อเอชไอวีใหเร็วขึ้น การสื่อสารที่ด ี รวมถึง วิธกีารขริบอวัยวะเพศชาย เปนตน เราหวังวาสิ่งที่เราคนพบในครั้งนี้ จะมีสวนชวยใหเรามีเครื่องมือในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งทายที่สุดจะไปชวยลดการแพรระบาดของเอชไอว/ีเอดส ในแตละประเทศทั่วโลกได”

การศึกษาวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันสุขภาพแหงชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา และทุนสนับสนุนรวมจากมูลนิธิบิลและมาลินดา เกทส

....................................................................................