125
การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดย นางสุจินตรา ผริตะโกมล สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ISBN 974 – 464– 982 – 8 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุร ี

โดย

นางสจุินตรา ผริตะโกมล

สารนพินธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสตูรปริญญาศกึษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศกึษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร ปการศึกษา 2548

ISBN 974 – 464– 982 – 8 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

Page 2: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

THE ENVIRONMENTAL MANAGEMENT IN

SUANKULARB WITTAYALAI NONTHABURI SCHOOL

By

Sujintra Pritagomole

A Master’s Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

Department of Educational Administration Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2005

ISBN 974 – 464– 982 – 8

Page 3: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหสารนิพนธเร่ือง “การจัดสิง่แวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี” เสนอโดย นางสุจินตรา ผริตะโกมล เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

…..……………………………………….

( รองศาสตราจารย ดร.วิสาข จัติวัตร ) รองอธกิารบดีฝายวิชาการ รักษาราชการแทน

คณบดีบัณฑิตวทิยาลยั วันที…่……. เดือน …………..พ.ศ. ………

ผูควบคุมสารนิพนธ

ผูชวยศาสตราจารย วาทีพ่ันตรี ดร.นพดล เจนอักษร

คณะกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ …………………………………… ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย ดร. ชวนชม ชินะตังกรู) …………./…………../…………… ……………………………………… กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย วาทีพ่นัตรี ดร.นพดล เจนอักษร) … ……../…………………/……… ……………………………………… กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ) …… ……../…………………/………

Page 4: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

K44252418: สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คําสําคัญ : การจัดส่ิงแวดลอม / โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

สุจินตรา ผริตะโกมล : การจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (THE ENVIRONMENTAL MANAGEMENT IN SUANKULARB WITTAYALAI NONTHABURI SCHOOL) อาจารยผูควบคุมสารนิพนธ: ผศ.วาที่ พ.ต. ดร.นพดล เจนอักษร .115 หนา ISBN 974-464-982-8

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ1. ความพอใจตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบ

วิทยาลัย นนทบุรี 2. ความคาดหวังตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 3. ความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี กลุมตัวอยาง คือ บุคลากรในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี ประกอบดวย ฝายบริหารและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ครูผูสอน คณะกรรมการสถานศึกษา กลุมสมาคมและมูลนิธิ ผูปกครองนักเรียน คณะกรรมการนักเรียน ลูกจางชั่วคราว ลูกจางประจําและ ผูประกอบการรานคา รวมทั้งส้ิน 218 คน โดยกําหนดขนาดตัวอยางจากตารางของเครจซี่และมอรแกน และสุมแบบแบงประเภท (stratified random sampling) เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือคาความถี่ ( f ) คารอยละ (%) คาเฉล่ีย (Χ ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) การทดสอบคาที (t - test) และการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis)

ผลการวิจัยพบวา 1. ความพอใจตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยภาพรวมอยูใน

ระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานวิชาการและดานการบริหารจัดการอยูในระดับมาก สวนดานกายภาพอยูในระดับปานกลาง

2. ความคาดหวังตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวาอยูในระดับมาก โดยเรียงคาดังนี้ ดานวิชาการ ดานการบริหารจัดการ และดานกายภาพ ตามลําดับ

3. ความพอใจและความคาดหวังตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ไมมีความแตกตางกันทั้งในภาพรวมและรายดาน

ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ลายมือชื่อนักศึกษา……………………………………. ลายมือชื่ออาจารยผูควบคุมสารนิพนธ …………………………………

Page 5: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

K44252418: MAJOR: EDUCATIONAL ADMINISTRATION KEY WORDS: THE ENVIRONMENTAL MANAGEMENT / SECONDARY SCHOOL

SUJINTRA PRITAGOMOLE: THE ENVIRONMENTAL MANAGEMENT IN SUANKULARB WITTAYALAI NONTHABURI SCHOOL. MASTER’SREPORT ADVISOR: ASST.PROF. MAJ.NOPADOL CHENAKSARA, RTAR, Ph.D., 115 pp. ISBN 974-464-982-8

The purposes of this research were to determine 1) the satisfaction of the environmental management in Sunankularb Wittayalai Nonthaburi School, 2) the expectation of the environmental management in Sunankularb Wittayalai Nonthaburi School, and 3) the difference of satisfaction and expectation of the environmental management in Sunankularb Wittayalai Nonthaburi School. The sample consisted of 218 personnel in Sunankularb Wittayalai Nonthaburi School, including the school director or the deputy director, the executive board, the teachers, the school committee, organization foundations, student council, temporary employees, regular employees, shop entrepreneurs, and parents. The sample groups were determined from Krejcie and Morgan’s Table and stratified random sampling. The instrument was a questionnaire concerning the environmental management in Sunankularb Wittayalai Nonthaburi School. The statistics used in data analysis were Frequency (f), Percentage (%), Mean (Χ ), and Standard Deviation (S.D.).

The findings revealed as follows: 1. The satisfaction of the environmental management in Sunankularb Wittayalai

Nonthaburi School as a whole was at a high level. The research found that the academic status and management was high level. The physical status was moderate level.

2. The expectation of the environmental management in Sunankularb Wittayalai Nonthaburi School as a whole was at a high level. The research found that the whole general status was high level. The academic status was highest; the second was management and physical status, respectively.

3. There was no significant different between the satisfactions and the expectation of the environmental management in Sunankularb Wittayalai Nonthaburi School.

Department of Educational Administration Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2005 Student’s signature …………………………….. Master’s Report Advisor’s signature …………………………………………..

Page 6: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดีเพราะไดรับความอนุเคราะหอยางดียิง่จาก ผูชวยศาสตราจารยวาทีพ่ันตรี ดร.นพดล เจนอักษร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ ในฐานะอาจารยที่ปรึกษาและควบคุมการทําสารนิพนธคร้ังนี้ รองศาสตราจารย ดร.ชวนชม ชินะตังกูร ประธานคณะกรรมการ ทีก่รุณาใหคําแนะนํา ชวยเหลือ แกไขปญหาและขอบกพรองตางๆและใหกาํลังใจ ผูวจิัยรูสึกซาบซึง้และขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ทีน่ี้

ขอขอบคุณคณาจารยสาขาวิชาการบรหิารการศึกษาทกุทานที่กรุณา อบรม ส่ังสอน ใหผูวิจัยมีความรูดานการบริหารการศึกษาและการวิจยั

ขอขอบคุณผูเชี่ยวชาญทกุทานที่ไดกรุณาตรวจแกไขปรับปรุงเครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี ้

ขอขอบคุณครู-อาจารยบคุลากรทุกทานของโรงเรยีนสวนกหุลาบวทิยาลยั นนทบุรี

Page 7: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………............ ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ……………………………………………………………………… จ กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………......… ฉ สารบัญตาราง………………………………………………………………………………. ญ บทที ่ 1 บทนาํ ……………………………………………………………………….........… 1 ความเปนมาและความสาํคญัของปญหา…………………………………… 2 ปญหา…………………………………………………………………..……………… 4 วัตถุประสงคของการวิจัย……………………………………………………. 6 ขอคําถามของการวิจยั………………………………………………………. 6 สมมติฐานการวิจัย…………………………………………………………… 7 ขอบขายทางทฤษฎีของการวิจัย………………………………….............… 7 ขอบเขตของการวิจัย…………………………………..…………….........…. 9 นิยามศัพทเฉพาะ………………………………………………………….…. 10 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ………………………………………………….…….........… 11 โรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั นนทบุรี...................................................... 11 การจัดสิ่งแวดลอม................................................................................... 13 ความหมายของสิ่งแวดลอม...................................................................... 13 องคประกอบของสิ่งแวดลอมในโรงเรียน.................................................... 17 การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน.................................................................. 18 ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ.......................................................................... 18 ส่ิงแวดลอมทางวชิาการ........................................................................... 23 ส่ิงแวดลอมทางการบริหารจัดการ............................................................. 26 แนวปฏิบัติของโรงเรียนในการจัดสิ่งแวดลอม............................................. 30 งานวิจยัที่เกี่ยวของ…………………………………………………………... 33 สรุป…………………………………………………………………………... 43

Page 8: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

บทที ่ หนา 3 การดําเนินการวิจยั…………………………………………………………………...... 44 ข้ันตอนการดําเนนิการวิจัย…………………………………………….…….. 45 ระเบียบวิธกีารวิจัย…………………………………………………………… 45 แผนแบบของการวิจยั………………………………………………….…….. 45 ประชากร……………………………………………………………….……. 45 กลุมตัวอยาง........................................................................................... 46 ตัวแปรที่ศึกษา……………………………………………………………….. 47 เครื่องมือที่ใชการวิจยั ……………………………………………………...... 47 การสรางเครื่องมือ………………………………………………….………… 48 การเก็บรวบรวมขอมูล.............................................................................. 49 การวิเคราะหขอมูล ………………………………………………………….. 49 สรุป…………………………………………………………………………... 50 4 การวิเคราะหขอมูล………………………………………………….………………… 52 ตอนที่ 1 การวเิคราะหสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม…………. 52 ตอนที่ 2 การวิเคราะหความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียน

สวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี......................................................

54 ตอนที่ 3 การวิเคราะหความคาดหวงัตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรยีน

สวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี.......................................................

59 ตอนที่ 4 การวเิคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวัง

ตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลยั นนทบุรี....

63 ตอนที่ 5 ขอเสนอแนะการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย

นนทบุรี.....................................................................................

72 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และขอเสนอแนะ.....................…………....……… 73 สรุปผลการวจิัย.......................................................................………… 73 การอภิปรายผล……………………………………………………….…… 75

Page 9: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

บทที ่ หนา 5 ขอเสนอแนะของการวิจัย 80

ขอเสนอแนะทัว่ไป……………………………………………………………….. 80 ขอเสนอแนะสาํหรับการวิจัย….…………………………………………………. 81 บรรณานุกรม…………………………………………………………….. ………….……… 82 ภาคผนวก................................................................................………………………… 88 ภาคผนวก ก เอกสารหนงัสือขอความอนุเคราะหตรวจเครื่องมือวิจยั……….……. 89 ภาคผนวก ข เอกสารหนงัสือขอทดลองเครื่องมือ…………………………………. 92 ภาคผนวก ค เอกสารหนงัสือขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล……… 94 ภาคผนวก ง แบบสอบถามเพือ่การวิจัย………………………………………….. 96 ภาคผนวก จ การหาคาความเชือ่มั่นของแบบทดสอบ……………………………. 110 ประวัติผูวิจัย..................................................................................................….……... 115

Page 10: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 1 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง…………………………………… 46 2 คาจํานวนรอยละ สถานภาพสวนตัวผูตอบแบบสอบถาม………………….. 53 3 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาระดับของความพอใจ………………… 54 4 ระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ……………………… 55 5 ระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวชิาการ…............................... 56 6 ระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางการบริหารจัดการ.................... 57 7 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวงัตอการ

จัดสิ่งแวดลอมโดยภาพรวม……………………………………………….

59 8 ระดับความคาดหวังตอการจดัสิ่งแวดลอมทางกายภาพ…………………… 60 9 ระดับความคาดหวังตอการจดัสิ่งแวดลอมทางวิชาการ…………………… 61 10 ระดับความคาดหวังตอการจดัสิ่งแวดลอมทางการบรหิารจัดการ………… 62 11 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวงัตอการ

จัดสิ่งแวดลอมแตละดานและภาพรวม.....................................................

64 12 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวงัตอการ

จัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ จาํแนกแตละขอ............................................

65 13 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวงัตอการ

จัดสิ่งแวดลอมทางวชิาการ จําแนกแตละขอ.............................................

67 14 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวงัตอการ

จัดสิ่งแวดลอมทางบริหารจดัการ จําแนกแตละขอ.....................................

69 ญ

Page 11: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

1

บทที่ 1 บทนํา

การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนใหมีคุณภาพ เปนเรื่องที่มีความจาํเปนอยางยิง่ โดย

จะตองเปนการศึกษาทีท่ําใหศักยภาพทีม่อียูในตัวคนไดรับการพัฒนาอยางเตม็ที ่ เปนคนที่รูจักคดิวิเคราะห รูจกัแกปญหา มคีวามคิดริเร่ิมสรางสรรค รูจกัการเรียนรูดวยตนเอง สามารถปรับตัวใหทันกับการเปลีย่นแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเรว็ มีจริยธรรม คุณธรรม รูจักพึง่ตนเอง และสามารถดํารงชีวิตอยูในสงัคมไดอยางเปนสุข จากความพยายามในการพฒันาคุณภาพการศึกษาตลอดระยะเวลาที่ผานมา จึงมีการออกกฎหมายวาดวยการศึกษาของชาติ สําหรับใชเปนหลักในการปฏิรูปการศึกษา นอกจากนี้ยังมกีารปฏิรูปหลกัสูตร กระบวนการเรียนการสอน และปฏิรูปการเรียนรู ภายใตพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 โดยใหการศึกษาเปนตวัจกัรสาํคัญในการแกไขปญหาทีเ่กิดขึ้น และถือวาเปนปญหาวิกฤตซึง่ทุกฝายทีเ่กีย่วของ จําเปนตองรวมมือกนัปองกนัและแกไขปญหาตาง ๆ โดยรบีดวนและตองเปนการแกไขที่ใหผลยัง่ยนื1 ดังนั้น การใหความสาํคัญกบัการศึกษาเพือ่การพัฒนาชาติ นบัเปนเรื่องเรงดวนที่กระทรวงศึกษาธิการตองพิจารณา เนื่องจากภาวการณปจจุบัน ประเทศชาติกาํลังเกิดปญหาวิกฤตทางศีลธรรม และวิกฤตการณทางสังคม (social crisis) วาประกอบดวย ความยากจนและชองวางทางเศรษฐกิจที่กวางเกนิ ความแตกสลายทางสงัคม (social disintegration) การทําลายส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ และวิกฤตการณทางวฒันธรรม อันนาํไปสูการเกิดปญหาทางสังคมตางๆ เชน อาชญากรรม โสเภณเีด็ก การละเมิดสทิธิเด็กและสตรี โรคเอดส ยาเสพติด รวมเปนความเจ็บปวยทางสังคม (social ill) นอกจากนัน้ ขาวสังคมที่พบเหน็กนัอยูเปนประจาํ มักเปนขาวที่เกี่ยวกับความประพฤตทิี่ไมเหมาะสมของวัยรุน เชน การมีเพศสัมพนัธที่ไมเหมาะสม ความนิยมทีม่ีตอดาราวัยรุนที่เปนลกูครึง่ การมัว่สมุในสถานเริงรมย การพนนัและการถายภาพอนาจาร เปนตน ทาํใหเปนที่วติกวา ขณะนี้วยัรุนซึ่งอยูในวัยแหงการศึกษาหาความรูมีความทะเยอทะยานในการศึกษา

1 กรมวิชาการ, รายงานผลการวิจัย การศึกษา วัฒนธรรมสภาพแวดลอมและคานยิมของสถานศึกษาทีม่ีผลตอการเรียนรู ความดี และความสุขของผูเรียน (กรุงเทพฯ : โรงพิมพเจริญผล, 2545), 1-2.

Page 12: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

2

หรือแรงจูงใจในการศึกษามากนอยเพยีงใด มีวิสัยทัศนอยางไรในอนาคต และปจจัยใดที่มี

อิทธิพลทําใหคานิยมของวยัรุนเปลี่ยนไป2 กระทรวงศึกษาธกิาร มี ความเชื่อ ประการหนึง่วา วัฒนธรรม และสภาพแวดลอมของสถานศึกษาเปนปจจัยหนึ่งทีห่ลอหลอมความดีงามและการเรียนรูใหกับผูเรียน นอกจากนี้การปลูก ฝงคานิยมทีถ่กูตองและเหมาะสม เปนความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเรงดําเนนิการ ดังนั้น สถานศกึษาจงึมีความสําคญัในการสรางเกราะคุมกนัใหกับเด็กและเยาวชนที่จะเตบิโตขึ้นเปนพลเมืองที่มีคณุภาพและไมกอปญหาสงัคม เพราะสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมทีด่ีในสถานศึกษายอมมีอิทธิผลตอความสุข ความดงีามและการเรียนรูที่จะเกิดขึ้นในตวัผูเรียน ตัวบงชี้สําคัญทีท่ําใหมองเหน็สภาพความสําเร็จของการจัดการศึกษาและคณุภาพของผูเรียน คือ สภาพความสาํเร็จที่ตัวผูเรียน สภาพความพรอมของการดําเนินงาน และสภาพความพรอมของปจจัยตาง ๆ ซึง่สิง่เหลานี้ลวนเกดิจากลักษณะของวัฒนธรรมและสภาพแวดลอมของสถานศกึษาที่จะชี้ใหเห็นถึงคุณภาพของคนวาหลอหลอมกันมาอยางไร3

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การเรียนรูและคุณลักษณะของมนษุยนั้นจะแตกตางกนัไปตามสภาพแวดลอมและ

ประสบการณที่แตละคนไดรับรูมา ประกอบกับการใชสติปญญาที่แตละคนมีอยูพินจิพิเคราะหและตัดสินใจเลือกรับเร่ืองราวที่ตองการและกาํหนดเปนคุณลกัษณะเฉพาะตนขึ้น ดงันัน้ องคประกอบสําคัญที่มีอิทธพิลตอการเรียนรูและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนก็คือ สภาพแวดลอมทางการเรียน ซึ่งหมายถึง “สภาวะใด ๆ ทีม่ีผลตอการเรียนรูของมนุษยทั้งโดยตรงและทางออมทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม” สภาพแวดลอมทีเ่ปนรูปธรรม คือ สภาพแวดลอมทางกาย ไดแก สภาพตาง ๆ ที่มนุษยจัดทําขึน้มา เชน อาคาร สถานที่ ภูมิประเทศ เปนตน ส่ิงเหลานี้สามารถมองเหน็และจับตองได สวนสภาพแวดลอมที่เปนนามธรรม คือ ระบบคุณคาทีย่ึดถือปฏิบัติเกี่ยวของกับ

2 ประเวศ วะสี, อางถงึในกรมวิชาการ, รายงานผลการวิจัยการศึกษา วัฒนธรรม

สภาพแวดลอมและคานยิมของสถานศึกษาทีม่ีผลตอการเรียนรู ความดีและความสุขของผูเรียน, 2.

3 เร่ืองเดียวกนั.

Page 13: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

3

กลุม สังคม ความรู ฯลฯ ทั้งที่เปนของตนเองและของคนอื่นๆ ที่มีความสมัพนัธเกีย่วของกับ

ตน ซึง่เปนสิง่ที่มองไมเหน็และจับตองไมได แตสงผลตอจิตใจ อารมณ ความรูสึก และจินตนาการ4 โรงเรียนเปนสถาบันสาํคัญตอการเรียนรูและการสรางคุณลักษณะของมนษุย เปน

สถานที่อบรมส่ังสอนใหวิชาความรู ความคิด ทักษะ และเจตคติที่จะนําไปสูการดํารงชีวิต รวมทัง้ พัฒนาสังคมใหเกิดความสุขและเจริญกาวหนายิง่ๆขึ้นไป สภาพแวดลอมในโรงเรียนเปน การผสมผสานกนัระหวางหลักสูตรเนื้อหาสาระของวิชาที่เรียน ครู กฎ ระเบียบ ขอบังคับ การปกครองและเพื่อนรวมชัน้เรียนรวมโรงเรียน ซึง่สิ่งเหลานี้เปนองคประกอบที่มีอิทธิพลตอผูเรียน ทั้งในดานการพัฒนาความคดิ การสรางเสริมประสบการณ การปรับตัวและบุคลิกภาพ ใหสอดคลองกับสภาพและการดํารงชวีิตในสังคม ดังนัน้ การจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนจงึเปนเรื่องที่สําคัญ และเปนองคประกอบที่มีอิทธพิลกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและคุณลักษณะของผูเรียนไดเปนอยางด ี การจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนใหถกูตองเหมาะสมเปนสิง่จาํเปนในการจดัการศึกษา เพราะทาํใหโรงเรียนเปนสถานที่ทีน่าไปเรียนไปเลนและไปทํางาน นํามาซึ่งความรูและประสบการณตางๆการดําเนินการจัดสภาพแวดลอมเปนหนาที่โดยตรงของโรงเรียน ตองกาํหนดใหเอื้อตอการพฒันาผูเรียนใหมีคุณลักษณะตรงกบัความตองการของสงัคม ซึง่ตลอดระยะเวลาที่อยูในโรงเรียนสภาพแวดลอมตางๆ ยอมมีผลกระทบตอสุขภาพกาย สุขภาพจิตของผูเรียน รวมทั้งมีอิทธิพลตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูของผูสอน5 ดังนัน้การดําเนนิงานจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนเปนหนาที่โดยตรงของโรงเรียน เพราะโรงเรียนเปนที่รวมของผูเรียนซึง่มาจากหลายชุมชนมารวมกนั จงึเหมาะสมสําหรับการจัดการศึกษาอบรมและจัดสภาพแวดลอมของโรงเรียนใหมีบรรยากาศที่เอื้อตอการพัฒนาผูเรียน ทัง้นี้เพราะผูเรียนจํานวนมากเหลานัน้ตองใชชีวิตประจําวนัอยูในโรงเรียนอยางนอยวันละ 6-7 ชั่วโมงเปนระยะเวลา 6-12 ป ซึ่งตลอดเวลาที่อยูในโรงเรียน สภาพแวดลอมตางๆของโรงเรียนยอมผลกระทบ

4 อรพันธุ ประสิทธิรัตน, รายงานการวิจัย : การศึกษาสภาพแวดลอมทางการเรียนของ

นิสิตคณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ บางเขน, 2533), บทคัดยอ.

5 กรมวิชาการ,“แนวคิดเกีย่วกับวัฒนธรรมสถานศกึษา สภาพแวดลอมของสถานศึกษา และคานิยม,”เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา สรางเครื่องมือวิจัยเกี่ยวกบัการศกึษาวัฒนธรรม สภาพแวดลอม และคานิยมที่เอื้อตอการเรียนรู ความดีและความสขุของผูเรียน ระหวางวันที ่ 23-26 พฤษภาคม 2544 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร พระนครศรีอยุธยา, 2544. (อัดสําเนา)

Page 14: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

4

ตอสุขภาพ ทั้งรางกายและจิตใจของผูเรียน รวมทั้งมีอิทธิพลตอการเรียนการสอนดวย ดังนั้น

การจัดการศึกษาของโรงเรียนจึงเปนกระบวนการที่ เกี่ยวของกันระหวางผู เรียนกับการจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนใหผูเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ6

ปญหา

จากการดําเนินงานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจําปการศึกษา 2547 ของ

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ซึ่งไดกําหนดนโยบายการบริหารและการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตรของการจัดการศึกษา โดยสงผลใหเกิดคุณภาพดานตาง ๆ ดังนี้

1. ดานผูเรียน นักเรียนไดรับการพัฒนาความสามารถในดานตาง ๆ และเปนผูมีระเบียบวนิัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีระบบการดูแลชวยเหลือและยงัดจัดใหมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการเรยีนรูจากแหลงเรียนรูทัง้ในและนอกสถานศึกษา มกีารฝกทักษะตามความสามารถของนักเรียนและมีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง ทกุกลุมสาระการเรียนรูทาํใหผูเรียนเปนคนดี คนเกง และอยูในสังคมไดอยางเปนสุข

2. ดานกระบวนการ สถานศึกษาใชระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาน ศึกษาและภายนอกสถานศึกษา มีการบริหารจัดการเพื่อใหเกิดประสิทธิผลตอผูเรียน มีการจัดทําหลักสูตรครบทุกกลุมสาระการเรียนรู ไดรับการสนับสนุนจากคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้พืน้ฐาน ตลอดจนการสรางความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชนใกลเคียง เพื่อเพิ่มระดับคุณภาพการศึกษาจนเปนที่ยอมรับของชุมชนและผูเกี่ยวของ

3. ดานการเรียนรู ไดสงเสริมและพัฒนาความพรอมดานปจจัยการศึกษาของครู และบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษาสนบัสนุนการจัดการเรียนการสอนดวยเทคโนโลยีคอมพวิเตอรทุกกลุมสาระการเรียนรู มีหองปฏิบัติการ หองมัลติมเีดีย หองศูนยวิชาทุกกลุมสาระการเรียนรู

4. ดานงบประมาณ ไดสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูที่เอื้อตอระบบการบริหาร สินทรัพยใหเกิดประสิทธิภาพ โดยมีมาตรการลดคาสาธารณูปโภค มีการใชวัสดุ อุปกรณรวมกันอยางคุมคา

6 กรมวิชาการ, รายงานผลการวิจัย การศึกษาวฒันธรรม สภาพแวดลอมและคานยิม

ของสถานศึกษาทีม่ีผลตอการเรียนรู ความดีและความสุขของผูเรียน, 13.

Page 15: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

5

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาพบวา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ยัง

มีปญหาและขอจํากัดหลายประการที่ยังตองแกไข ปรับปรุงและพัฒนาใหดียิ่งข้ึน ผลการประเมิน ดานผูเรียนพบวามีนักเรียนที่ไมผานเกณฑการประเมินผล ถึงรอยละ 6.65 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่โรงเรียนกําหนดไวคือรอยละ 5 นอกจากนี้นักเรียนสวนหนึ่งยังไมสนใจเขารวมกิจกรรม ไมสนใจการเรียน สําหรับดานกระบวนการที่เกี่ยวของกับการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอม พบวาโรงเรียนสามารถจัดไดในระดับดีมากสองดาน คือ การจัดสภาพแวดลอมที่สะอาด เปนระเบียบ ปลอดภัย และการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกใหครูและบุคลากรอยางเพียงพอและจัดสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการเรียนรู สวนอีกสองดานสามารถจัดไดในระดับดี คือ การจัดระบบสาธารณูปโภคที่ดี จัดระบบใหสถานศึกษาปลอดสิ่งเสพติดและอบายมุข นอกจากนี้ในดานปจจัยเกี่ยวกบัอาคารสถานที ่พบวา จํานวนหองเรียนไมเพียงพอ ในขณะที่หองพิเศษตางๆ มีจํานวนมากเกินเกณฑ แมวาโรงเรียนจะไดจัดแหลงเรียนรู เพิ่มเติมก็ยังไมสามารถลดปญหาที่เกิดจากขอจํากัดของจํานวนหองเรียนได การหมุนเวียนสับเปล่ียนหองเรียนทําใหเกิดความลาชา ไมสะดวก เวลาเรียนไมพอ สงผลกระทบตอการเรียนการสอนและความมีวินัยของนักเรียน

จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศกึษา จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุภาพการศึกษา ทําใหเกดิจุดที่ควรพัฒนาซึง่เปนตัวชีว้ัดตัวหนึ่ง ทีผู่วิจัยไดนาํมาเปนปญหาในการวิจยั ซึง่ประกอบดวยดานตาง ๆ ดังนี ้ 1.ผลการประเมินดานผูเรียน ผูเรียนบางสวนควรไดรับการพัฒนาใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคเพิ่มข้ึนในดานความรับผิดชอบและความประหยัด การคิดวิเคราะห ไดดวยตนเอง 2. ผลการประเมินดานครู ครูผูสอนบางสวนควรไดรับการพัฒนาเกี่ยวกับการนําผลการประเมินมาพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน 3. ผลการประเมินดานผูบริหาร สถานศึกษาควรพัฒนาในดานการนิเทศติดตาม ประเมินผลเปรียบเทียบกับเปาหมายอยางตอเนื่อง ดานผูปกครองและชุมชนเขามีบทบาทในการพัฒนาการศึกษาใหมากขึ้น ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติและความตองการของผูเรียน กระตุนใหผูเรียนรูจักคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดแกปญหาแลตัดสินใจ กระตุนใหผูเรียนรูจักศึกษาหาความรูแสวงหาคําตอบและสรางองคความรูดวยตนเองและการประเมินพัฒนาการของผูเรียนดวยวิธีหลากหลายและตอเนื่องใหมากขึ้น7

7กระทรวงศึกษาธิการ, รายงานการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ประจําป2547 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี .2547, 106.

Page 16: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

6

จากปญหาดังกลาว ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาความพอใจและความคาดหวังของครูตอ

การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เพราะตระหนักวาสิ่งแวดลอมทั้งสามดาน คือ ดานกายภาพ ดานวิชาการ และการบริหารจัดการ มีผลโดยตรงตอการปฏิบัติงานของครู อาจารย และการเรียนรูของนักเรียน ผลการวิจัยที่ไดจะเปนแนวทางใหผูบริหารและคณะทํางานนําไปปรับปรุง พัฒนาการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ใหดียิ่งๆ ข้ึนไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

เพื่อใหการวิจยัครั้งนี้สอดคลองกับความเปนมาและความสําคัญของปญหาดังกลาวมาแลว ผูวิจัยจึงกําหนดวัตถุประสงคของการวิจยัครั้งนี ้ไวดังนี ้

1.เพื่อทราบความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรยีนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี 2.เพื่อทราบความคาดหวงัตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรยีนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี

3. เพื่อทราบความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวงัตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี

ขอคําถามของการวิจัย

เพื่อเปนแนวทางในการแสวงหาคําตอบทีส่อดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย ผูวิจัยจึงกําหนดขอคําถามของการวิจัยครั้งนี้ไวดังนี ้

1.ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลยันนทบุรี อยูในระดับใด

2.ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั นนทบุรี อยูในระดับใด

3.ความพอใจและความคาดหวังตอการจดัสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี แตกตางกันหรือไม

Page 17: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

7

สมมุติฐานของการวิจัย 1.ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลยันนทบุรี

อยูในระดับปานกลาง 2.ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยันนทบุรี

อยูในระดับปานกลาง 3.ความพอใจและความคาดหวังตอการจดัสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบ

วิทยาลัย นนทบุรี ไมมีความแตกตางกนั ขอบขายทางทฤษฏขีองการวิจยั

สถานศึกษาเปนสถาบันหลักในการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งเปนการศึกษาภาคบังคับที่มีลักษณะการจัดการเชิงระบบ(system approach)ตามแนวคิดของแคทซและคาหน(Katz and Kahn)ที่กลาววาองคกรที่เปนระบบเปดจะประกอบดวยระบบยอยที่มีความสัมพันธกับส่ิงแวดลอมภายนอก ประกอบดวย 1)ปจจัยนําเขา(input)ไดแกบุคลากร การจัดการ งบประมาณ วัสดุอุปกรณ 2)กระบวนการ(process)ไดแกกระบวนการบริหาร กระบวนการจัดการเรียนการสอน กระบวนการนิเทศ 3)ผลผลิต(out put)ไดแกมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษา องคประกอบเหลานี้มีผลตอคุณภาพในสถานศึกษาทั้งทางตรงและทางออม ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิเคราะหกระบวนการบริหารดานการจัดสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ดังแผนภูมที่ 1

Page 18: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

8

ขอบขายทางทฤษฎขีองการวิจัย แผนภูมิที่ 1 ขอบขายทางทฤษฏขีองการวิจัย ที่มา : Daniel Katz and Robert L.Kahn, The Social Psychology of Organization (New York: John Wiley & Sons, 1978), 3-4.

: กรมสามัญศกึษา, การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน (กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2532), 9.

สภาพแวดลอม(Context) - ดานเศรษฐกิจ

- ดานสังคม - ดานการเมือง

กระบวนการ (Process)

-การเรียนการสอน -การนิเทศติดตาม

ปจจัยนาํเขา (Input)

- บุคลากร

- การจัดการ -วัสดุอุปกรณ - งบประมาณ

ผลผลิต (Output)

เพื่อใหผูเรียน เปน คนดี เกง และมี

ความสุข

ขอมูลยอนกลับ (Feed back)

- การบริหาร การจัดสิ่งแวดลอม ที่ดีในโรงเรียน

Page 19: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

9

ขอบเขตของการวิจัย จากขอบขายทางทฤษฏีของการวิจัยดังกลาว ผูวิจัยจึงไดกําหนดขอบเขตของการวิจัย

ไวดังนี้ คือ เพื่อทราบความพึงพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ซึ่งไดนําแนวคิดในการบริหารเชิงระบบมาศึกษาโดยยึดรายละเอียดแตละองคประกอบการจัดสิ่งแวดลอมตามแนวคิดของฟอกซ(Fox) วาโรงเรียนใดมีบรรยากาศที่ดีหรือไมนั้นสามารถดูไดจากองคประกอบ 8 ประการคือ 1) การยอมรับนับถือ(respect) 2) ความไววางใจ (trust) 3) การมีขวัญสูง (high morale) 4) การมีโอกาสในการทํางาน(opportunity for input) 5)ความเติบโตทางวิชาการอยางตอเนื่อง(continuous academic and school growth) 6) การผนึกกําลัง (cohesiveness) 7) การปรับปรุงโรงเรียน (school renewal ) และ 8)ความเอื้ออาทรตอกัน (caring) และแนวคิด ฮอย และคณะ (Hoy and others)มีความเห็นวาองคประกอบบรรยากาศโรงเรียนนั้น ประกอบดวยพฤติกรรมของผูบริหารและพฤติกรรมของครู โดยพฤติกรรมของผูบริหารมีสามมิติไดแก1.1)การสนับสนุน(supportive) 1.2)การควบคุม(directive) และ1.3)ความเครงครัด(restrictive) สวนพฤติกรรมของครูมีสามมิติเชนกันไดแก 2.1) ความเปนมิตร(collegial) 2.2) ความสนิทสนม (intimate ) และ 2.3)การไมใหความรวมมือ(disengaged) ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยกําหนดขอบเขตการวิจัยตามแนวคิดของกรมสามัญศึกษา ซึ่งมี 3 องคประกอบ คือ 1) ส่ิงแวดลอมทางดานกายภาพ ไดแก สภาพแวดลอมที่เปนวัตถุทั้งหลาย เชน บริเวณโรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ วัสดุ ครุภัณฑ เปนตน 2) ส่ิงแวดลอมทางวิชาการไดแก การจัดบรรยากาศทางการเรียนการสอนทั้งในและนอกหองเรียนตลอดจนการจัดบริการเพื่อสงเสริมสนับสนุนทางวิชาการตางๆ อยางมีชีวิตชีวา 3) ส่ิงแวดลอมทางการบริหาร ไดแก การดําเนินการตางๆ ภายในโรงเรียนใหปฏิบัติงานสําเร็จลงไดดวยความรวมมือรวมใจของบุคลากร รายละเอียดดังขอบเขตของการวิจัยตามแผนภูมิที่ 2

Page 20: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

10

แผนภูมิที่ 2 ขอบเขตของการวิจัย ที่มา : กรมสามัญศึกษา, การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน (กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2532), 9. นิยามศัพทเฉพาะ

เพื่อใหเขาใจตรงกันเกี่ยวกับการสื่อความหมายของคาํที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยจงึกําหนดนิยามศัพทเฉพาะไวดงันี ้

1.การจัดสิ่งแวดลอม หมายถึง การดําเนนิการตางๆเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมในโรงเรียนเพื่อความเปนระบบ ระเบียบ สะดวกในการปฏิบัติงานใหเกดิประสิทธิภาพ มีตวับงชี ้ 3 องคประกอบ คือ ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ และส่ิงแวดลอมทางการบริหารการจัดการ

2. โรงเรียนสวนกหุลาบวทิยาลัย นนทบรีุ หมายถงึ สถานศกึษาของรัฐที่จัดการเรียนการสอนระดับ ชวงชัน้ที ่ 3 และ 4 สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 ตามพระราชบัญญตัิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542

การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน 1. ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ 2. ส่ิงแวดลอมทางวชิาการ 3. ส่ิงแวดลอมทางการบริหารจัดการ

Page 21: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

11

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

การวิจัยครัง้นี้ผูวิจยัไดศึกษาคนควา จากเอกสาร ทฤษฏีและงานวิจยัที่เกี่ยวของกับ

การจัดสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา เพื่อนาํมาประกอบงานวจิัยที่เกี่ยวการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั นนทบุรี ซึง่ประกอบดวยสาระสําคัญดังตอไปนี้ 1) โรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลัย นนทบุรี 2) การจัดสิ่งแวดลอม 3) งานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึง่มีรายละเอียดดังนี ้

โรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลัย นนทบรุ ี

โรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั นนทบุรี เปนโรงเรยีนมัธยมศึกษาขนาดใหญพเิศษ

ประเภทสหศึกษา สังกัดสาํนกังานเขตพืน้ทีก่ารศึกษานนทบุรี เขต 2 ตั้งอยูที ่51/4 หมูที ่5 ตําบลปากเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบรีุ ไดประกาศตั้งขึ้น ณ วนัที ่30 มีนาคม พ.ศ. 2521 โดยไดรับการบริจาคที่ดินจากนายผาสกุ มณีจักร และนางเงก็ มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ด (มีบุตรชายคนเดยีวเปนศิษยเกาโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลัย คือ พล.อ.ท.นายแพทยโกศล มณีจักร) ไดแสดงเจตจํานงขอใหเปนโรงเรียนในเครือสวนกหุลาบวิทยาลัย

เนื้อที่ตัง้โรงเรียนรวมทั้งสิน้จํานวน 25 ไร 3 งาน 10 ตารางวา ตัง้อยูใกลกับถนนติวานนท ตอมาไดรับอนุญาตจากนายประพัทธ แกนรัตนะ เจาของที่ดนิดานหนาโรงเรียนติดกับถนนติวานนทใหที่ดนิเพื่อสรางถนนเขาออกโรงเรียน เนื่องจากบริเวณโรงเรียนไมติดถนน ขนาดของถนนกวาง 12 เมตร ยาว 343 เมตร และไดทําหนงัสือมอบไวตอกรมสามัญศึกษา

ผูรวมกอต้ังโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลยั นนทบุรี ไดแก นายสุวรรณ จันทรสม ขณะ ดํารงตําแหนงผูอํานวยการกองการมธัยมศกึษา และนายกวาง รอบคอบ ขณะดํารงตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนปากเกร็ด เปนผูประสานงาน กระทรวงศกึษาธิการไดประกาศตั้งโรงเรียนเมือ่วันที ่ 30 มนีาคม พ.ศ. 2521 โดยใหชื่อวา “โรงเรียนสวนกหุลาบวทิยาลยั 2 (ผาสุก มณีจักร)” และแตงตั้งใหนายกมล ธิโสภา ผูอํานวยการโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย เปนผูรักษาการในตําแหนงอาจารยใหญอีกตําแหนงหนึ่ง โรงเรียนเปดรับนักเรียนชัน้มธัยมศึกษา(ม.ศ.1) และมัธยมศึกษา(ม.1)รวม 12 หอง มีนกัเรียน 527 คน ครู-อาจารย 22 คน ในขณะนั้นยังไมมีอาคาร

Page 22: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

12

เรียน จึงไดแยกฝากนักเรยีนชายไวที่โรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลยั และฝากนกัเรียนหญิงไวที่โรงเรียนสตรีนนทบุรี

ปการศึกษา 2522 กรมสามัญศึกษาไดแตงตั้งนายประยูร ธีระพงศ ผูอํานวยการโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยัใหรักษาการในตําแหนงอาจารยใหญโรงเรียนสวนกหุลาบวทิยาลยั 2 (ผาสุก มณีจักร) อีกตําแหนงหนึ่ง ในปนี้โรงเรียนไดรับงบประมาณกอสรางอาคารเรียนชั่วคราว 25 หองเรียน และสรางอาคารเรียนถาวรเปนอาคารเรียน 4 ชัน้ จํานวน 16 หองเรยีน มนีักเรียน 617 คน คร-ูอาจารย 27 คน

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2522 กระทรวงศึกษาธกิาร ไดประกาศเปลีย่นชื่อโรงเรียนจาก โรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั 2 (ผาสกุ มณีจักร) เปนโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลยั นนทบุรี1 วิสัยทัศน พนัธกิจ และเปาประสงคโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลัย นนทบรุ ี วิสัยทัศน

เปนสังคมแหงการเรียนรูที่ใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญญาทองถิ่น มาใชจัด การศึกษาใหมคีุณภาพสูมาตรฐานระดับสากล เนนผลลัพธทีเ่กิดกบันักเรียนดานทักษะชีวิตและความเปนผูนาํของสังคม

พันธกจิ

1. พัฒนาหลกัสูตรสถานศกึษาและการเรียนการสอนทีเ่นนผูเรียนเปนสําคัญที่สุด 2. เรงรัดพัฒนาครูตามมาตรฐานวิชาชพี 3. พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการที่ใชแนวคิดการบริหารโรงเรยีน 4. เรงรัดและสงเสริมระบบการประกนัคุณภาพการศึกษาใหเปนที่นาเชื่อถือของสังคม

เปาประสงค เพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตลอดเวลาทีอ่ยูในโรงเรียน มีผลการเรียนและคุณลักษณะ

เปนทีพ่งึพอใจของผูปกครองและชุมชน และมีการพัฒนาสูงสุดเต็มตามศักยภาพของแตละบุคคล

1 โรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลัย นนทบุรี. สารสนเทศ ปการศึกษา 2546, (นนทบุรี,

โรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั, 2546) 1.

Page 23: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

13

จุดเนน 1. ปลูกฝงใหนักเรียนเกิดความรัก ความภูมิใจในความเปนสวนกหุลาบ 2. มุงเนนนักเรียนรักความสะอาด รักธรรมชาติ เอาใจใสรักษาสมบัติของโรงเรียน 3. มุงเนนปลกูฝงใหนักเรยีนมีลักษณะของผูนาํ2

การจัดสิ่งแวดลอม

ส่ิงแวดลอมของโรงเรียนมีความสาํคัญอยางยิง่ที่โรงเรียนควรตระหนักและเสริมสรางใหเกิดขึ้น เพราะโรงเรียนที่มบีรรยากาศและสภาพแวดลอมที่ดีจะทําใหบุคลากรในโรงเรียนเกดิความรูสึกพอใจ ภูมิใจ อบอุน สบายใจ รูสึกในความเปนเจาของ เรียนและทํางานรวมกันอยางเต็มที่และมีความสุข3

ความหมายของสิ่งแวดลอม

ส่ิงแวดลอม หมายถงึ ทุกส่ิงทุกอยางที่อยูรอบตัวมนษุย ทั้งที่มชีีวิต ทัง้ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและส่ิงที่มนุษยสรางขึ้นซึ่งสิง่แวดลอมที่อยูรอบตัวเราที่เราสามารถสมัผัสไดดวย ประสาทสัมผัสจะมีอิทธิพลตอการพัฒนาของสิ่งมีชวีิตไมวาพืช สัตว หรือคน4

วินัย วีระวัฒนานนท กลาววาสิง่แวดลอมหมายถงึ กระบวนการทางการศกึษาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางมนุษยกับส่ิงที่มีอยูโดยรวมทั้งที่เปนธรรมชาติและมนุษยสรางขึ้น รวมถึงความสมัพันธ ระหวางประชากร มลภาวะ ทรัพยากร การคมนาคม การวางแผนเกี่ยวกับเมืองและชนบทกับส่ิงแวดลอมมนุษย5 สวนสาํนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ใหความหมายวา ส่ิงแวดลอมหมายถงึทกุสิ่งทกุอยางทีอ่ยูรอบตัวมนษุย ทั้งที่มชีีวิต ทัง้ที่เปน

2 เร่ืองเดียวกนั,15. 3 กรมสามัญศกึษา, การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน, 5.

4 ปรีชา พัวนกุูลนนท, รายงานการดําเนินงานพัฒนาบรรยากาศและสิง่แวดลอมใน โรงเรียนเชียงแสนวิทยานิคมจังหวัดเชียงราย (เชยีงราย, โรงเรียนเชียงแสนพทิยาคม, 2540), 12.

5 วินัย วีระวฒันานนท, กระบวนการสิง่แวดลอมศึกษา (กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2532), 121.

Page 24: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

14

รูปธรรม ซึ่งจบัตองและมองเหน็ได และนามธรรม เชน วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความเชือ่มีอิทธพิลเกี่ยวโยงถงึกนั เปนปจจัยในการเกื้อหนุนซึง่กนัและกัน6

เมื่อพิจารณาความหมายของบรรยากาศในโรงเรียนและความหมายของสิ่งแวดลอมในโรงเรียนที่ไดกลาวมาแลว จะเหน็ไดวา “บรรยากาศ” กับ “ส่ิงแวดลอม” จะมคีวามเกี่ยวของสัมพันธกนั กลาวคือ บรรยากาศของโรงเรียน เปนสภาวะอันเกิดจากการมีปฏิสัมพันธระหวาง คนกบัส่ิงแวดลอมในโรงเรียน แลวสงผลถึงความรูสึกของบุคคล ถาเปนบรรยากาศและสิง่แวดลอมของโรงเรียนดีก็จะสงผลใหบคุลากรในโรงเรียนเกิดความรัก ความผกูพนั ความพอใจ ความอบอุน ความรูสึกเปนเจาของ7

ความสาํคัญของสิ่งแวดลอม

โกวิท วรพิพัฒน เห็นวา บรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียนจะมีสวนเสริมสรางความคิด จิตใจ และคุณธรรมตางๆ อันพึงประสงค โรงเรียนที่สะอาด รมร่ืน เรียบงาย สดชื่น สงบ แจมใส มีชีวิตชีวา วัสดุ อาคารสถานที่ซึ่งไดรับการดูแลใหมีความเปนปจจุบันพรอมที่จะใหครูและนักเรียนไดใชตลอดเวลา ยอมจะทําใหครูและนักเรียนไดรับอิทธิพล ทําใหเปนคน ละเอียดออน จิตใจแจมใส รักสวยรักงาม รักความสะอาด รักความสงบเรียบงาย และรักความรมร่ืนไปดวย ถือวาคุณธรรมตางๆ อันพึงประสงคตามหลักสูตรจะเกิดขึ้นในตัวนักเรียนไดเปนอันมาก8 สวนธเนศ ขําเกิด ก็มีความเห็นในลักษณะที่สอดคลองกันวา โรงเรียนซึ่งมีบรรยากาศที่ดี จะทําใหนักเรียนและบุคาลากรในโรงเรียนเกิดความรูสึกพอใจ ภูมิใจ อบอุนใจ สบายใจ รูสึกในความเปนเจาของและอยากมาโรงเรียนโรงเรียนที่มีบรรยากาศที่ไมดีจะทําใหสมาชิกเกิดความเบื่อหนาย หางเหิน วาเหว และไมอยากมาโรงเรียน ไมมีอิทธิพลในการเสริมสรางความคิด จิตใจ และคุณธรรมตางๆ อันพึงประสงคได9

6 สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาต,ิ รายงานสถานภาพสิ่งแวดลอม, พิมพคร้ังที ่3 (กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ, 2538), 2.

7 ธเนศ ขําเกดิ, การพฒันาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนโดยใชเทคนิค การวางแผนเปนทมี (กรุงเทพฯ : กรมสามญัศึกษา, 2533), 18.

8 โกวิท วรพพิฒัน, อางถึงใน พ.โพธิทพัพะ (นามแฝง), “มาสรางบรรยากาศและ ส่ิงแวดลอมทีด่ีในโรงเรียนกนัเถอะ,” มิตรครู 32, 1 (มกราคม 2533) : 33-35.

9 ธเนศ ขําเกดิ “การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน,” มิตรครู 32, 8 (เมษายน 2533) : 4-6.

Page 25: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

15

ณรงค กาญจนานนท กลาววา ส่ิงแวดลอมในโรงเรียน เปนตัวแปรที่สําคัญตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน รวมทั้งการพัฒนาคุณธรรม จริยธรมของนักเรียนดวยผูบริหารโรงเรียนที่มุงพัฒนาใหนักเรียนเปนทั้ง“คนเกง” และ “คนดี” จึงจําเปนที่จะตองมุงพฒันาสิง่แวดลอมในโรงเรียนเปนประการสําคัญ ซึ่งนอกจากจะสงผลตอตัวนักเรียนแลว ยังมีผลตอการบริหารบุคลากรในโรงเรียนดวยบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีจะชวยกลอมเกลาความรูสึกของบุคคลใหมีความรูสึกที่ดีตอกัน ซึ่งความรูสึกที่ดีตอกันจะชวยสรางความเขาใจกัน ลดปญหาความขัดแยงในการทํางาน ทําใหการบริหารเกิดความคลองตัว โรงเรียนจะสามารถพัฒนาไปสูเปาหมายที่กําหนดไวไดอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ10 สวน ทองคูณ หงสพันธ กลาววา ส่ิงแวดลอมในโรงเรยีน มปีระโยชนตอพัฒนาการของเด็กนักเรียนหลายประการ คือ

1. พัฒนาการทางรางกาย โรงเรียนที่มีสนามกีฬาและสถานทีพ่ักผอนพอเพียงและถูกหลักวิชา จะชวยพัฒนาสุขภาพอนามัยของเด็กไดเปนอยางดี ส่ิงแวดลอมที่ดีไมมีมลภาวะตางๆ มีส่ิงอํานวยความสะดวก มีสุขาภิบาลที่ด ี มีโภชนาการที่เหมาะสมลวนแตมีผลตอพัฒนาการทางรางกายของเดก็และขจัดอุบัติเหตุทัง้หลายที่จะเกิดแกนักเรียนได

2. พัฒนาการทางสติปญญา สภาพแวดลอมของโรงเรยีน ลวนมีผลตอการเรียนรูของเด็กนักเรียน เพราะสิง่แวดลอมเปนทั้งสื่อและอุปกรณการเรียนรู และเปนปจจัยที่สงเสริมการเรียนรูของเด็กนักเรียน ส่ิงแวดลอมที่ดียอมมีอิทธพิลตอพัฒนาการทางสติปญญาของเด็กนักเรียน เพราะสภาพแวดลอมที่ดี คือ ส่ิงจงูใจใหเด็กนักเรียนอยากเรียน

3.พัฒนาการทางดานอารมณและจิตใจบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่สวยงาม สะอาด สะดวกสบาย และนาสนใจ เปนปจจัยสาํคัญในการพฒันาสภาพอารมณ จติใจของนักเรียนทั้งสิน้ สภาพแวดลอมที่ด ีมีผลตอสุขภาพจิตของเด็กนักเรียน และจะนําไปสูพัฒนาการทางดานอารมณและจิตใจที่พงึประสงคได

4. พัฒนาการทางดานสังคม สภาพบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดี มีสวนหลอหลอมบุคลิกภาพและพฤติกรรมทีพ่ึงประสงคของเด็กนกัเรียน โรงเรียนสะอาด สวยงาม มีระเบียบ เด็กนักเรียนจะถูกหลอหลอมใหเปนคนรักสวยรักงาม รักความสะอาด รักความมีระเบียบวินัย

10 ณรงค กาญจนานนท, รายงานการพฒันาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียน

มัธยมศึกษา (กรุงเทพฯ : โรงเรียนเทพศิรินทร, 2536), 25.

Page 26: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

16

สภาพแวดลอมในโรงเรียนทีม่ีบรรยากาศของกัลยาณมิตร มีความเอื้อเฟอเกื้อกูลกัน เสียสละ รวมมือส่ิงเหลานี ้ยอมสรางสรรคใหเด็กเปน “คนดีและพลเมืองด”ี11

กรมสามัญศึกษา เชื่อวา สภาพแวดลอมที่ดี เปนสวนสําคัญในการเสริมสรางคนใหเปนทรัพยากรที่มีคุณคาทั้งทางดานความรู ความคิด คุณธรรม และจริยธรรมตาง ๆ อันพึงประสงคได มีผูกลาววาครูอาจแบงเปนประเภทใหญ ๆได 2 ประเภท คือ ครูที่พูดไดและครูที่พูดไมได แตครูที่พูดไมไดมักไดรับการกลาวถึงนอย บรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนถือวาเปนครูที่พูดไมได เชื่อวาโรงเรียนที่สะอาด รมร่ืน เรียบรอย สดชื่น สงบ แจมใส มีชีวิตชีวาวัสดุอาคารสถานที่ไดรับการดูแลมีความเปนปจจุบันพรอมที่จะใหครูและนักเรียนไดใชตลอดเวลา ยอมจะทําใหครูและนักเรียนไดรับอิทธิพล ทําใหเปนคนละเอียดออน จิตใจแจมใส รักสวย รักงาม รักความสะอาด รักความสงบ เรียบงาย และรักความรมร่ืนไปดวย ถือวาคุณธรรมตางๆ อันพึงประสงคตามหลักสูตร อันจะเกิดขึ้นในตัวนักเรียนโดยครูประเภทพูดไมไดนี้ไดเปนอยางมาก จึงเหน็เปนการสมควรที่ โรงเรียนจะตองพยายามจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนเพื่อประโยชนในการที่เด็กจะไดพัฒนาใหเต็มความรูความสามารถ12

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ระบุวา ส่ิงแวดลอมตางๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น ไมวาจะจัดในหองเรียน หนาหองเรียน บริเวณโรงเรียนหนาบริเวณโรงเรียน รวมไปถึงรอบ ๆ โรงเรียน ลวนมีผลตอการปลูกฝงคุณลักษณะนิสัยที่ดีงามใหเกิดขึ้นภายในตอผูเรียนทั้งสิ้น เชน การที่นักเรียนไดเรียนในหองเรียนที่สะอาดทาสีออนโยน แสงนุมนวลมีตนไม กระถาง มีรูปภาพที่ดูแลวสบายใจ มีซุมหรือมุมสงบ ไดหาความรูดวยตนเอง นักเรียนมีความคุนเคยกับความสะอาดความเปนระเบียบเรียบรอยตลอดเวลา ซึ่งจะชวยใหนักเรียนมีความกระตือรือรนมากยิ่งขึ้น เกิดความเชื่อมั่น มีความรักและไมอยากใหหองเรียนและโรงเรียนสกปรก เกิดความเคยชินกับความสะอาด ความสวยงาม ความเปนระเบียบนาอยูที่โรงเรียน จนซึมซับส่ิงที่ดีๆ ที่ไดรับ เกิดความรับผิดชอบและมีวินัยในตนเองจนสามารถถายโอนประสบการณเหลานี้เชื่อมโยงสูการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

11 ทองคูณ หงสพันธ, คูมือการพัฒนาสถานศึกษาดานอาคารสถานที ่(ม.ป.ท., 2540),

14. 12 กรมสามัญศึกษา, การจดับรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน , 26.

Page 27: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

17

องคประกอบของสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน กรมสามัญศึกษา ไดกาํหนดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนมัธยมศึกษาไว 3 ประเภท ดงันี ้ 1. ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ไดแก สภาพแวดลอมที่เปนวัตถุทั้งหลาย เชน บริเวณ

โรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองน้ํา หองสวม หองประกอบ ครุภัณฑและวัสดุอุปกรณตางๆ ส่ิงที่ชี้วัดถึงลักษณะสิ่งแวดลอมทางกายภาพที่ดีไดแกความชุมชื้น การถูก สุขลักษณะ ความรมร่ืน ความสวยงาม ความสะอาด ความเปนระเบียบ ความสะดวก ฯลฯ การที่จะจัดสภาพของปญหาหรือความตองการจําเปนแตกตางกัน ข้ึนอยูกับแนวความคิดและดุลยพินิจของบุคลากรภายในโรงเรียนนั้นๆ ที่จะสรางสรรคใหเกิดขึ้น แตก็ควรอยูภายใตหลักการของ “การรวมคิดรวมทํา” ซึ่งเปนการเสริมสรางความรูสึกที่ดี ความรูสึกของการมีสวนรวม ความรูสึกของความเปนเจาของ โดยเฉพาะ นักเรียน ซึ่งเปนหัวใจของการจัดการศึกษา ผูบริหารและครูอาจารยควรยอมรับวา นักเรียนทุกคนมีความสามารถและเปนสวนหนึ่งของโรงเรียนที่มีความรัก ความผูกผัน และปรารถนาดีตอโรงเรียนภายใตการแนะนําของผูบริหารและครู-อาจารย

2. ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ ไดแก การจัดบรรยากาศทางการเรียนการสอน ทั้งในและนอกหองเรียน ตลอดจนการจัดบริการเพื่อสงเสริมสนับสนุนทางวิชาการตาง ๆ และประสบการณใหมากที่สุดภายใตบรรยากาศที่มีชีวิตชีวา แจมใส นาเรียนรู สอนสนุก เรียนสนุก ครูรักเด็ก เด็กรักครู ไมมีบรรยากาศแหงความกลัวและหวาดผวาวิตกกังวล ทุกคนพูดเปนเสียงเดียวกันวา “อยากมาโรงเรียน” การจัดสภาพแวดลอมทางวิชาการที่สงเสริมใหเกิดบรรยากาศดังกลาว ไดแก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ตรงตามจุดประสงค สงเสริมความสามารถของแตละบุคคล เนนใหนักเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนการสอน แลวดําเนินกิจกรรมดวยความเปนกันเอง ใหเกียรติซึ่งกันและกัน สงเสริมการเรียนเปนกลุมชวยกันคิด ชวยกันทําระหวางผูสอนและผูเรียน จะทําใหทุกคนมีความสุข มีความมั่นใจและตระหนักในคุณคาของตนเอง

3. ส่ิงแวดลอมทางการบริหารการจัดการ ไดแก การดําเนินการใด ๆ ภายในโรงเรียนใหมีการปฏิบัติงานสําเร็จลงดวยความรวมมือรวมใจของบุคาลากร ซึ่งสังเกตไดจากการดําเนินงานอยางมีระบบ ความเอื้อเฟอเผื่อแผชวยเหลือเกื้อกูลกันและกันของบุคลากร บุคลากรในโรงเรียน ยิ้มแยมแจมใสเปนมิตรตอกัน รักใครกลมเกลียวกันลักษณะการบริหารการจัดการที่กอใหเกิดบรรยากาศที่ดีนั้น เร่ิมต้ังแตวิธีการกําหนดนโยบาย ควรใหบุคลากรในโรงเรียนมีสวนรวม มีการนําขอมูลจากการสํารวจสภาพปจจุบันปญหามากําหนดเปนนโยบาย ในการแกปญหาและพัฒนางานของโรงเรียน การมอบหมายงานแลวติดตามดูแล ชวยเหลือ ถามไถ ดแูลความเหนด็เหนือ่ย ยกยอง ชมเชย มีการสรางขวัญกําลังใจ จัดสวัสดิการไวหลายๆรูปแบบ การจัดบรรยากาศทั้งทาง

Page 28: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

18

กายภาพวิชาการและการบริหารการจัดการ ตางก็เอื้อซึ่งกันและกัน ซึ่งโรงเรียนควรตระหนักและสรางเสริมใหเกิดขึ้นเพื่อใหโรงเรียนเปนวิมานที่นาอยูนาเรียนแลวทุกคนจะอยูอยางมีความสุข13 การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน

กรมสามัญศึกษาไดกําหนดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนมัธยมศึกษาไว 3 ประเภท คือ

ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ ส่ิงแวดลอมทางการบริหาร ซึ่งสิ่งแวดลอมแตละประเภทมีลักษณะสําคัญดังตอไปนี้ สิ่งแวดลอมทางกายภาพ

ส่ิงแวดลอมดานกายภาพ เปนบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่คอนขางจะมองเหน็เปนรูปธรรม นับต้ังแตกาวเขาสูร้ัวโรงเรียนสามารถมองเหน็ได ไดแก

1. บริเวณโรงเรียน เชน ร้ัว ถนน สนาม ตนไม ดอกไม สวนหยอม ที่พกัผอน สนามกีฬา สถานทีน่ันทนาการ สาธารณูปโภค สระน้าํ ถงัขยะ ฯลฯ

2. อาคารเรียน อาคารประกอบและอาคารอื่นๆ เชน อาคารชัว่คราว โรงฝกงาน โรงอาหาร หอประชุม บานพกัครู บานพักภารโรง หองน้าํ หองสวม ฯลฯ

3. หองเรียนและหองประกอบอื่นๆ เชน หองผูบริหาร หองพักคร ู หองแนะแนว หองพยาบาล หองทะเบยีนวดัผล หองโสตทัศนูปกรณ หองจริยธรรม ฯลฯ

เครื่องชี้วัดสิ่งแวดลอมดานกายภาพที่ดี ไดแก การมีสภาพที่ใชการไดอยูเสมอ มีความสะอาด สดชื่น รมร่ืน สวยงาม มีการจัดตกแตงบริเวณโรงเรียนดวยไมดอกไมประดับหรือส่ิงอื่นๆ มีที่เรียนที่พักผอน สถานนันทนาการ น้ําดื่ม น้ําใชเพียงพอกับจํานวนนักเรียนหองตางๆ

เครื่องชี้วัดสิ่งแวดลอมดานกายภายที่ดี ไดแก การมีสภาพที่ใชการไดอยูเสมอ มีความสะอาด สดชื่น รมร่ืน สวยงาม มีการจัดตกแตงบริเวณโรงเรียนดวยไมดอกไมประดับหรอืส่ิงอ่ืน ๆ มีที่เรียนที่พักผอน สถานนันทนาการ น้ําดื่ม น้ําใชเพียงพอกับจํานวนนักเรียน หองตาง ๆ มีการตกแตงภายในใหสวยงาม มีขนาดพื้นที่และแสงสวางเพียงพอในการใช มีผูรับผิดชอบดูแลรักษา เปนตน

กระบวนการจัดสิ่งแวดลอมเหลานี้ เปนเรื่องของแตละโรงเรียนที่ตางก็มีสภาพของปญหาหรือความตองการความจําเปนที่แตกตางกัน ซึ่งขึ้นอยูกับแนวความคิดและดุลยพินิจของ

13 กรมสามัญศึกษา, การจดับรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน, 9.

Page 29: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

19

บุคลากร ภายในโรงเรียนนั้นๆ ที่จะสรางสรรคใหเกิดขึ้น แตควรอยูภายใตหลักการของการรวมคิดรวมทํา เพื่อเสริมสรางความรูสึกมีสวนรวมของทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งนักเรียนซึ่งถือวาเปนสมาชิกที่มีคุณคาที่ผูบริหารและครูควรมีความรูสึกเสมอวานักเรียนทุกคนมีความสามารถและเปนสวนหนึ่งของโรงเรียนที่มีความรักความผูกพันและปรารถนาดีตอโรงเรียน ดังนั้น จึงควรเปดโอกาสใหเขาไดแสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ วางแผนจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมในโรงเรียนภายใต การนิเทศ แนะนําของผูบริหารโรงเรียนและครู14

กรมวิชาการใหแนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมสถานศึกษาสภาพแวดลอมของสถานศึกษาและคานิยมวาการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพในโรงเรียน สามารถดําเนินการใหเกิดขึ้นได ภายใตสภาพแวดลอมที่เปนวัตถุจับตองได สัมผัสได และสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาใหเกิดขึ้นได ซึ่งการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพของโรงเรียนที่สําคัญมีดังนี้

1.พื้นที่และบริเวณโรงเรียนตองมีพื้นที่เพียงพอแกการใชประโยชนตางๆไมเปนหลุมเปนบอ รับแสงสวางจากธรรมชาติไดมาก มกีารปลูกตนไมใหญใหรมเงา ปลูกไมดอก ไมประดับ ใหเกิดความสวยงาม และมีร้ัวโดยรอบ

2.อาคารเรียนและสิ่งกอสราง ตัวอาคารเรียนควรหนัดานหนาของอาคารไปทางทิศที่รับลมไดสะดวก แสงแดดหรือฝนไมรบกวนมากนกั ภายในหองเรียนควรใชสีเย็นตา ตกแตงดวยรูปภาพใหสวยงามอยูเสมอ สําหรับอาคารประกอบ เชน อาคารอเนกประสงคโรงอาหาร จะตองคํานึงถึงความสะอาดเปนประการสําคัญ อากาศถายเทไดดี

3.หองเรียนและเครื่องใชในหองเรียน การจัดโตะเรียนและเกาอี้ไมควรจัดแบบติดกับ พื้นหองเรียนตายตัวตองใหสามารถเคลื่อนที่ไดเพื่อความเหมาะสมตอการจัดกลุมหรือตองการใชหองเรียนเพื่อประโยชนอยางอื่น การจัดแถวของโตะเรียนตองจัดใหมีชองวาง ระหวางแถวเพียงพอ ที่จะเดินผานไปไดโดยสะดวก

4.การถายเทอากาศและแสงสวางหองเรียนจะมีความรอนความชื้นและกลิ่น ถาหองเรียนมีการระบายอากาศไมดีพอจะทําใหรอนอบอาวมีกลิ่นไมดี และ ทําใหนักเรียนไมกระปรี้กระเปราและอาจจะทําใหเกิดการติดตอของโรคไดโดยงาย ตองจัดใหมีชองลม หนาตาง ประตู และมีพื้นที่สําหรับการถายเทอากาศอยางพอเพียง ตัวอาคารเรียนไมควรตั้งอยูในที่ที่มีส่ิง กีดขวางทางลมหองเรียนควรมีแสงสวางพอเพียงแกการเรียนการสอนหากแสงสวางมีนอยหรือมากเกินไปจะทําใหเกิดผลเสียแกสายตาของเด็กนักเรียน ความเขมของแสงสวางในหองเรียนที่สามารถ

14 ธเนศ ขําเกดิ, การจัดโรงเรียนเสมือนหนึ่งเปนบาน,(ม.ป.ท. 2543) 3-7.(อัดสําเนา)

Page 30: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

20

อานหนังสือไดอยางสบายสายตามีคาประมาณ 30 ฟุต แรงเทียน สวนหองเรียนที่ใชทําการฝมือ หรืองานอื่นที่ใชสายตามากๆ ควรมีความเขมของแสง 50 ฟุตแรงเทียนขึ้นไป

5.เสียง หองเรียนที่ดีตองออกแบบใหสามารถปองกันเสียงดังรบกวนได เสียงดังเปนอุปสรรคตอการเรียนการสอน เด็กนักเรียนจะขาดสมาธิฟงครูสอนไมไดยิน ระดับความดังของเสียงภายนอกอาคารเรียนไมควรเกิน 70 เดซิเบล ภายในหองเรียนไมควรมีระดับความดังของเสียง รบกวนเกินกวา 35-40 เดซิเบล

6.หองพยาบาล เปนหองที่จําเปนจะตองจัดใหมาขึ้นในโรงเรียน เพื่อดําเนินงานดาน สุขภาพของนักเรียนหองพยาบาลควรจัดอยูชั้นลางของอาคารเรียนเพื่อใหนักเรียนใชไดโดยสะดวกภายในหองพยาบาล ควรจัดใหมีเครื่องมือเครื่องใชในการปฐมพยาบาลอยางครบถวน

7.โรงอาหารโรงเรียนควรจัดใหมีโรงอาหารหรือที่รับประทานอาหารสําหรับนักเรียนไดรับประทานอาหารกลางวันอยางเปนระเบียบเรียบรอยจะชวยฝกหัดใหนักเรียนไดรูจักระเบียบในการรับประทานอาหาร สรางทัศนคติและสุขนิสัยที่ดีแกเด็ก การจัดโรงอาหารตองพิจารณาจัดใหมีโตะอาหารและที่นั่งเพียงพอกับจํานวนนักเรียนจัดใหมีน้ําดื่มใชที่สะอาดไดอยางเพียงพอ จัดใหมีภาชนะสําหรับรองรับเศษอาหารที่ถูกสุขลักษณะใชอยางพอเพียง มีสภาพดี มีฝาปดมิดชิด ไมร่ัว ไมซึมน้ํา และตองมีความสะอาดอยูเสมอ รวมทั้งการจัดใหมีการดูแลรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของโรงอาหารดวย

8.โรงครัว เปนสถานที่ที่ใชประกอบหรือปรุงอาหาร โรงเรียนควรคํานึงถึงสถานที่และจัดตั้งเปนสัดสวน พื้นหองตองทําดวยวัสดุที่ไมดูดซึมน้ํา ประตูหนาตางตองใสมุงลวดตาขาย เพื่อปองกันแมลงวันและหนูเขามาในหองครัว มีแสงสวางเพียงพอ มีระบบการถายเทอากาศไดดีมีระบบระบายน้ําทิ้ง มีถังขยะสําหรับเก็บเศษอาหารและขยะชนิดอื่นๆ อยางเพียงพอ มีที่เก็บทั้งอาหารสดและอาหารแหง และมีน้ําใชสําหรับการประกอบหรือปรุงอาหารที่สะอาดมีคุณภาพดี อยางเพียงพอ

9.สนาม สนามใหญควรอยูดานหนาของโรงเรียน เพื่อใชเปนที่สําหรับสอนวิชา พลศึกษาและออกกําลังกายประเภทที่ตองการเนื้อที่มากๆเชน ฟุตบอล รักบี้บอล กายบริหาร เปนตน สวนดานขางและพื้นที่วางระหวางอาคารเรียนควรจัดเปนสนามขนาดเล็ก ๆ เพื่อใชสําหรบักิจกรรมที่ตองการเนื้อที่ไมมากนัก ซึ่งสนามเล็กนั้นควรจัดใหสามารถใชเปนที่พักผอนหยอนใจของนักเรียนไดดวย สภาพของสนามควรเปนพื้นที่ราบเรียบไมมีหลุมหรือบอ มีการปลูกหญาและดูแลรักษาเปนอยางดี ริมขอบสนามควรปลูกตนไมใหญใหเกิดรมเงาสําหรับการพักผอนหยอนใจของนักเรียน และทําใหเกิดทัศนียภาพสวยงามแกสถานที่ ควรจัดทําที่นั่งพัก มาหิน และซุมเถาไม

Page 31: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

21

เล้ือยไวใหนักเรียนไดใชเปนที่พักผอน บริเวณริมสนามควรจัดใหมีน้ําสําหรับด่ืมและอางลางมือไวตามความจําเปน จัดใหมีถังขยะไวตามริมสนามเปนระยะ ๆ เพื่อความสะดวกในการเก็บและรักษาความสะอาดของสนาม ในกรณีของโรงเรียนประถมศึกษาเครื่องเลนของเด็กเล็ก เชน บอ ทราย ชิงชา ไมล่ืน มาหมุน ฯลฯ ควรจัดแยกไวสวนหนึ่งตางหาก โดยจัดร้ัวเตี้ยๆ แบงขอบเขตไวและควรจะจัดครูหรือนักเรียนโตคอยควบคุมดูแลดวยเสมอ การตรวจสภาพ การซอมแซมและการดูแลรักษาจะตองกระทําอยูประจําเพื่อใหเกิดความปลอดภัยแกเด็กที่เลนเครื่องเลนเหลานั้น

10.น้ําดื่มน้ําใช โรงเรียนทกุแหงตองจัดใหมีน้ําดื่มใชที่สะอาด ปริมาณพอเพียงสําหรับนักเรียน สําหรบัอัตราน้ําดื่มของนักเรียนโดยปรกติประมาณ 1.5-4.5 ลิตร/คน/วัน

11.สวมและทีป่สสาวะ โรงเรียนตองจัดใหมีสวมที่ถกูสุขลักษณะใหนักเรียนใชอยาง พอเพียง โรงเรียนสหศกึษาตองจัดใหมีสวมสําหรับนักเรยีนหญิงและชายแยกกัน เพื่อใหนักเรียนใชไดสะดวกยิง่ขึ้น สําหรับนกัเรียนชายตองจัดทาํที่ปสสาวะใหพอเพียงแกจํานวนนกัเรียนดวย

12. การกําจัดขยะมูลฝอย ขยะที่เกิดขึน้ในโรงเรียนมีอยู 2 ชนิด คอื ขยะแหง และขยะสด หรือขยะเปยก จําเปนตองไดรับการเก็บรวบรวมและกําจัดใหหมดไปอยางถูกตอง มิฉะนั้นจะเปนแหลงเพาะพันธุของแมลงและเชื้อโรค ขาดความเปนระเบยีบเรียบรอย ขาดความสวยงาม ไมนาดูและจะเปนแบบอยางที่ไมดีแกนักเรียน ประชาชนในชุมชน โรงเรียนตองจัดถงัขยะไวตามที่ตางๆที่เหมาะสมและสะดวกตอการทิง้ขยะของนักเรียน ตองจัดถังขยะใหมีขนาดที่เหมาะสมและจํานวนมากพอ หองเรียนแตละหองตองมีถังขยะสําหรับใสเศษกระดาษหรือขยะแหงตางๆ

13.การกําจัดน้ําโสโครก โรงเรียนตองจดัทํารางระบายน้ําไวเพื่อระบายน้าํฝน ออกนอกบริเวณโรงเรียน โดยอาจจะตอรางระบายน้าํฝนจากบริเวณภายในโรงเรียนลงสูที่ลุมหรือแหลงน้ําสวนการกาํจัดน้ําทิ้งหรือน้ําโสโครกที่มสีารละลายและความสกปรกตางๆ ปะปนอยูตองมีระบบรวบรวมน้าํทิง้ โดยจัดทําเปนทอน้ําทิ้งหรอืรางระบายน้าํโสโครกของโรงเรียน โดยเฉพาะเพื่อระบายน้ําทิ้งลงสูทอรับน้ําโสโครกสาธารณะ ถาไมมทีอระบายน้าํโสโครกสาธารณะก็ตองระบายน้ําทิง้ดังกลาวไปยังแหลงกาํจัดน้าํโสโครกทีจ่ัดทําขึ้นโดยเฉพาะ

14.การรักษาความสะอาดและการดูแลรักษา ส่ิงที่โรงเรียนตองเอาใจใสรักษาความสะอาดอยูเสมอเปนประจําคอืบริเวณโรงเรยีนและสนาม หองเรียนและอาคารเรียน อุปกรณและเครื่องใชในการเรียน เชน กระดานดาํ โตะ เกาอ้ี ตูหนังสือ ฯลฯ เครื่องสุขภัณฑตางๆ เชน ที่

Page 32: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

22

เก็บน้าํ หองน้าํหองสวม อางลางมือ อางน้ําพุ ถงัขยะ ฯลฯ โรงอาหารและโรงครัว เรือนนอน และหอพัก (ถาม)ี ทอน้ําโสโครกหรือรางระบายน้ํา และทางเดินเทาภายในบริเวณโรงเรียน15 กรมสามัญศกึษาไดใหขอเสนอแนะบางประการในการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพ ดังนี ้

1. การเสริมสรางความรมร่ืน สดชื่น และสวยงาม โรงเรียนควรเปดโอกาสใหครูและ นักเรียน ไดปลูกและดูแลรักษาตนไมของเขาเอง อาจเชิญบุคลากรผูมีชื่อเสียงในชุมชนมารวมปลูกดวย บางโรงไมสามารถปลูกตนไมได ก็อาจนําไมดอกไมประดับมาตกแตงสรางซุม สรางศาลาที่พักผอนหยอนใจ ใหเกิดความรมร่ืนสดชื่น และสวยงามดังกลาว

2. การเสริมสรางความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย คือ การจัดสภาพใหดูแลวสบายตา หยิบก็งาย ใชก็คลอง และใชการไดดีอยูเสมอ สภาพดังกลาวเกิดจากการจัดตกแตง อาคารสถานที่ เชน การตกแตงอาคารเรียน อาคารชั่วคราว การตัดแตงสนามหญา ร้ัว การจัดหองเรียน หองพัก โตะทํางาน การรักษาความสะอาดสิ่งตางๆ การจัดเครื่องมือ วัสดุอุปกรณในโรงฝกงานเปนตน

3. การเสรมิสรางความสงบ โรงเรียนควรจัดหาสถานทีบ่างสวนไวเพือ่ใหครูและนักเรียน ไดเขาไปใชในลักษณะทีม่ีความรูสึกเปนสวนตัว เปนตัวของตัวเอง อันจะกอใหเกิดความรูสึกที่สงบ เชน มุมสงบในหองสมุด หองจริยธรม สวนจริยธรรม สวนสงบ เปนตน

4. การสรางสรรค คือ ความคิดในการเปลี่ยนแปลง พฒันา ดัดแปลงใหเกิดสิง่ใหม เชน การนาํกระบอกไมไผมาทําเปนถงัขยะ การนาํหมวกหรืองอบมาทําโคมไฟ การดัดแปลงตนไม ใหเปนรูปทรงตางๆ เปนตน

5.การเสริมสรางความมีชวีิตชีวา เปนการขจัดความซ้าํซากจําเจ ดวยการเปลี่ยนแปลง อยูเสมอ เชน การจัดสถานทีท่ํางานของครู การจัดโตะเรียน การตกแตงไมดอกไมประดับ การจัดปายนิเทศ เปนตน

6. ความเหมาะสมกับสถานที ่ เชน การจัดปายประกาศในทีท่ี่สามารถอานไดอยางสะดวกและทัว่ถึง ไมจัดคอกหรือเลาสัตวไวในที่รบกวนการเรียนการสอน เปนตน

7. ความสอดคลองกับสภาพทองถิน่ คอื การนําทรพัยากรหรือส่ิงของตางๆ ในทองถิน่มาจัดหรือดัดแปลงใชใหเหมาะสมกับสภาพ เชน การใชตนตาล ตนมะพราว มาทําโตะ เกาอี้ ทีพ่ักผอนหยอนใจ การนําหอยมาประดับตกแตงหอง และสถานที่ตางๆ เปนตน

15 กรมวิชาการ, แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมสถานศกึษา สภาพแวดลอมของสถานศกึษาและคานยิม, 3-6.

Page 33: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

23

8.ความสอดคลองกบัประเพณีวัฒนธรรม และความเชื่อ เชน การจัดหองศิลปวัฒนธรรม การจัดแสดงวตัถุ ส่ิงของ หรือภาพที่เปนประเพณีของทองถิ่น เปนตน

9.ความประหยัด โรงเรียนควรจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพใหเหมาะสมกับทรัพยากรหรือปจจัยทีม่ีอยู เชน ไมจัดซื้อพนัธุไม วัสดุ หรือครุภัณฑที่ราคาแพง และดูแลรักษายาก 10.ความมีเอกลักษณ เพือ่ความเปนศนูยรวมทางจิตใจ ความภาคภูมิใจในสถาบันโรงเรียนอาจจดัสิ่งปลกูสราง หรือปลูกตนไม ดอกไม บางชนิดทีเ่จตนาใหเปนสัญลักษณหรือเอกลักษณประจําโรงเรียน

11. ความสะดวกสบาย เชน การทาํทางเดินพรอมหลังคาระหวางอาคารเรียน การจัดที่ทิง้ขยะ การบริการน้ําดืม่น้ําใช การจัดเครื่องใชไมสอย ใหสามารถหยิบงายใหคลอง เปนตน

12. ความปลอดภยั โรงเรียนควรจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพ ใหมีสภาพที่มัน่คง ปลอดภัย มกีารซอมแซม บํารุงรักษา ใหมีสภาพใชการไดอยูเสมอ เชน โตะ เกาอี้ ประตู หนาตาง สนาม อาคารสถานที ่ เปนตน

13. ความคุมคาและเกิดประโยชน ส่ิงของและหรือสถานที่ในโรงเรียน บางครั้งถกูนํามาใชอยางไมคุมคาและเกิดประโยชนตามควร เชนบริเวณใตถนุอาคาร บริเวณหอประชมุ โรงอาหาร ใตรมไม แทจริงแลว สถานที่ดงักลาวอาจจดัเพื่ออํานวยประโยชนดานอืน่อีกหลายอยางเชน เปนที่อานหนงัสอื ชนิดที่เรียกวา หองสมดุโลง หรือใชจัดนิทรรศการ ปายนิเทศ ปายประกาศ เปนตน16

สิ่งแวดลอมทางวชิาการ

ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ ไดแก การจัดการเรียนการสอน ทั้งในและนอกหองเรียน ตลอดจนการจัดบริการเพื่อสงเสริมสนับสนุนวิชาการตางๆ ที่จะทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรู ภายใตบรรยากาศที่มีชีวิตชีวา สดชื่น แจมใส มีความรูสึกรักโรงเรียน รักครู รักเพื่อน และพูดเปนเสียงเดียวกันวา อยากมาโรงเรียน พยายามขจัดบรรยากาศแหงความกลัว ความหวาดผวา ความวิตกกังวล และการขูเข็ญใหหมดสิ้นไป โดยคํานึงถึงหลักการตอไปนี้ 1) มุงเนนใหนักเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนการสอน 2) ทําทุกวิถีทางใหนักเรียนสามารถเปนผูนําตนเองได 3) การจัดการเรียนการสอนไมไดจํากัดอยูเพียงภายในหองสี่เหลี่ยมแคบๆ 4) จัดกิจกรรมที่หลากหลายใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงออกและเขาใจรวมทุกคนตามความถนัดอยางตอเนื่องและเสรี 5) วชิาการบางวิชา เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ ฯลฯ ที่นักเรียนบางคนเห็นวาเปนเรื่องที่

16 กรมสามัญศึกษา, การจดับรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน, 12-13.

Page 34: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

24

ยากตอความเขาใจและนาเบื่อหนาย ยิ่งครูบางคนพยายามเครงครัด เอาจริงเอาจัง โดยไมคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล อาจเปนผลทําใหนักเรียนเกลียดวิชาเหลานี้ หนีโรงเรียน เบื่อโรงเรียน เบื่อครู เปนปมดอยของตนเองและพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนออกไป ส่ิงเหลานี้มีผลกระทบตอบรรยากาศของโรงเรียนอยางยิ่ง ดังนั้นครูผูสอนควรหาทางชวยเหลือนักเรียนบางกลุมเหลานี้ โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล 6) ส่ิงสําคัญที่สุดก็คือ ครูควรพยายามปรับตนใหมีมนุษยธรรมกับนักเรียนทุกคนในทุกๆ ดาน17

สําหรับกรมวิชาการ ไดกลาวถึงสิ่งแวดลอมทางวิชาการวาสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอ การพัฒนาผูเรียนทุกดานไดมากที่สุดก็คือ “ครู” วาคุณภาพของเด็กและเยาวชนจะมีรากฐานมากจากการอบรมเลี้ยงดูตั้งแตแรกเกิด แตการที่ครูสามารถประสานเชื่อมโยงการอบรมเลี้ยงดูใหมีการพัฒนาไปในทางที่ดีอยางตอเนื่องและบางครั้งอาจจะตองมีการแกไขขอบกพรอง ความเชื่อและคานิยม บางอยางที่ไมถูกตองเสียกอน เพื่อสรางแนวคิดที่ถูกตอง ปลูกฝงคานิยมที่ดีงามควบคูไปกับการใหความรู และจัดประสบการณใหกับนักเรียนภายใตสภาพแวดลอมและบรรยากาศ การเรียนรู เกื้อกูลสูการปฏิบัติจริงตามธรรมชาติของผูเรียน ดังนั้น ครูจึงเปนกัลยาณมิตรของศิษย เปนบุคคลที่จะเสริมสรางบรรยากาศการเรียนใหมๆ ใหเกิดความคิดสรางสรรค ใหเกิดความรักและศรัทธาที่จะเรียนรูทุกขั้นตอนอยางแทจริงดังนั้นครูจึงนับวาเปนสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลมากที่สุดตอการปลูกฝงเจตคติ คานิยม และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน ความกระตือรือรนของครู ความสนใจ ความเอาใจใสในการสอน การแสวงหาความรูอยูเปนนิจ การมีจิตใจดีงาม ความสุภาพออนโยน ทั้งเสียงและบุคลิกดีจะชวยโนมนาวจิตใจของนักเรียนใหเอาแบบอยางครูและจะกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจใฝรูใฝเรียนดวย ความกระตือรือรนมีชีวิตชีวาตามไปดวย เพื่อน เปนสิ่งแวดลอมที่สําคัญมากในการสรางเจตคติ คานิยม และพฤติกรรมของนักเรียนรองจากครู โดยเฉพาะในวัยรุน วัยที่กําลังเปลี่ยนแปลงทั้งทางรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม นักเรียนที่มีสุขภาพจิตดี เขากับเพื่อนและครูไดดี มีความรักและเขาใจเพื่อน ชอบโรงเรียนมักจะเรียนรูอยางมีความสุข มีความคิดสรางสรรค และพรอมที่จะเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเองตามศักยภาพ การจัดศูนยวิทยาการในหองเรียน เปนอีกแนวหนึ่งที่สนับสนุนใหผูเรียนมีประสบการณทางการเรียนไดมากที่สุด ตามความสนใจ ความตองการและความถนัด อีกทั้งยังมีผลตอการเสริมสราง เจตคติในการเรียนรู ตลอดจนการสรางลักษณะนิสัยใฝรู ใฝเรียน รักการคนควาและแสวงหาความรูดวยตนเองและสามารถเรียนรวมกับเพื่อนในกลุมยอยและกลุมใหญและยังเสริมสราง คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียนอีกหลายรูปแบบ อาทิความรับผิดชอบในการศึกษาหาความรูไดเองจาก

17 ธเนศ ขําเกดิ, การจัดโรงเรียนเสมือนหนึ่งเปนบาน, 3-7.

Page 35: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

25

ส่ือและกิจกรรมตางๆในศูนย นอกจากนี้ยังมีอิทธิพลตอความสัมพันธอันดีระหวางครูกับนักเรียน และนักเรียนตอนักเรียน ทําใหกระบวนการเรียนการสอนสมบูรณยิ่งขึ้น

บรรยากาศในชั้นเรียน เปนอีกปจจัยหนึง่มีอิทธิพลตอการเรียนรูของนักเรียนโดยตรง บรรยากาศการเรียนที่ดีจะชวยสนับสนนุใหนกัเรียนไดเรียนเต็มความสามารถ และสงเสริมความรวมมือระหวางครูและนกัเรียนและระหวางนักเรียนดวยกนัจะชวยใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมีความสามารถในการแกปญหา มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มีเจตคติที่ดีตอตนเองและผูอ่ืน

นอกจากนี ้ มีผลการวิจยัที่บงชีว้าบรรยากาศและสิง่แวดลอมในบาน มีอิทธิพลตอการเรียนรูของนักเรียนโดยเฉพาะอยางยิ่ง ความรักความผูกพนัระหวางพอ แม ลูก จะชวยใหนักเรียนประสบผลสําเร็จเปนอยางสูงเชนกัน ดงันัน้หากจะใหบรรยากาศการเรียนรูมีความตอเนือ่งเชื่อมโยง อาจจะตองมกีารใหความรูแกผูปกครองดวย เนือ่งจาก พอแม ผูปกครองเปนสิง่แวดลอมที่มีอิทธพิลอยางมากตอการพฒันาเจตคติ สุขนิสัย และพฤติกรรมตางๆ ของบุตร

นอกจากนี ้ ส่ือการสอน วสัดุอุปกรณที่เหมาะสมกับบทเรยีน สถานที่ทัง้ในหองเรยีนและนอกหองเรียน ตลอดจนบุคลากรทุกคนในโรงเรยีนลวนมีความสําคัญและอทิธพิลตอการเรียน การสอน การสรางบรรยากาศใหเกิดความรัก ความไววางใจ ศรัทธา เชื่อมัน่ จําเปนตองประสานและรวมมือกนั เพือ่ใหเกิดการเรียนรูในลกัษณะบูรณาการเชือ่มโยงสูการปฏิบัติในชีวิต18

บรุคโคเวอรและคณะ (Brook over and other) มีแนวความคิดวา บรรยากาศเปนผลรวมของปทัสถาน ความคาดหวังและความเชื่อถือ ซึ่งกอใหเกิดระบบสังคมในโรงเรียน โดยบุคคลในระบบสังคมนั้นรูสึก ดังนั้น บรุคโคเวอร (Brook over) จึงไดสรางแบบสอบถามจํานวนสามชุดเพื่อใชกับครูผูบริหารและนักเรียน เปนแบบสอบถามซึ่งใชวัดแนวความคิดดานบรรยากาศภายในโรงเรียนวามีความซับซอนในดานความรูสึก เจตคติ ความเชื่อ คานิยม ความคาดหวังและปทัสถานของโรงเรียน ประกอบไปดวยตัวแปร 14 ตัวแปรโดยใชวัดนักเรียนหาตัวแปร ครูหาตัวแปร และผูบริหารสี่ตัวแปร ดังนี้ นักเรียน 1. ความรูสึกของนักเรียน เร่ืองการไมไดใชประโยชนจากวิชาการ 2. การประเมนิผลและความคาดหวงัในอนาคต 3. การประเมนิผลและความคาดหวงัในปจจุบันที่รูสึก 4. การรับรูดานการสงเสริมและปทัสถานจากครู

18 กรมวิชาการ, แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมสถานศกึษา สภาพแวดลอมของสถานศกึษาและคานยิม, 3-6.

Page 36: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

26

5. ปทัสถานดานวิชาการของนักเรียน ครู 1. ความสามารถ การประเมินผลความคาดหวังและคุณภาพทางการศึกษาของนักเรียน 2. การประเมนิผลความคาดหวังในปจจุบันตอการบรรลุความสาํเร็จของนักเรียน 3. ความยึดมัน่ผูกพนัของนกัเรียนและครใูนการปรับปรุง 4. การรับรูตอความคาดหวงัของผูบริหาร 5. การไมไดใชประโยชนจากวิชาการของครู ผูบริหาร 1. ความเกีย่วของและความคาดหวงัตอคุณภาพทางการศึกษาของนกัเรียน 2. ความพยายามที่จะปรับปรุง 3. การประเมนิผลคุณภาพในโรงเรียน 4. การประเมนิผลและความคาดหวงัของนักเรียนในปจจุบัน19 สิ่งแวดลอมทางการบริหารจัดการ

ส่ิงแวดลอมทางการบริหารไดแกการดําเนินการใดๆ ภายในโรงเรียนใหการปฏิบัติงานสําเร็จลงดวยความรวมมือรวมใจของบุคลากร ซึ่งสังเกตไดจากการดําเนินงานอยางมีระบบ ความเอื้อเฟอเผื่อแผชวยเหลือเกื้อกูลกันและกันของบุคลากรในโรงเรียน ยิ้มแยมแจมใส และเปนมิตรตอกันรักใครกลมเกลียวกัน

ในปค.ศ.1973 ฟอกซ (Fox)ไดใหแนวคิดวาการที่จะพิจารณาวา โรงเรียนใดมีบรรยากาศที่ดีหรือไมนั้นสามารถดูไดจากองคประกอบ 8 ประการดังนี้คือ 1) การยอมรับนับถือ(respect) 2) ความไววางใจ (trust) 3) การมีขวัญสูง (high morale) 4) การมีโอกาสในการทํางาน(opportunity for input) 5)ความเติบโตทางวิชาการอยางตอเนื่อง (continuous academic and school growth) 6) การผนึกกําลัง (cohesiveness) 7) การปรับปรุงโรงเรียน (school renewal ) และ 8)ความเอื้ออาทรตอกัน (caring) ซึ่งแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้

19 Wilburn Brookover and others, School Social System and Student

Achievement School Can Make a Differece (New York : Praeger Publisher, 1979), quoted in Stuart C.Smith, Jo Ann Mazzarella, and Phillip K. Piele, School Leadership (Oregon : Eric, 1981), 173-174.

Page 37: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

27

1.การยอมรับนับถือ (respect) หมายถึง การที่สมาชิกทุกคนในโรงเรียนควรมีความรูสึกวาตัวเองเปนบุคคลที่มีคา มีโอกาสไดรับความรูและแสดงความคิดเห็นที่แตกตางกันทั้งผูบริหารครูและนักเรียน ในโรงเรียนไดรับการยอมรับนับถือตามสมควรแกฐานะ

2.ความไววางใจ (trust) ผูที่ไดรับความไววางใจจะสะทอนใหเห็นถึงความไววางใจของบุคคลนั้นซึ่งบุคคลอื่นจะมองเห็นวาเขาเปนบุคลที่ซื่อสัตยสุจริตจะทําในสิ่งที่ไดพูดเอาไว ความไววางใจระหวางบุคลากรทุกฝายในโรงเรียนสะทอนใหเห็นถึงสภาพบรรยากาศทีด่ใีนโรงเรยีนแตถาบุคลากรในโรงเรียนขาดความไววางใจซึ่งกันและกันก็จะทําใหบรรยากาศในโรงเรียนไมดี

3. การมีขวัญสูง (high morale) คนที่มีความรูสึกที่ดีหรือมีขวัญดีจะสามารถเผชิญกับเหตุการณตางๆไดทุกขณะ ขวัญกําลังใจมีความสําคัญตอการปฏิบัติงาน ทําใหเกิดความรวมมือรวมใจในการทํางานเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค เปนที่ยอมรับกันทั่วไปวา ขวัญกําลังใจของคนมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเปนอันมาก คนที่มีความรูความสามารถแมจะไมสูงนัก แตถามีขวัญกําลังใจดี การทํางานอาจจะไดผลมากกวาคนที่มีความรูความสามารถ

4. การมีโอกาสในการทํางาน (opportunity for input ) ทุกคนไมสามารถที่จะมีสวนในการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่สําคัญๆ ได แตทุกคนมีความเชื่อมั่นวาตนเองมีโอกาสไดแสดงความคิดเห็นและรูวาความคิดเห็นนั้นไดรับการพิจารณา ความมุงหวังของผูบริหารโรงเรียน ก็คือการบริหารงานของโรงเรียนใหเปนไปตามจุดประสงคที่ตั้งไวอยางมีประสิทธิภาพ (efficiency) และมีประสิทธิผล (effectiveness) ซึ่งหลักการสําคัญประการหนึ่งที่จะทําใหผูบริหารโรงเรยีนบรรล ุ จุดประสงคดังกลาวไดก็คือ การใหผูใตบังคับบัญชาไดมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็น และ ตัดสินใจในปญหาที่สําคัญๆ ของโรงเรียน

5.ความเติบโตทางวิชาการอยางตอเนื่อง (continuous academic and school growth) หมายถึง สมาชิกทกุคนมีความตองการที่จะพฒันาตนเองทัง้ในดานวชิาการ สังคม ทักษะทางกายภาพ ความรูและเจตคติ

6. การผนึกกาํลงั (cohesiveness) เปนความรูสึกของบุคคลที่มตีอโรงเรียนโดยมีความรูสึกวาตนเองเปนสวนหนึ่งของโรงเรียน อยากจะอยูที่โรงเรียนและพยายามหาโอกาสทีจ่ะนาํความสามารถที่ตนมีอยูมาใชและชวยเหลอืบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน

7. การปรับปรุงโรงเรียน (school renewal) โรงเรียนเปนสถาบนัที่ควรจัดทําโครงการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพใหกาวหนาและสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง โรงเรียนตองพรอมที่จะรับส่ิงใหม การปรับปรุงตองเปนไปอยางเหมาะสมโดยพิจารณาสิ่งที่ตองการปรับปรุงวาสามารถทาํได

Page 38: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

28

หรือไม โรงเรยีนตองสามารถดําเนนิการปรับปรุงโครงการตางๆ อยางมีประสทิธิภาพโดยปราศจากแรงกดดนัและความขัดแยง

8. ความเอื้ออาทรตอกนั (caring) หมายถึง บุคลากรในโรงเรียนมีความรูสึกวา บุคคลอ่ืนๆ มีสวนเกี่ยวของกับตนในฐานะที่เปนมนษุยผูหนึง่ ซึง่อยูรวมในสงัคม แตละคนจะตองรูและเขาใจธรรมชาติของเพื่อนรวมงาน20

สวนฮอย และคณะ (Hoy and others)มีความเห็นวาองคประกอบบรรยากาศโรงเรียนนั้น ประกอบดวยพฤติกรรมของผูบริหารและพฤติกรรมของครู โดยพฤติกรรมของผูบริหาร มีสามมิติไดแก1.1)การสนับสนุน(supportive) 1.2)การควบคุม(directive) และ1.3) ความเครงครัด (restrictive) สวนพฤติกรรมของครูมีสามมิติเชนกันไดแก2.1) ความเปนมิตร(collegial) 2.2)ความสนิทสนม (intimate ) และ 2.3) การไมใหความรวมมือ (disengaged) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. พฤติกรรมของผูบริหาร มีสามมิติ ไดแก

1.1 การสนับสนุน หมายถงึ ผูบริหารเปนผูที่มีความหวงใยครู รับฟงและเปดโอกาสใหครูแสดงความคิดเห็น ชมเชยยกยองสรรเสริญอยางจริงใจอยูเปนนิจ การวพิากษวิจารณจะเปนไปในเชิงสรางสรรค ใหการยอมรับในสมรรถภาพทางวิชาการของคณะครู รวมทัง้ใหความสนใจในดานวชิาชพีและความเปนสวนตัวของครูแตละคน

1.2 การควบคุม หมายถึง ผูบริหารมีการนิเทศงานอยางใกลชิดและเขมงวด กาํกับ ติดตามควบคุมการทาํงานของครูและกิจกรรมทั้งหมดของโรงเรียนอยางคงที่แมแตสวนที่เปน รายละเอียดเลก็นอยปลกียอย

1.3 ความเครงครัด หมายถึง ผูบริหารมีพฤติกรรมที่ขัดขวางการทํางานมากกวาจะอํานวยความสะดวกในการทํางานของครู จะเพิม่ภาระใหแกครูดวยงานเอกสารและงานทีเ่ปนภาระหนักอืน่ๆ เกนิความรับผิดชอบของครู 2. ดานพฤติกรรมของคร ูมีสามมิติ ไดแก

2.1 ความเปนมิตร หมายถงึ ครูมีลักษณะเปดเผยและมปีฏิสัมพนัธทางวชิาชพีระหวางกัน มีความรูสึกภาคภูมิใจในโรงเรียน สนุกในการทํางานกับเพื่อนรวมงาน กระตอืรือรนใหการยอมรับและแสดงความนับถือเพื่อนรวมงานอยางจริงใจ

20 Robert S. Fox, School Climate Improvement : A Challenge to the School

Administrator, (Colorado : Phi Dela Kappa, 1973) 7-8.

Page 39: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

29

2.2 ความสนทิสนม หมายถึง การที่ครูมคีวามเปนอันหนึง่อันเดยีวกนั มีความสมัพันธทางสังคมตอกันอยางมั่นคง แตละคนจะรูจักกันเปนอยางดี ใกลชิดกนัดวยความเปนเพื่อน มีการพบปะกนัอยางสม่ําเสมอและใหการสนับสนุนชวยเหลือกนัทางสงัคม

2.3 การไมใหความรวมมือ หมายถงึ ครูมีการปฏิบัติกิจกรรมทางวชิาชีพอยางขาดความหมายและไมเอาใจใส ใชเวลาไปโดยเปลาประโยชน ไมมีเปาประสงคในการทาํงาน วิพากษวิจารณและแสดงพฤติกรรมในทางลบตอเพื่อนรวมงานและหนวยงานของตนเอง

ตามแนวคิดของ ฮอยและคณะ (Hoy and others ) ไดจําแนกบรรยากาศองคการออกเปนสี่แบบ คือ 1) แบบเปด(open climate ) 2) แบบใหความรวมมือ (engaged climate ) 3) แบบไมใหความรวมมือ (disengaged climate ) และ 4) แบบปด (closed climate) โดยที่แตละแบบมี รายละเอียดดังนี้

1. แบบเปด (open climate) หมายถึง บรรยากาศที่มีลักษณะของการทํางานรวมกันการยอมรับนับถือและมีความเปดเผยระหวางเพื่อนรวมงานดวยกันเองและระหวางผูบริหารกับผูรวมงาน ผูบริหารรับฟงและยอมรับความคิดเห็นของครู ใหการยกยองชมเชยครูอยางจริงใจ อยูเสมอ ยอมรับความสามารถในการทํางาน ใหอิสระในการปฏิบัติงานโดยไมมีการควบคุมอยางใกลชิด เปนผูนําในการอํานวยความสะดวกในการทํางาน ในขณะเดียวกันเพื่อนรวมงานก็เปดเผยและสนับสนุนพฤติกรรมทางวิชาชีพระหวางกัน รูเร่ืองราวของกันและกันดี คบหากันแบบเพื่อนสนิทและรวมมือกันทํางาน

2. แบบใหความรวมมือ(engaged climate) หมายถงึ ลักษณะบรรยากาศที่ผูบริหารไมมีความสามารถในการเปนผูนาํในขณะที่ครูมีความเปนผูเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และความตองการสวนบคุคลของคณะครู มอบหมายงานแกผูรวมงานเกนิความจําเปน แตคณะครูก็ไมมีปฏิกิริยากับความพยายามในการควบคุมของผูบริหาร แตตรงกันขามกลบัพยายามพฒันาความสามารถทางวิชาชีพของตนเองโดยใหการสนบัสนนุซึ่งกนัและกนั มีความภูมใิจในโรงเรียนและมีความสุขกับการทาํงาน นอกจากจะใหการยอมรบันบัถอืความสามารถของเพื่อนรวมงานแลวยงัใหความสนทิสนมอยางเพื่อน รวมมือกนัในการปฏิบัติการสอนและการเรียนรูงาน

3. แบบไมใหความรวมมือ (disengaged climate) หมายถงึ ลักษณะบรรยากาศที ่ ผูบริหารมีพฤติกรรมการเปนผูนาํที่เดน มีการสนับสนนุใหความชวยเหลอืและหวงใยตอครู ยอมรับฟงและเปดโอกาสใหครูไดแสดงความคิดเหน็ ใหครูมีอิสระในการปฏิบัติงานตามหลกัเกณฑความรูทางวิชาชีพของตน ผอนผันงานทีเ่ปนภาระหนักและกฎระเบียบเล็กๆ นอยๆ สวนครูจะมีลักษณะที่ไมมคีวามเต็มใจในการปฏิบัติงานตามหนาทีท่ี่ตนรับผิดชอบละเลยตอความคิดริเร่ิมของ

Page 40: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

30

ผูบริหาร ไมใหความรวมมอื ขัดขวางในการเปนผูนําของผูบริหาร มีความรูสึกไมชอบหรือไมใหการยอมรับเพื่อนรวมงานดวยกันเอง ไมใหความรวมมือในการทํางาน ถงึแมผูบริหารจะใหการสนับสนุน มีความยืดหยุนและไมมีการควบคุมอยางใกลชิด คณะทํางานเกิดความแตกแยก ขาดความอดทนและไมรวมมือกัน

4. แบบปด (closed climate) หมายถึง ลักษณะบรรยากาศที่ผูบริหารจะเนนหนักกับกิจวัตรประจําวันและเรื่องเล็กๆนอยๆ ที่ไมจําเปน ควบคุมการทํางานอยางเขมงวด ไมมคีวามเหน็ใจ ไมใหการสนับสนุนชวยเหลือครูและไมมีความยืดหยุนในการบริหารงาน สวนครูจะแสดงความผูกพันตองานเพียงเล็กนอย ไมใหความรวมมือในการทํางาน ขาดความเคารพนับถือซึ่งกันและกัน ไมมีความสนิทสนมคุนเคย มีลักษณะแตกแยก เฉื่อยชา ไมอดทนและไมจริงใจตอกัน21

แนวปฏบิัติของโรงเรียนในการจัดสิ่งแวดลอม

โรงเรียนสามารถจัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนใหเอื้อตอการเรียนรู โดยมแีนวปฏิบัติดังตอไปนี ้

ข้ันตอนที่ 1 นโยบายสิง่แวดลอม(Environmental Policy) ในการดาํเนนิระบบการจัดการสิ่งแวดลอมของโรงเรยีน ผูบริหารสูงสุดของโรงเรียนนับวาเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญที่จะตองมีความมุงมัน่อยางจรงิจงัในการดําเนนิการ การกาํหนดนโยบายสิ่งแวดลอมทีเ่หมาะสมกับสภาพขนาด และลักษณะของการจัดกจิกรรมของโรงเรียน

ข้ันตอนที ่ 2 การวางแผน (Planning) เพื่อใหสามารถบรรลุนโยบายสิ่งแวดลอมทีว่างไว โรงเรียนตองวางแผนในการดําเนนิการตามขอกําหนดตาง ๆ ดงันี ้

2.1 สรุปข้ันตอนการดําเนนิการระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 ในโรงเรียน การระบุลักษณะปญหาสิง่แวดลอม (environmental Aspects)

- กําหนดระเบยีบปฏิบัติการระบุลักษณะปญหาสิง่แวดลอม -แจกแจงรายละเอยีดกจิกรรมในโรงเรียนทีจ่ะมผีลกระทบตอ

ส่ิงแวดลอม

21 Wayne K. Hoy, C. John Tarter, and Robert B. Kottkamp, Open

School/Healthy School : Measuring Organizational Climate, (Nenbury Park : Sage Publications Inc., 1991).,30-47.

Page 41: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

31

2.2 กฎหมาย และขอกาํหนดอืน่ ๆ (Legal and other requirements)- กําหนดระเบียบปฏิบัติในการพิจารณาขอกําหนดกฎหมายและระเบียบอื่น ๆ ทีเ่กี่ยวของกับกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียน

-แจกแจงขอกาํหนดและกฎหมายที่เกี่ยวของแสดงการปฏิบัติใหสอดคลอง

2.3 วัตถุประสงคและเปาหมาย (Objective and targets) - กําหนดวตัถุประสงคและเปาหมายดานสิง่แวดลอมใหสอดคลองกับ

นโยบายชัดเจนและสามารถวัดผลได 2.4 โครงการจดัการสิ่งแวดลอม

-โรงเรียนตองจัดทําโครงการหรือแผนงานสิ่งแวดลอมเพือ่ใหบรรลุตามวัตถุประสงค และเปาหมาย

- กําหนดระยะเวลาดาํเนนิงาน และผูรับผิดชอบอยางชดัเจน ข้ันตอนที ่ 3 การดําเนนิการ (Implementation) เปนขัน้ตอนของการนําไปปฏิบัติ เพื่อให

แผนงานหรือโครงการสิ่งแวดลอมไดดําเนนิตามแผนทีว่างไว จําเปนตองแสดงการปฏิบัติงานใหครอบคลุมถึงขอกําหนดตาง ๆ ดงันี ้

3.1 โครงสรางและหนาที่ความรับผิดชอบ (Structure and responsibility) - ตองกาํหนดหนาที่ความรบัผิดชอบของบุคลากรใหชัดเจน

3.2 การฝกอบรมเพื่อสรางจิตสํานึกและความสามารถ (Training: awareness and competence)

- ตองแสดงความจําเปนของการฝกอบรม - บุคลากรที่ปฏิบัติงานในลกัษณะที่อาจกอใหเกิดผลกระทบสําคัญตอส่ิง

แวดลอมตองไดรับการฝกอบรม 3.3. การสื่อสาร และการประชาสัมพันธ (Communication)

- โรงเรียนตองกําหนดวธิีการประชาสัมพันธทั้งภายใน และภายนอก 3.4 การจดัทําเอกสารดานระบบการจดัการสิ่งแวดลอม (Environmental

management system documentary) -โรงเรียนตองจัดทําระบบเอกสารที่เกี่ยวของกับระบบการจัดการ

สิ่งแวดลอม ซึง่ครอบคลุมถงึคูมือส่ิงแวดลอม (EM) ระเบียบปฏิบัติงาน (EP) วิธีการ ปฏิบัติการ (EW) และการบันทกึขอมูล (EF)

Page 42: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

32

3.5 การควบคมุเอกสาร (Document Control) - โรงเรียนตองกําหนดวิธีการควบคุมเอกสารดานการจัดการสิ่งแวดลอม

เชน การขึ้นทะเบียนเอกสาร ระยะเวลาการจัดเก็บ ทบทวน ปรับปรุง แจกจายและกําจดัเอกสารทีเ่ลิกใชทิง้

3.6 การควบคุมการปฏิบัติงาน (Operation control) - โรงเรียนตองบงชี้วากิจกรรมใดตองควบคุมการปฏิบัติงาน - การจัดทําระเบียบปฏิบัติเพื่อควบคุมการดําเนินงาน

3.7 การเตรียมพรอมในสถานการณฉุกเฉิน (Preparedness and response) - โรงเรียนตองวางแผนเตรียมวางแผนรับสถานการณฉุกเฉินจากอุบัติเหตุ

ตาง ๆ ข้ันตอนที ่ 4 การตรวจสอบและปฏิบัติการแกไข (Checking and corrective action)

เพื่อใหการจัดการสิ่งแวดลอมไดรับการตรวจสอบแกไขตองดําเนินการตามขอกําหนดตอไปนี้ 4.1 การเฝาระวังและวัดผล (Monitoring and measurement)

-กําหนดระเบยีบปฏิบัติในการเฝาระวงัและวัดผลจากกจิกรรมใด ๆ ที่จะกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม

- บันทึกผลการปฏิบัติงานเพือ่การแกไข 4.2ส่ิงที่ไมเปนตามขอกําหนดปฏิบัติการแกไขและปองกนั

(Nonconformance and corrective and preventative action) -โรงเรียนตองจัดทาํระเบียบปฏิบัติงานเพื่อรายงานสิ่งที่ไม

เปนไปตามขอกําหนด - ดําเนนิการแกไขและปองกนัไมใหเกิดซ้ํา 4.3 บันทึก (Records) - จัดทําระเบียบปฏิบัติงานเพื่อควบคุมการบันทึกตาง ๆ เพื่อ

การตรวจติดตามและทบทวนได 4.4การตรวจติดตามระบบการจัดการสิ่งแวดลอม

(Environmental system audit) ข้ันตอนที่ 5 การทบทวน โดยฝายบริหาร (Management review) ผูบริหารระดับสูง

ของโรงเรียนตองทบทวนระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (EMS) ในระยะเวลาที ่

Page 43: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

33

เหมาะสมเพื่อใหการดําเนนิงานมีประสิทธผิลและมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง22

งานวจิัยที่เกีย่วของ จากการศึกษางานวิจยัเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ผูวิจัยไดรวบรวมงานวิจยัทัง้ในประเทศและตางประเทศ ดังนี ้ งานวจิัยในประเทศ

ธเนศ ขําเกิด ไดดําเนินการประเมินโครงการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดี ในโรงเรียน โดยใชเทคนิคการวางแผนเปนทีม เพื่อประเมินการจัดสภาพแวดลอม 3 ดานคือดานกายภาพ ดานวิชาการและดานการบริหารการจัดการ โดยกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานโครงการไว 3 ข้ันตอน คือ การกําหนดหลักสูตร การจัดอบรมทีมงานที่ประกอบดวยผูบริหาร ผูชวยผูบริหารและหัวหนาหมวดวิชาและกําหนดรูปแบบการนําผลการอบรมไปใชในโรงเรียน จากการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล พบวา กอนการดําเนินการ ครูมี ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดลอมที่ดี ของโรงเรียนทุกดานดวยคะแนนรอยละ 65.71 และหลังการดําเนินการรอยละ 64.74 กอนดาํเนนิการครูมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดลอมที่ดี ดานกายภาพรอยละ 64.74 การจัดสภาพแวดลอมดานวิชาการรอยละ 68.08 การจัดสภาพแวดลอมดานการบริหาร การจัดการ รอยละ 64.33 และหลังดําเนินการแตละดานเปนรอยละ 75.56 ,75.40 และ 75.10 ตามลําดับ และยังพบวา โรงเรียนมีการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมเพิ่มข้ึนทุกโรงเรียน และผลทางออมยังพบวาผูเขารวมโครงการทั้ง 16 โรงเรียน ทุกคนมีความเห็นวาเทคนิคการวางแผนเปนทมีเปนเทคนคิทีส่ามารถนาํมาใชในการพัฒนาบรรยากาศและสภาพแวดลอมในโรงเรียนไดบังเกิดผลดี และทําใหบุคลากรในโรงเรียนเกิดความสัมพันธที่ดีตอกัน23

บรรเลง รอดแดง ไดวิจัยการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสมุทรปราการปการศึกษา2536-2538 จากการศึกษาพบวา การพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสมุทรปราการในทัศนะของนักเรียนพบวากลุมรวมทั้งหมดมีความคิดเห็นวา การพัฒนา

22 สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต,ิ การพัฒนาโรงเรียนตามกรอบมาตรฐานสากล (กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต,ิ 2545), 91-95.

23ธเนศ ขําเกดิ, การพฒันาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียน โดยใชเทคนิค การวางแผนเปนทมี (กรุงเทพฯ : กรมสามญัศึกษา, 2539), 1-8.

Page 44: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

34

บรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนอยูในระดับสูง เมื่อพิจารณาจําแนกกลุมนักเรียน ตามเพศ อายุและระดับการศึกษา นักเรียนมีความคิดเห็นวาการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสมุทรปราการ อยูในระดับสูงทั้งหมดทั้งพิจารณาเปนรายดานทุกๆ ดาน ผลดังกลาว เนื่องมาจาก โรงเรียนไดพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมทั้งดานทัว่ไป ดานวชิาการและดานบรกิารอยางตอเนื่องและประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่วางไวเปนอยางดี จากเหตุและผลดังกลาวทําใหนักเรียนมีความรูสึกที่ดีตอการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาใหสภาพที่ดี ข้ึนตลอดระยะเวลา 3 ป การศึกษาและการดําเนินการเปนไปอยางเปนระบบ และบรรลุเปาหมายที่วางไวไดอยางดี24

ชัยวัฒน สกุณา ศึกษาสภาพแวดลอมและบรรยากาศในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ จังหวัดพิษณุโลก พบวา การจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศในโรงเรียนจัดตามเกณฑอยูในระดับสูงและสูงมาก นอกจากนี้ยังพบวา ความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมกับบรรยากาศในโรงเรียนทุกเรื่องมีความสัมพันธกันในทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .0525

ระวีวรรณ ขันธาโรจน ไดวิจัยสภาพแวดลอมทางกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน พบวา โรงเรียนสวนใหญอยูทามกลางมลภาวะบริเวณโรงเรียนสวนใหญมีอาคารสูงบังบางดานพื้นที่ของโรงเรียนคับแคบขยายตัวไมได26

24บรรเลง รอดแดง,การพฒันาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสมุทรปราการ

(สมุทรปราการ: โรงเรียนสมทุรปราการ, 2539), บทคัดยอ. 25ชัยวฒัน สกณุา,”การศึกษาสภาพสิง่แวดลอมและบรรยากาศในโรงเรียน

ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแหงชาต ิจงัหวัดพิษณุโลก”(วิทยานพินธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวทิยาลัย มหาวิทยาลยันเรศวร,2540),บทคัดยอ.

26ระวีวรรณ ขันธาโรจน,”สภาพแวดลอมทางกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาสังกดักรุงเทพมหานคร เขตปทุมวนั” ”(วิทยานพินธปริญญาศกึษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร,2540),บทคัดยอ.

Page 45: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

35

พันธศักดิ์ นิ่มพานิช ไดศึกษาสภาพการบริหารอาคารสถานที่และบริเวณโรงเรียนในดานการจัดสรางการใชการบํารุงรักษาการควบคุมดูแล และการประเมินผลการใชอาคารสถานที่และปญหาในปจจุบัน และสภาพที่ควรจะเปนเกี่ยวกับการบริหารอาคารสถานที่ และบริเวณโรงเรียนตามความคิดเห็นของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ผลการวิจัยพบวา สภาพการบริหาร อาคารสถานที่และบริเวณโรงเรียนนั้น มีการดําเนินการตามกระบวนการคือ โรงเรียนสวนใหญ มีการจัดสรางใหมีอาคารสถานที่ไดครบถวนตามภารกิจ มีการใชตามสภาพของโรงเรียน มีการบํารุงรักษาอยางดี มีการจัดบุคลากรทําหนาที่เวรยาม อยางไรก็ตาม ดานการประเมินผลการใชพบวาโรงเรียนสวนใหญไมมีอาคารพลศึกษา สวนปญหาในปจจุบันปรากฏวา มีการวางตวัอาคารไมเหมาะสม เห็นวาสิ่งที่ควรดําเนินการคือหมุนเวียนเวลาใชพื้นที่ของนักเรียนและเห็นวาควรแบงเขตอาคารเรียน อาคารประกอบไวเปนสัดสวนโดยพิจารณาถึงความเหมาะสมดานความสัมพันธระหวางวิชา27

สุรพล นุชงอน ไดศึกษาการบริหารงานและปญหาในการบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญสังกัดกรมสามัญศึกษาในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา การบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนทั้ง 4 ดาน คือ การวางแผน การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมบริเวณโรงเรียน การบริหารอาคารเรียน อาคารประกอบและการรักษาความปลอดภัย การใชและการบํารุงรักษาอาคารสถานที่ โรงเรียนสวนใหญ ยังดําเนินการบริหารงานอาคารสถานที่ไดผลไมครบถวนตามเกณฑมาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา และยังไมไดมาตรฐานดังที่คาดหวังไวตามแนวนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พ.ศ.2539-2550บัญญัติ 10 ประการ ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2539 และเกณฑมาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษาพ.ศ.2539 เกี่ยวกับการบริหารอาคารสถานที่

27พนัธศักด ิ นิ่มพานิช,”การบริหารอาคารสถานที่และบริเวณโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มี

พื้นที่จํากัดในกรุงเทพมหานคร”(วิทยานิพนธปริญญาศกึษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร,2541),บทคัดยอ.

Page 46: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

36

ปญหาการบริหารงานอาคารสถานที่ พบวาโรงเรียนสวนใหญไดรับการจัดสรรงบประมาณในการกอสรางและการบํารุงรักษาอาคารสถานทีไ่มเพียงพอ ขาดบุคลากร ดูแลรักษาอาคารสถานที ่สภาพพืน้ทีม่ีจาํกัดไมสามารถขยายหรือปรับปรุงได นอกจากนัน้จํานวนนักเรียนเพิม่มากขึน้ทกุปทําใหอาคารสถานที่ไมเพียงพอ28

พิชญานันท คงทน ศึกษาความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมและบรรยากาศในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก พบวา สภาพแวดลอมในโรงเรียนดานการใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียน การจัดอาคารเรียนอาคารประกอบ การจัดระบบสุขาภิบาล บรรยากาศดานวิชาการและบรรยากาศดานการบริหารในโรงเรียนจัดอยู ในระดับสูงและสูงมากเปนสวนใหญและสภาพแวดลอมกับบรรยากาศในโรงเรียนที่มีความสัมพนัธทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ไดแก การใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียนกับการจัดอาคารเรียนอาคารประกอบ การใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียนกับการจัดระบบสุขาภิบาลในโรงเรียน การใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียนกับบรรยากาศดานวิชาการ การจัดอาคารเรียนอาคารประกอบกับการจัดระบบสุขาภิบาลในโรงเรียน การจัดอาคารเรียนอาคารประกอบกับบรรยากาศดานวิชาการ การจัดระบบสุขาภิบาลในโรงเรียนกับบรรยากาศดานวิชาการ และบรรยากาศดานวิชาการกับบรรยากาศดานการบริหารการจัดการ29

สมศรี ศักดิ์รุงพงศากุล ไดศึกษาสภาพและปญหาการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนนทบุรี ผลการวิจัยพบวา ดานการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียน กิจกรรมที่จัดมากไดแกการจัดทําแผนหรือโครงการระยะ 1 ป การทําความสะอาด การปลูกตนไม ดานการสรางจิตสํานึกในการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม กิจกรรมที่จัดมาก ไดแกการบําเพ็ญประโยชนรวมกับชุมชนเกี่ยวกับสภาพแวดลอมและการรักษา

28สุรพล นุชงอน ,”การบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร”(วิทยานพินธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,2541),บทคัดยอ.

29พิชญานนัท คงทน, ความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมและบรรยากาศในโรงเรยีนขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพืน้ฐาน สังกัดสํานักงานการประถมศกึษา จงัหวัดพิษณุโลก (พิษณุโลก: คณะกรรมการวจิัยการศึกษา ศาสนาและวฒันธรรมเขตการศึกษา7,2541), บทคัดยอ.

Page 47: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

37

ความสะอาด ดานการเรียนการสอนสิ่งแวดลอมศึกษา มีการจัดหาเอกสารและการจัดหลักสูตรส่ิงแวดลอมศึกษาในโรงเรียนและดานการเปนผูนาํและความรวมมือกบัชุมชน มกีารรณรงครักษาความสะอาดกับหนวยตางๆ ในชุมชน สําหรับเร่ืองปญหาในการจัดนั้นพบวาสวนใหญมีปญหาดานงบประมาณ ปญหาน้ําทวมขงั และปญหาการขาดแคลนบุคลากรที่รับผิดชอบในการจัดส่ิงแวดลอม30

อรุณี ราชพัฒน ไดศึกษาเรื่อง”การจัดสิ่งแวดลอมและกิจกรรมเสริมหลักสูตรของโรงเรียนในโครงการปฏิรูปการศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเลย”พบวานโยบายการดําเนินงานในเรื่องการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนทุกขนาดที่เปนกลุมตัวอยางเนนการจัดบริเวณและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนใหสะอาด รมร่ืน สวยงาม โดยเฉพาะสวนหยอม ปลูกตนไม ดอกไมประดับและไมยืนตน การจัดสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวกับอาคารเรียน อาคารประกอบ การจัดการสุขาภิบาลและการจัดบริเวณโรงเรียนของโรงเรียนทุกขาดมีการดําเนินการไปตามหลักการจัดส่ิงแวดลอมในโรงเรียนคือความรมร่ืน สวยงามและสะดวกสบาย ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ความปลอดภัยจากโรคติดตอ และความเหมาะสมกับการพัฒนาการทางรางกายซึ่งโรงเรียนทุกขนาดเนนตามขอ 2 ของบัญญัติ 10 ประการที่ตองการใหโรงเรียนมีส่ิงแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนการสอนปลูกฝงเรื่องความสะอาดและใหโรงเรียนรมร่ืน31

พรลักษณ สวางศรี ไดศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นในการนํามาตรฐานระบบการจัดการ ส่ิงแวดลอม ISO 14001 มาใชในโรงเรียนประถมศึกษา โครงการนํารอง สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ ผลการวิจัยพลวา 1) ความคิดเห็นที่มีตอการปฏิบัติตามกระบวนการของมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม: ISO 14001 ในโรงเรียนทั้งในการเปรียบเทียบระหวาง

30สมศรี ศักดิ์รุงพงศากุล, ”การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัด

สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนนทบรีุ”(วิทยานพินธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑติวิทยาลัย มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร,2542),บทคัดยอ.

31อรุณี ราชพัฒน, ”การจัดสิง่แวดลอมและกจิกรรมเสรมิหลักสตูรของโรงเรยีนในโครงการปฏิรูปการศึกษา สังกดัสํานกังานการประถมศกึษาจังหวดัเลย”(วทิยานพินธปริญญามหาบณัฑิต สาขาการวจิัยและประเมนิผลการศกึษา บัณฑิตวทิยา มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร,2542),บทคัดยอ.

Page 48: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

38

โรงเรียนสองกลุมการวิจัยและการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผูใหขอมูลสามกลุมในแตละกลุมการวิจัย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.5 2) การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมใน ดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ในการเปรียบเทียบระหวางโรงเรียนสองกลุมการวิจัยไมแตกตางกัน สวนการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของผูใหขอมูลสามกลุมในแตละกลุมการวิจัยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 3) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโรงเรียนไมแตกตางกัน 4)ผลการเรียนรูดานพลังงานและสิ่งแวดลอมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่หาดานพุทธิพิสัยและดานจิตพิสัยแตกตางกัน สวนดานทักษะพิสัยไมแตกตางกัน32

สิริ รอดอิ้ว ไดทําการศึกษาผลการทดลองและประเมินผลการนํามาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 มาใชในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแหงชาติในลักษณะโครงการนํารองจํานวน 5 โรงเรียน โดยใช CIPP Model เปนรูปแบบสําหรับการประเมินผลกระบวนการตามลําดับ ซึ่งสามารถสรุปเปนภาพรวมไดดังนี้ ผลการปฏิบัติหลังดําเนินการการนํามาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 มาใชในโรงเรียนประถมศึกษาสูงกวากอนดําเนินการในทุกดาน สวนการประเมินผลการปฏิบัติตามขั้นตอนของการนํามาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO14001 มาใชในโรงเรียนประถมศึกษาปรากฏวาผานการประเมินในระดับดีมาก และผูบริหารโรงเรียน ครู ผูปกครองและหรือกรรมการ โรงเรียน มีความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติในการนํามาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 มาใชในโรงเรียนประถมศึกษาไมแตกตางกัน คือ มีความเห็นดวยที่โรงเรียนนํามาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 มาใชในโรงเรียน และเห็นวาเปนโครงการที่มีประโยชนในการปลุกจิตสํานึกใหนักเรียน ผูปกครอง และชุมชนไดตระหนักและระมัดระวังที่จะไมสรางมลภาวะ ที่สงผลกระทบตอส่ิงแวดลอม33

32พรลักษณ สวางศร ี ,”ผลกระทบที่เกิดขึ้นในการนาํมาตรฐานระบบการจดัการ

ส่ิงแวดลอม: ISO14001 มาใชในโรงเรียนประถมศึกษาโครงการนํารองสังกดัสํานักงานการประถมศึกษาแหงชาติ”(วิทยานพินธ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิารการศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร,2543),บทคัดยอ.

33สิริ รอดอิ้ว,การนํามาตรฐานระบบการจัดสิ่งแวดลอมISO14001 มาใชในโรงเรยีนประถมศึกษา”(วิทยานพินธ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2543),บทคัดยอ.

Page 49: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

39

ณุตตรา แทนขํา ไดศึกษาเรื่อง”การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสิ่งแวดลอมดีเดนระดับประถมศึกษาปพุทธศักราช2541” พบวา โรงเรียนที่ไดรับรางวัลส่ิงแวดลอมดีเดนมีการจัดสภาพแวดลอมภายในบริเวณโรงเรียนใหรมร่ืน มีที่รองรับขยะและมีกิจกรรมประหยัดพลังงานไฟฟาและน้ํา ผูบริหารโรงเรียนใหความสําคัญในการจัดกิจกรรมสิ่งแวดลอมศึกษา บุคคลในโรงเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรมสางแวดลอมศึกษา โดยเนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงเพื่อใหเกิดความตระหนักในการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม34

ดํารง ออนนวม ไดศึกษา สภาพและปญหาการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนประถมศึกษาเอกชนกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนดําเนินการทั้ง4 ดาน โรงเรียนสวนใหญดําเนินการดังนี้ 1)ดานการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะ คือ โรงเรียนจัดทําแผนงานโครงการพัฒนาสิ่งแวดลอม 2) ดานการเสริมสรางความตระหนักในการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมโรงเรียน ใหการยกยองชมเชยบุคลากร และนักเรียนที่มผีลงานดเีดนดานสิ่งแวดลอม 3)ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสิ่งแวดลอมศึกษาโรงเรียนจัดกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนในวันสําคัญและรวมกันปลูกไมดอกไมประดับในโรงเรียน4)ดานการประสานงานและรวมมือกับชุมชนพบวาผูบริหารและบุคลากรใหความรวมมือกับหนวยงานอื่น ชมรม สมาคม ดําเนินการรณรงคและพัฒนาสิ่งแวดลอม สวนที่ไดดําเนินการ คือการจัดทําแผนงานระยะยาว การปลูกตนไมยืนตน การจัดหาสื่อ โปสเตอร สไลด วิดีโอ หนังสือ เอกสาร วารสารตางๆไว เพิ่มพูนความรู การนําผลการประเมินการเรียนการสอนสิ่งแวดลอมศึกษาไปใชไมไดประสานงานกับชุมชนเพื่ออนุรักษส่ิงแวดลอมทั่วไปของโรงเรียนและชุมชน สําหรับปญหาที่พบสวนใหญ คือ โรงเรียนขาดบุคลากรที่มีประสบการณ ขาดงบประมาณและขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ35

34ณุตตรา แทนขํา,”การจัดสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาดีเดนระดับประถมศึกษา ปพทุธศักราช 2541”(วิทยานพินธปริญญาหมาบัณฑติ สาขาสิง่แวดลอมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยมหิดล,2543),บทคัดยอ.

35ดํารง ออนนวม, ”การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนประถมศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร(วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,2543),บทคัดยอ.

Page 50: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

40

ทวีศิลป สารแสน ศึกษาความสัมพันธระหวางองคประกอบของสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนดานครูผูสอนกับความพึงพอใจของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา พบวาโรงเรียนมัธยมศึกษามีสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนดานครูผูสอนโดยภาพรวมอยูในระดับดี นักเรียนมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนดานความรูและประสบการณการสอนของครมูากเปนอันดับหนึ่ง รองลงไปคือเทคนิคการสอนของครู สวนดานการสรางบรรยากาศในหองเรียนนั้น นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เทานั้น โดยสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนมีความสัมพันธกับความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนในระดับสูงและมีทิศทางของความสัมพันธอยูในทางเดียวกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .0136

วิลาวัลย บัวหุง ศึกษาประเมินประสิทธิผลการจัดสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (โรงเรียนสตรีวิทยาและโรงเรียนสารวิทยา) เปรียบเทียบกับโรงเรียนที่ไมมีระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (โรงเรียนหอวังและโรงเรียนเบญจมราชาลัย) ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใชแบบจําลองซิป (CIPP MODEL) จากการประเมินสภาวะแวดลอม พบวาโรงเรียนสตรีวิทยา และโรงเรียนสารวิทยาเปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญพิเศษ โรงเรียนตั้งอยูในเขตชุมชนริมถนนใหญที่มีการจราจรคับค่ังบริเวณที่ตั้งโรงเรียนมีปญหามลพิษ ส่ิงแวดลอมที่สงผลกระทบตอบุคลากรในโรงเรียนโรงเรียนจึงไดพิจารณาวาปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเปนปญหาของคนทั้งประเทศและตอไปจะเปนปญหาของคนทั้งโลก จึงมีความจําเปนที่จะตองสรางความตระหนักใหแกเยาวชนเพื่อ จะไดเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม โดยการพัฒนาโรงเรียนเขาสูระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) ซึ่งการดําเนินการจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) นักเรียนจะเกิดการเรียนรูที่จะอนุรักษและรักษาสภาพแวดลอมจากการเขามารวมกิจกรรมกับครูอาจารยโรงเรียนไดรับประโยชนจากระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) มากที่สุดคือ การอนุรักษส่ิงแวดลอม รองลงมา ไดแก การปองกันมลพิษ การสราง

36ทวีศิลป สารแสน,”ความสัมพนัธระหวางองคประกอบของสภาพแวดลอมทางการ

เรียนในหองเรยีน ดานครผููสอนกับความพงึพอใจของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา”(วิทยานิพนธปริญญาการศกึษาดษุฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร,2543),บทคัดยอ.

Page 51: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

41

ภาพพจนของโรงเรียน การประหยัดคาใชจาย สวนในโรงเรียนหอวังและเบญจมราชาลัย ไดดําเนนิงานดานสิ่งแวดลอม โดยจัดทาํแผนและกาํหนดนโยบายใหสอดคลองกบัสภาพปจจุบนัของปญหาสิง่แวดลอมโดยจดัทาํแผนและกาํหนดนโยบายใหสอดคลองกบัสภาพปจจุบนัของปญหาส่ิงแวดลอมในโรงเรียนซึง่จะเปนแผนเฉพาะกิจแตยังขาดการตอเนื่องในการปฏิบัต3ิ7

งานวจิัยตางประเทศ

ซีเกอร (Seager) ไดศึกษาเกี่ยวกับสถานศึกษาวา ควรประกอบดวยลักษณะทางสภาพแวดลอมคือ ตองมีขนาดกวางพอเหมาะกับโครงการปจจุบันและตองขยายไดในอนาคตตองอยูในสถานที่ปลอดภัย สวยงาม และสามารถใชประโยชนเพื่อกิจกรรมกลางแจงและสันทนาการไดมากที่สุด การวางแผนยังใหสามารถเปลี่ยนแปลงไดเพื่อใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในอนาคต จัดสวนที่อึกทึกและสงบออกจากกัน 38

ยาท(Yates) ไดศึกษาเรื่อง”ความยืดหยุนของการพัฒนาอาคารสถานที่และการใชประโยชนจากอาคารสถานที่ของโรงเรียนประถมศึกษา”ผลกการศึกษาพบวาโรงเรียนรูจักการใชประโยชนจากอาคารสถานที่อยางรวดเร็วและการใชรูจักจัดหองใหกวาง โดยแบงหองดวยกระดานดําหรือตูเคลื่อนที่ไดงาย เมื่อเปรียบเทียบกับป 1960 แลว ปรากฏวาโรงเรียนในป 1968 รูจักยืดหยุนในการปรับปรุงพัฒนาอาคารสถานที่มากขึ้น บุคลากรในโรงเรียนประถมศึกษามีแนวโนมวาจะรูจักยืดหยุนใชประโยชนจากอาคารสถานที่มากกวาบุคลากรในโรงเรียนมัธยม โรงเรียนจํานวน 9 ใน 12 โรงเรียนที่ศึกษามีความยืดหยุนในการใชอาคารสถานที่สูงมาก39

37วิลาวัลย บวัหุง ,”การประเมินประสทิธิผลการจัดสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนระดบัมัธยมศึกษาทีม่ีระบบการจัดสิ่งแวดลอม(ISO 1400)ในเขตกรุงเทพมหานคร”(วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร,2545),บทคัดยอ.

38P.M. Seager, Proposed School Building Code for Thailand (Indiana : Indiana University,1961) Abstracts.

39D.P. Yates, “Flexibility in School Plant Development and Utilization,” Dissertation Abstracts International 29(January 1969) : 2084 -A.

Page 52: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

42

วอลโคสซ (Walkorz) ไดสํารวจโครงการสิ่งแวดลอมและนิเวศวิทยาในโรงเรียนประถมศึกษา 14 โรง ในมลรัฐอิลินนอยส โดยเก็บขอมูลจากผูบริหารและครู อาจารย ที่เกี่ยวของพบวา วิธีการสอนควรใชส่ือหลายชนิดและศึกษานอกสถานที่ หลักสูตรควรเนนการแกปญหาเปนสําคัญ40

เบอรเชทท (Burchett) ไดศึกษาเรื่อง”เจตคติเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4,5 และ 6 พบวา ส่ิงที่มีอิทธิพลตอเจตคติของนักเรียนคือการสอนของครู การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนและสิ่งเราภายนอก เปนตัวการสําคัญที่สงผลถึงเจตคติของนักเรียน โดยเนนวาองคประกอบที่สําคัญยิ่งที่จะเปนตัวเปล่ียนแปลงเจตคติของนักเรียนคือการไดมีสวนรวมในการแกปญหาสิ่งแวดลอม41

เมอรรอลและเทรนเตอร (Malone and Tranter) ไดศึกษาเรื่องบรรยกาศสภาพแวดลอมการเรียนรูของนักเรียนตอการจัดการและการออกแบบของบริเวณโรงเรียน พบวา ความแตกตางที่หลากหลายระหวางโรงเรียน โดยเฉพาะประเภทของการเลนและสภาพแวดลอมมีผลตอ การเรียนรูและมีความสัมพันธกับคุณภาพทางกายภาพของโรงเรียน และยังพบวาเกี่ยวของกับการใชและการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมภายนอกหองเรียนเชนเดียวกัน42

40Waikorz, Vivian A.”A Study of Environmental Ecological Education Program in the ELEMENTARY Grades in Selected Cities of lllinois, ”Dissertation Abstracts International,35(November 1972):1997A.

41Betly M.Burchett,”A Descriptive Study of Fourth,Fifty and Sixty Grade Student Attitude Related to Environment Problem,”Dissertation Abstracts International 32 February 1972 ) : 4439.

42 Malone,Karen and Paul Tranter.”Chidren’s Environmental Learning and the Use,Design and Mannagement of Schoolgrounds.”13(2), 2003.Retrieved from

http://Colorado.edu/journala/cye.

Page 53: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

43

สรุป จากแนวคิดและทฤษฏีที่กลาวขางตน จะเห็นไดวา การจัดสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียนมี

ความสําคัญยิ่งตอการพัฒนาโรงเรียน โดยการสงเสริมบุคลากรในโรงเรียนใหมีจิตสํานึกใน การรักษาสิ่งแวดลอมที่ดีและมีประสิทธิภาพ เพราะสิ่งแวดลอมดี เหมาะสมจะนําไปสูการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพของผูเรียน จากแนวคิดดังกลาวผูวิจัยไดนําแนวคิดของกรมสามัญศึกษาที่กําหนดการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนมัธยมศึกษาไว 3 ประเภท คือ 1) ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ไดแก สภาพแวดลอมที่เปนวัตถุทั้งหลายเชน บริเวณโรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองน้ํา หองสวม หองประกอบ ครุภัณฑและวัสดุอุปกรณตางๆ ส่ิงที่ชี้วัดถึงลักษณะส่ิงแวดลอมทางกายภาพที่ดีไดแกความชุมช้ืน การถูกสุขลักษณะ ความรมร่ืน ความสวยงาม ความสะอาด ความเปนระเบียบ ความสะดวก ฯลฯ 2) ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ ไดแก การจัดบรรยากาศทางการเรียนการสอน ทั้งในและนอกหองเรียน ตลอดจนการจัดบริการเพื่อสงเสริมสนับสนุนทางวิชาการตางๆและประสบการณ 3) ส่ิงแวดลอมทางการบริหารการจัดการ ไดแก การดําเนินการใดๆ ภายในโรงเรียนใหมีการปฏิบัติงานสําเร็จลงดวยความรวมมือรวมใจของ บุคลากร ซึ่งสังเกตไดจากการดําเนินงานอยางมีระบบ ความเอื้อเฟอเผื่อแผชวยเหลือเกื้อกูลกันและกันของบุคลากรในโรงเรียน การจัดสิ่งแวดลอมทั้งสามประการใหเอ้ืออํานวยตอการเรียนรูของผูเรียน และการทํางานของบุคลากร จึงเปนหนาที่หลักสําคัญประการหนึ่งที่โรงเรียนตองคํานึงถึงและดําเนินการใหเกิดประสิทธิภาพ

Page 54: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

44

บทที่ 3การดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึนไปอันจะสงผลตอคุณภาพการจัดการศึกษา การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงพรรณนา(descriptive research) โดยใชบุคลากรของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี และผูเกี่ยวของเปนหนวยวิเคราะห (unit of analysis) ในการวิจัยดําเนินวิจัยไดกําหนดขั้นตอนการดําเนินการวิจัยและระเบียบวิธีวิจัยซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ขั้นตอนการดําเนินการวิจัยเพื่อใหการวิจัยดําเนินการไปอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงคของการวิจัย

ผูวิจัยจึงกําหนดรายละเอียดและขั้นตอนการดําเนินการเปน 3 ข้ันตอน ดังนี้ขั้นที่ 1 จัดเตรียมโครงการวิจัยเปนการศึกษาสภาพปญหา อุปสรรคเกี่ยวกับการจัด

บรรยากาศและสิ่งแวดลอมของโรงเรียนจากตํารา เอกสารทางวิชาการ ขอมูลสารสนเทศ และรายงานการวิจัยตางๆเพื่อขอคาํแนะนาํและความเหน็ชอบในการจดัทาํโครงรางการวจิยัจากคณะกรรมการผูควบคมุสารนพินธ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ ใหสมบูรณตามขอเสนอแนะแลวนําเสนอภาควิชา เพื่อขออนุมัติโครงรางการวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัยตอไป

ขั้นที่ 2 การดําเนินการวิจัยเปนขั้นตอนที่ผูวิจัยสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัยภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา แลวนํามาดําเนินการตรวจสอบคุณภาพโดยวิธีการหาความเที่ยงตรงดานเนื้อหาโดยผูเชี่ยวชาญ นําไปทดลองใชแลวนํากลับมาคํานวณคาความเชื่อม่ันหลังจากนั้นนําไปเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุม ตัวอยาง นาํขอมลูทีเ่กบ็รวบรวมไดมาตรวจสอบความถกูตองวเิคราะหขอมลูทางสถติแิละแปลผลการวเิคราะหขอมูล

ขั้นที่ 3 การรายงานผลการวิจัยเปนขั้นตอนการจัดทํารางรายงานผลการวิจัยนําเสนอตอคณะกรรมการผูควบคุมสารนิพนธเพื่อตรวจสอบความถูกตองปรับปรุงแกไขขอบกพรองตามคําแนะนําของคณะกรรมการเพื่อจัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณเสนอตอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

Page 55: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

45

ระเบียบวิธีวิจัยเพื่อใหการดําเนินการวิจัยบรรลุวัตถุประสงคของการวิจัย ผูวิจัยจึงไดกําหนดระเบียบ

วิธีวิจัย ซึ่งประกอบดวยแผนแบบวิธีวิจัย ประชากร ตัวแปรที่ศึกษา เครื่องมือและการสรางเครื่องมือ การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชในการวิจัย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

แผนแบบการวิจัยการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) ที่มีแผนแบบการวิจัย

ในลกัษณะตวัอยางกลุมเดยีว ศกึษาสภาวการณ ไมมกีารทดลอง(The one shot, non-experimental case study) ซึ่งเขียนเปนแผนผัง (diagram) ไดดังนี้

O

R X

R หมายถึง ตัวอยางที่ไดจากการสุม X หมายถึง ตัวแปรที่ศึกษา O หมายถึง ขอมูลที่ไดจากการวัดคาตัวแปร

ประชากรประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก บคุลากรโรงเรยีนสวนกหุลาบวทิยาลัย นนทบรีุ

ประกอบดวย ฝายบริหารและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน 19 คน ครูผูสอน 160 คนคณะกรรมการสถานศึกษา 12 คน กลุมสมาคมและมูลนิธิ 52 คน คณะกรรมการนักเรียน 95 คนผูปกครองนักเรียน 95 คน ลูกจางประจํา 15 คน ลูกจางชั่วคราว 30 คน และผูประกอบการรานคา 25 คน รวมทั้งสิ้น 503 คน

Page 56: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

46

กลุมตัวอยางการกําหนดกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ใชตารางกําหนดกลุมตัวอยางของเครจซี

และมอรแกน1 (Krejcie and Morgan) ไดกลุมตัวอยาง 218 คน แลวเทียบอัตราสวนตามประชากรของแตละกลุม ดังรายละเอียดในตารางที่1 สําหรับการสุมตัวอยางใชการสุมแบบแบงประเภท(stratified random sampling)

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง

ประเภทของกลุมประชากร จํานวนประชากร

จํานวนกลุมตัวอยาง หมายเหตุ

ฝายบริหารและคณะกรรมการบริหารโรงเรียนครูผูสอนกลุมสมาคมและมูลนิธิคณะกรรมการสถานศึกษาคณะกรรมการนักเรียนผูปกครองนักเรียนลูกจางชั่วคราวลูกจางประจําผูประกอบการรานคา

1916052129595301525

869235414113711

ไมรวมครูไมรวมครู

รวม 503 218

1 Krejcie and Morgan, อางถงึในพวงรตัน ทวรัีตน, วธิกีารวจิยัทางพฤตกิรรมศาสตรและ

สังคมศาสตร, พมิพคร้ังที ่7 (กรุงเทพฯ: มหาวทิยาลยัศรนีครนิทรวโิรฒ ประสานมติร, 2540), 303.

Page 57: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

47

ตัวแปรที่ศึกษาตวัแปรทีใ่ชในการวจิยัครัง้นี ้ ประกอบดวยตวัแปรพืน้ฐานและตวัแปรทีศ่กึษา ซึง่มรีาย

ละเอยีดดังนี้1. ตัวแปรพื้นฐาน เปนตัวแปรที่เกี่ยวกับสถานภาพของผูใหขอมูล ไดแก เพศ อายุ

ระดับการศึกษา และตําแหนงปจจุบัน2. ตวัแปรทีศ่กึษา เปนตวัแปรทีเ่กีย่วกบัการจดัสิง่แวดลอมในโรงเรยีนตามแนวคดิของกรม

สามญัศกึษา ประกอบดวย2.1 ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ หมายถงึ สภาพแวดลอมทีเ่ปนวตัถ ุ เชน บริเวณ

โรงเรยีน อาคารเรียน อาคารประกอบตางๆ วัสดุ ครุภัณฑ และอุปกรณ ซึ่งมีอิทธิพลตอความรูสึกและการจัดการเรียนการสอนของครูและการเรียนรูของนักเรียน

2.2 ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ หมายถึง บรรยากาศการเรียนการสอน ทัง้ในและนอกหองเรียนตลอดจนการจัดบริเวณเพื่อสงเสริมสนับสนุนทางวิชาการและประสบการณที่นําไปสู การเรียนรูอยางมีความสุขและมีประสิทธิภาพ

2.3 ส่ิงแวดลอมทางการบริหารการจัดการ หมายถึง การดําเนินการตางๆ ที่นําไปสูความสําเร็จในการปฏิบัติงาน โดยอาศยัความสมัพนัธอันดรีะหวางบคุลากรในโรงเรยีน

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดใชแบบสอบถาม เปนเครื่องมือสําหรับ

เก็บรวบรวมขอมูล จํานวน 1 ฉบับ แบงออกเปน 3 ตอนดังนี้ตอนที่1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับ สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามไดแก

เพศ อาย ุและ ระดบัการศกึษา ตําแหนงปจจุบันตอนที ่2 เปนแบบสอบถามเกีย่วกบัการจดัสิง่แวดลอมในโรงเรยีนโดยผูวจิยัปรับปรุงมาจาก

แนวคดิการจดัสิง่แวดลอมของกรมสามญัศกึษา ถามความพอใจและความคาดหวงัของบคุลากรโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี และผูเกี่ยวของประกอบดวยขอคําถามจํานวน 43 ขอวัดการจัดส่ิงแวดลอมใน 3 ดานคือ

1) ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ จํานวน 15 ขอ คือ ขอ 1-152) ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ จํานวน 14 ขอ คือ ขอ 16-293) ส่ิงแวดลอมทางการบริหารการจัดการ จํานวน 14 ขอคือ ขอ 30-43

Page 58: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

48

แบบสอบถามในตอนที่ 2 มีลักษณะเปนมาตราสวน ประเมินคา 5 ระดับของ ไลเคิรท(Likert ’s five rating scale) โดยผูวิจัยกําหนดคาระดับคะแนนของชวงน้ําหนักเปน 5 ระดับซ่ึงมีความหมายดังนี้

ระดับ 1 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมอยูใน ระดับนอยที่สุด ใหมีคาน้ําหนักคะแนนเทากับ 1 คะแนน ระดับ 2 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมอยูใน ระดับนอย ใหมีคาน้ําหนักคะแนนเทากับ 2 คะแนน

ระดับ 3 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมอยูใน ระดับปานกลาง ใหมีคาน้ําหนักคะแนนเทากับ 3 คะแนน

ระดับ 4 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมอยูใน ระดับมาก ใหมีคาน้ําหนักคะแนนเทากับ 4 คะแนน

ระดับ 5 หมายถึง ความพึงพอใจหรือความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมอยูใน ระดับมากที่สุด ใหมีคาน้ําหนักคะแนนเทากับ 5 คะแนน

ตอนที ่ 3 เปนแบบสอบถามปลายเปด สอบถามเกีย่วกบัขอเสนอแนะ เพิม่เตมิในการจดัสิง่แวดลอมในโรงเรยีนสวนกหุลาบวทิยาลยั นนทบุรี

การสรางเครื่องมือเพื่อใหเกิดความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยได

ดําเนินการสรางเครื่องมือที่เปนแบบสอบถามเพื่อใชในการเก็บรวบรวมขอมูลโดยดําเนินการตามข้ันตอนดังนี้

ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนจากเอกสาร ตํารา โดยขอคําแนะนําจากอาจารยที่ปรึกษา

ขั้นที่ 2 สรางแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนตามแนวคิดของกรมสามญัศกึษาแลวนาํไปใหคณะกรรมการผูควบคุมสารนพินธผูเชีย่วชาญตรวจสอบความเทีย่งตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) และภาษาที่ส่ือความหมายของแบบสอบถามโดยนําแบบสอบถามไปใหผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 คน ดังรายชื่อในภาคผนวก แลวปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของคณะกรรมการและผูเชี่ยวชาญ โดยใชเทคนิค IOC (Index of Item Objectives Congruence)

ขัน้ที3่ นาํแบบสอบถามทีไ่ดปรับปรุงแกไขแลวไปทดลองใชกบับุคลากร และผูเกีย่วของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ที่มิใชกลุมตัวอยาง จํานวน 30 ชุด

Page 59: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

49

ขั้นที่ 4 นําแบบสอบถามที่ทดลองใชและไดรับกลับคืนมาคํานวณหาคาความเชื่อมั่นโดยใชสัมประสิทธิ์แอลฟา (α-coefficient) ตามวิธีการของครอนบาค (Cronbach)2 ไดคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามดานความพอใจเทากับ 0.9321 และดานความคาดหวังเทากับ 0.9699

การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อใหการวิจัยครั้งนี้ดําเนินไปอยางถูกตองตามระเบียบของทางราชการ ผูวิจัยจึงได

ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอน ดังนี้1.ผูวิจัยทําบันทึกถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อขอใหออก

หนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมลูถงึผูอํานวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

2. การเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืน ผูวิจัยไดดําเนินการดวยตนเอง3. ระยะเวลาที่ใชในการเก็บขอมูล ตั้งแต วันที่ 16 ถึง 20 มกราคม 25494. เก็บรวบรวมขอมูลจากจํานวนแบบสอบถามที่ไดรับคืนมา จํานวน 218 ฉบับ จากนั้น

นําผลที่ไดมาวิเคราะห

การวิเคราะหขอมูลเมื่อไดรับแบบสอบถามกลับคืนมาแลวผูวิจัยไดจัดกระทําขอมูลโดยตรวจสอบความ

สมบูรณของแบบสอบถามแลวจดัระเบยีบขอมลูและลงรหสัของขอมลู จากนัน้จงึนาํขอมลูดังกลาวมาคาํนวณ คาทางสถิติโดยใชโปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Science)และใชสถิติในการวิเคราะหดังนี้

1. การวเิคราะหขอมลูเกีย่วกบัสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ใชคาความถี่(frequencies) และคารอยละ (percentage)

2. การวเิคราะหขอมลูเพือ่ตอบคาํถามการวจิยัขอที ่1 และ 2 ใชการวเิคราะหคาเฉลีย่ ( X )และสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน (S.D.) แลวนาํไปเทยีบกบัเกณฑ ตามแนวคดิของเบสต (Best)3

คาเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัด

2 Lee J. Cronbach, Essentials of Psychological Testing, 3rd ed. (New York :Harper & Row Publisher, 1974), 161.

3 John W. Best, Research in Education (New Jersey : Prentice – Hall inc.,1970), 190.

Page 60: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

50

ส่ิงแวดลอมอยูในระดับนอยที่สุดคาเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัด

ส่ิงแวดลอมอยูในระดับนอยคาเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัด

ส่ิงแวดลอมอยูในระดับปานกลางคาเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังตอการจัด

ส่ิงแวดลอมอยูในระดับมากคาเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง ความพอใจหรือความคาดหวังของตอการจัด

ส่ิงแวดลอมอยูในระดับมากที่สุด

3. การวิเคราะหเพื่อตอบคําถามการวิจัยขอที่ 3 ใชการทดสอบคาที (t-test)4. การวิเคราะหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ใชการวิเคราะห

เนื้อหา (content analysis)สรุป

การวิจัยครั้งเปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research)เพื่อทราบ1)ความพอใจการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 2)ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 3)ความแตกตางของความพอใจและความคาดหวังของการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี กลุมตัวอยาง คือ บุคลากรของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ประกอบดวย ฝายบริหารและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน 8 คน คณะกรรมการสถานศึกษา 5 คน ครูผูสอน 69 คน กลุมสมาคมและมูลนิธิ 23 คน ผูปกครองนักเรียน 41 คน คณะกรรมการนักเรียน 41 คน ลูกจางประจํา 7 คน ลูกจางชั่วคราว 13 คน ผูประกอบการรานคา 11 คน รวมทั้งสิ้น 218 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามเกีย่วกบัการจดัสิง่แวดลอมตามแนวคดิของกรมสามญัศกึษา มลัีกษณะเปนมาตราสวนประเมนิคาหาระดับของ ไลเคิรท (Likert) สถติทิีใ่ชในการวจิยัคอื คาความถี ่ (frequencies) คารอยละ (percentage) คาเฉล่ีย ( X ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) การทดสอบคาที(t - test) และการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis)

Page 61: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

51

บทที่ 4

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อทราบ1) ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 2) ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 3) ความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี กลุมตัวอยางประกอบดวยบุคลากรและผูเกี่ยวของของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี จํานวน 218 คน ไดรับแบบสอบถามกลับคืนมา 218 ฉบับ คิดเปนรอยละ 100 นํามาวิเคราะหและเสนอผลการวิเคราะหโดยใชตารางประกอบคําบรรยาย จําแนกเปน 5 ตอน ดังนี้คือ

ตอนที่ 1 การวิเคราะหสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามตอนที่ 2 การวิเคราะหความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบ

วิทยาลัย นนทบุรีตอนที่ 3 การวิเคราะหความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบ

วิทยาลัย นนทบุรี ตอนที่ 4 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

ตอนที่ 5 ขอเสนอแนะการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

ตอนที่ 1 การวิเคราะหสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม ผูใหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ แบงออกเปน 9 กลุม คือ ฝายบริหารและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ครูผูสอน กลุมสมาคมและมูลนิธิ ผูปกครองนักเรียน คณะกรรมการนักเรียน ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราวและผูประกอบการรานคา รวม 218 คน การวิเคราะหพิจารณาตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงปจจุบัน ระดับการศึกษา โดยใชคารอยละ(% ) ผลปรากฏ ดังรายละเอียด ตามตารางที่ 2

Page 62: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

52

ตารางที่ 2 คาจํานวนรอยละ สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ อายุระดับการศึกษา ตําแหนงปจจุบัน

สถานภาพสวนตัว จํานวน รอยละ1. เพศ

1.1 ชาย1.2 หญิง

86132

39.460.6

รวม 218 100.02. อายุ

2.1 ไมเกิน 20 ป2.2 21 – 30 ป2.3 31 – 40 ป2.4 41 – 50 ป2.5 51 - 60 ป2.6 60 ปข้ึนไป

40242767582

18.311.012.5 30.7 26.6 0.9

รวม 218 100.04. ระดับการศึกษา

4.1 ประถมศึกษา4.2 มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา4.3 มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา4.4 อนุปริญญาหรือเทียบเทา4.5 ปริญญาตรีหรือเทียบเทา4.6 ปริญญาโท4.7 ปริญญาเอก

11123511

120 27 2

5.05.516.2 5.055.012.4 0.9

รวม 218 100.0

Page 63: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

53

ตารางที่ 2 (ตอ)สถานภาพสวนตัว จํานวน รอยละ

5.ตําแหนงปจจุบัน 5.1 ฝายบริหารและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน 5.2 ครูผูสอน 5.3 คณะกรรมการสถานศึกษา 5.4 กลุมสมาคมและมูลนิธิ 5.5 คณะกรรมการนักเรียน

5.6 ผูปกครองนักเรียน5.7 ลูกจางประจํา5.8 ลูกจางชั่วคราว5.9 ผูประกอบการรานคา

8695234141 71311

3.631.72.310.618.818.8 3.2 6.0 5.0

รวม 218 100.0

จากตารางที่ 2 พบวา สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 132 คน คิดเปนรอยละ 60.6 เปนเพศชาย จํานวน 86 คน คิดเปนรอยละ 60.6 อายุมีอายุ 41-50 ปมากที่สุด จํานวน 67 คน คิดเปนรอยละ 30.7 และมีอายุ 60 ปข้ึนไปนอยที่สุดจํานวน 2 คน คิดเปน รอยละ 0.9 ระดับการศึกษาจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 120 คน คิดเปนรอยละ 55.0 และจบการศึกษาปริญญาเอก นอยที่สุด จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.9 และตําแหนงในปจจุบันเปนครูมากที่สุด จํานวน 69 คนคิดเปนรอยละ 31.7 สวนเปนคณะกรรมการสถานศึกษา มีจํานวนนอยที่สุด จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 2.3

ตอนที่ 2 การวิเคราะหความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี

ในการวิเคราะหความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี เพื่อตอบคําถามของการวิจัยขอที่ 1 วาอยูในระดับใด ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลความพอใจการจัดสิ่งแวดลอม วิเคราะหโดยภาพรวมและจําแนกตามรายดาน โดยใชคาเฉลี่ย (Χ ) และสวน

Page 64: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

54

เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แลวนําไปเปรียบเทียบตามเกณฑระดับคุณภาพตามแนวคิดของเบสท ที่กําหนดไว ดังปรากฏรายละเอียดตามตารางที่ 3ตารางที่ 3 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาระดับ ของความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของ

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยจําแนกเปนรายดาน ดังนี้

ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอม Χ S.D. คาระดับ1.ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ 3.44 0.47 ปานกลาง2.ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ 3.70 0.51 มาก3.ส่ิงแวดลอมทางการบริหารจัดการ 3.67 0.56 มาก รวมทุกดาน 3.60 0.44 มาก

จากตารางที่ 3 พบวา ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยภาพรวม อยูในระดับมาก (Χ =3.60, S.D=0.44) และเมื่อพิจารณาแยกเปนรายดานในการปฏิบัติการจัดสิ่งแวดลอม พบวา ระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการและทางการบริหารจัดการ อยูในระดับมาก โดยเรียงคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ไดดังนี้ คือความพอใจตอส่ิงแวดลอมทางวิชาการ (Χ =3.70, S.D=0.51) ความพอใจตอส่ิงแวดลอมทางการบริหารจัดการ (Χ =3.67, S.D=0.56) สวนความพอใจตอส่ิงแวดลอมทางกายภาพ อยูในระดับปานกลาง (Χ =3.44, S.D=0.47) โดยความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการและทางการบริหารจัดการ ทางกายภาพ ตามลําดับ ความพอใจ จากคาของ S.D อยูระหวาง 0.47 - 0.56แสดงวาความคิดเห็นของ ผูตอบแบบสอบถามสอดคลองกัน

เพื่อตอบคําถามของการวิจัย ผูวิจัยจึงนําขอมูลการวิจัย หาคาสถิติ โดยการหาคาเฉลี่ย (Χ ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นทบุรี แตละดาน เปนรายขอ จากตัวแปรตนที่ศึกษา จํานวน 43 ขอ ดังรายละเอียดตามตารางที่ 4,5,6

Page 65: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

55

ตารางที่ 4 ระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีทางกายภาพ เปนรายขอ ดังนี้

ขอ ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ Χ S.D. ระดับ1 ที่ตั้งของโรงเรียนมีความเหมาะสม การคมนาคมสะดวก

และปลอดภัย3.73 0.65 มาก

2 ที่ตั้งของโรงเรียนอยูหางจากสิ่งรบกวนภายนอก เชนเสียงดัง น้ําเนาเสีย โรงงาน

3.83 0.75 มาก

3 การจัดบริเวณโรงเรียนสะอาด รมร่ืนและสวยงาม 3.90 0.67 มาก4 มีน้ําดื่ม น้ําใชสะอาด พอเพียงและมีระบบสาธารณูปโภค

ที่ดี 3.67 0.76 มาก

5 วัสดุ ครุภัณฑตาง ๆและอุปกรณ ในโรงเรียนมีความพอเพียงและใชการไดดี

3.67 0.73 มาก

6 มีอาคารเรียนและหองเรียนพอเพียงกับจํานวนนักเรียน 3.06 0.91 ปานกลาง7 หองเรียนและอาคารเรียนมีความสะอาด การถายเท

อากาศดี มีแสงสวางเพียงพอ 3.41 0.71 ปานกลาง

8 มีอาคารประกอบพอเพียงสําหรับการใชงาน 3.20 0.75 ปานกลาง9 อาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งกอสรางตาง ๆ ตั้งอยู

ในทิศทางที่เหมาะสม 3.53 0.72 มาก

10 โรงเรียนมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี 3.28 0.77 ปานกลาง11 มีบริเวณใหนักเรียนและครูอาจารยไดพักผอนหยอนใจ

ยามวาง 3.42 0.84 ปานกลาง

12 มีสนามกีฬาและที่ออกกําลังกายพอเพียงสําหรับครูและนักเรียน

3.41 0.92 ปานกลาง

13 มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขอนามัย

3.21 0.97 ปานกลาง

14 ถนนและทางเดินเทาในบริเวณโรงเรียนมีความสะอาดปลอดภัย

3.27 0.82 ปานกลาง

15 มีหองน้ํา หองสวมพอเพียง สะอาดและถูกสุขลักษณะ 2.99 0.82 ปานกลาง

Page 66: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

56

จากตารางที่ 4 พบวา คาเฉลี่ย (Χ ) แบบสอบถามของความพอใจการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียน โดยภาพรวม มีคาเฉลี่ย(Χ )ระดับมาก จํานวน 6 ขอ ซึ่งมีคาเฉลี่ย(Χ ) อยูระหวาง3.90 – 3.53 และมีคาเฉลี่ย(Χ )ระดับปานกลาง จํานวน 9 ขอ ซึ่งมีคาเฉลี่ย(Χ ) อยูระหวาง3.42 - 2.99 และ ขอที่มีคาเฉลี่ย(Χ )มากที่สุด คือขอ 3 การจัดบริเวณโรงเรียนสะอาด รมร่ืนและสวยงาม (Χ =3.90)รองลงมาคือขอ2 ที่ตั้งของโรงเรียนอยูหางจากสิ่งรบกวนภายนอก เชน เสียงดัง น้ําเนาเสีย โรงงาน (Χ =3.83) และคาเฉลี่ย(Χ ) ต่ําสุด คือขอ15 มีหองน้ํา หองสวมพอเพียงสะอาดและถูกสุขลักษณะ (Χ =2.99)

ตารางที่ 5 ระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีทางวิชาการ เปนรายขอ ดังนี้

ขอ ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ Χ S.D. ระดับ16 ครูผูสอนเอาใจใสนักเรียนทุกคนเทาเทียมกัน 3.39 0.76 ปานกลาง17 ครูผูสอนเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงออกอยางเต็มที่ 3.71 0.73 มาก18 ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงความแตกตาง

ระหวางบุคคล 3.38 0.75 ปานกลาง

19 นักเรียนเลือกกิจกรรมการเรียนไดตามความสามารถและความตองการของตนเอง

3.77 0.74 มาก

20 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในและนอกหองเรียนอยางหลากหลายที่สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตามความสามารถที่เหมาะสมกับธรรมชาติและความตองการของผูเรียนอยางเต็มที่

3.75 0.79 มาก

21 มีแหลงเรียนรูที่หลากหลายและเกิดประโยชนตอการเรียนรู 3.67 0.76 มาก22 โรงเรียนมีหองสมุดที่ไดมาตรฐาน มีจํานวนหนังสือและสื่อ

เทคโนโลยีหลากหลายเพียงพอกับความตองการของนักเรียนและครูอาจารย

3.83 0.79 มาก

23 นักเรียนมีโอกาสไปเรียนรูภายนอกโรงเรียน 3.85 0.89 มาก24 นักเรียนไดเรียนรูโดยการฝกปฏิบัติจริง 3.78 0.83 มาก

Page 67: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

57

ตารางที่ 5(ตอ)ขอ ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ Χ S.D. ระดับ25 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมพัฒนาผูเรียนใหไดรับ

การพัฒนาสุนทรียภาพอยางครบถวนทั้งดนตรี ศิลปะและกีฬา

3.94 0.74 มาก

26 ครูและนักเรียนมีความสัมพันธอันดีตอกัน 3.78 0.69 มาก27 โรงเรียนมีส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและอุปกรณการเรียนการ

สอนพอเพียง3.73 0.70 มาก

28 โรงเรียนมีปายนิเทศทั้งในหองเรียนและบริเวณโรงเรียนเพียงพอ

3.56 0.72 มาก

จากตารางที่ 5 พบวา คาเฉลี่ย (Χ ) แบบสอบถามของความพอใจการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนทางวิชาการ โดยภาพรวม มีคาเฉลี่ย(Χ )ระดับมาก จํานวน 11 ขอ ซึ่งมีคาเฉลี่ย(Χ )อยูระหวาง 3.94 – 3.56 และมีคาเฉลี่ย(Χ )ระดับปานกลาง จํานวน 2 ขอ ซึ่งมีคาเฉลี่ย(Χ )อยูระหวาง 3.39 – 3.38 และขอที่มีคาเฉลี่ย(Χ )มากที่สุด คือ ขอ 25 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมพัฒนาผูเรียนใหไดรับการพัฒนาสุนทรียภาพอยางครบถวนทั้งดนตรี ศิลปะและกีฬา(Χ =3.94) รองลงมาคือขอ 23 นักเรียนมีโอกาสไปเรียนรูภายนอกโรงเรียน (Χ =3.85) และคาเฉล่ีย(Χ ) ต่ําสุด คือขอ18 ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล (Χ =3.38)

ตารางที่ 6 ระดับความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีทางการบริหารจัดการ เปนรายขอ ดังนี้

ขอ ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางการบริหารจัดการ Χ S.D. ระดับ

29 โรงเรียนประชาสัมพันธความสามารถทางวิชาการของนักเรียนใหบุคคลและหนวยงานภายนอกรับรู

3.69 0.76 มาก

30 มีการจัดโครงสรางการบริหารและบริหารงานอยางเปนระบบโดยมีการปรับตัวอยางยืดหยุนตามสถานการณ

3.64 0.69 มาก

Page 68: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

58

ตารางที่ 6 (ตอ)

ขอ ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมทางการบริหารจัดการ Χ S.D. ระดับ

31 ผูมาติดตองานที่โรงเรียนไดรับความสะดวกรวดเร็วและการตอนรับที่ดี

3.62 0.79 มาก

32 มีบรรยากาศแหงการเอื้ออาทรและเปนมิตรตอกันทุกฝาย 3.63 0.86 มาก33 โรงเรียนมีการพัฒนาในดานตาง ๆ อยางตอเนื่อง 4.02 0.74 มาก34 ครูไดรับมอบหมายงานที่เหมาะสมกับความสามารถและ

ความตองการของตนเอง3.61 0.74 มาก

35 ครูไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีความเจริญกาวหนาในอาชีพอยางเทาเทียมกัน

3.65 0.77 มาก

36 มีการบริหารงานที่โปรงใสในทุกขั้นตอนสามารถชี้แจงทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของได

3.53 0.82 มาก

37 โรงเรียนมีระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการที่ถูกตองครบถวนและทันตอการใชงาน

3.67 0.78 มาก

38 โรงเรียนประสานชุมชนและหนวยงานภายนอกมาชวยเหลือสนับสนุนโรงเรียน

3.80 0.88 มาก

39 โรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธระหวางบุคลากรในโรงเรียนสม่ําเสมอ

3.62 0.83 มาก

40 โรงเรียนมีระบบการติดตอส่ือสารที่ดี 3.67 0.76 มาก41 บุคลากรในโรงเรียนยอมรับความสามารถของกันและกัน 3.56 0.84 มาก42 ผูบริหารยอมรับทั้งความคิดเห็นและขอเสนอแนะของ

บุคลากร3.74 0.82 มาก

43 บุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาโรงเรียน 3.63 0.84 มาก

จากตารางที่ 6 พบวา คาเฉลี่ย(Χ ) แบบสอบถามของความพอใจการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียน ทางการบริหารจัดการ โดยภาพรวม มีคาเฉลี่ย(Χ )ระดับมาก จํานวน 15 ขอ ซึ่งมีคาเฉล่ีย(Χ ) อยูระหวาง 4.02 – 3.53 และขอที่มีคาเฉลี่ย(Χ )มากที่สุด คือขอ 33 โรงเรียนมีการพัฒนาในดานตางๆอยางตอเนื่อง(Χ =4.02)รองลงมาคือ ขอ38 โรงเรียนประสานชุมชนและหนวย

Page 69: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

59

งานภายนอกมาชวยเหลือสนับสนุนโรงเรียน (Χ =3.80) และ คาเฉลี่ย(Χ ) ต่ําสุด คือ ขอ36มีการบริหารงานที่โปรงใสในทุกขั้นตอนสามารถชี้แจงทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของได(Χ =3.53)

ตอนที่ 3 การวิเคราะหความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีในการวิเคราะหความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

นนทบุรี เพื่อตอบคําถามงานวิจัยขอที่ 2 วา อยูในระดับใด ผูวิจัยวิเคราะหโดยภาพรวมและจําแนกตามการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ทางวิชาการ ทางการบริหารจัดการ โดยใชคาเฉลี่ย (Χ ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แลวนําไปเปรียบเทียบกับเกณฑระดับคุณภาพตามแนวคิดของเบสท ที่กําหนดไว ดังปรากฏรายละเอียดตามตารางที่ 7

ตารางที่ 7 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาระดับ ลําดับที่ของความคาดหวังตอการจัด ส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยจําแนกเปนรายดาน ดังนี้

ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอม Χ S.D. ระดับ1. การจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ 4.30 0.49 มาก2. การจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ 4.36 0.56 มาก3. การจัดสิ่งแวดลอมทางการบริหารจัดการ 4.32 0.55 มาก

รวมทุกดาน 4.32 0.48 มาก

จากตารางที่ 7 พบวาความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยภาพรวม อยูในระดับมาก (Χ = 4.32, S.D.= 0.48) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายดานยอยพบวาความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี อยูในระดับมากทุกดาน เรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหาคานอยไดดังนี้ คือ ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ (Χ =3.36,S.D.=0.56) ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมทางการจัดการ ( Χ =432,S.D.=0.55) ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ(Χ =4.30,S.D.=0.49) จากคาของ S.D.อยูระหวาง 0.49 – 0.56 แสดงวา ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นสอดคลองกัน

Page 70: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

60

เพื่อตอบคําถามของการวิจัย ผูวิจัยจึงนําขอมูลการวิจัย หาคาสถิติ โดยการหาคาเฉลี่ย(Χ ) และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี แตละดาน เปนรายขอ จากตัวแปรตามที่ศึกษา จํานวน 43 ขอ ดังรายละเอียดตามตารางที่ 8,9,10

ตารางที่ 8 ระดับความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางกายภาพ เปนรายขอขอ ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ Χ S.D. ระดับ1 ที่ตั้งของโรงเรียนมีความเหมาะสม การคมนาคมสะดวกและ

ปลอดภัย4.32 0.70 มาก

2 ที่ตั้งของโรงเรียนอยูหางจากสิ่งรบกวนภายนอก เชน เสียงดังน้ําเนาเสีย โรงงาน

4.34 0.70 มาก

3 การจัดบริเวณโรงเรียนสะอาด รมร่ืนและสวยงาม 4.40 0.67 มาก4 มีน้ําดื่ม น้ําใชสะอาด พอเพียงและมีระบบสาธารณูปโภคที่ดี 4.34 0.70 มาก5 วัสดุ ครุภัณฑตาง ๆและอุปกรณ ในโรงเรียนมีความพอเพียง

และใชการไดดี4.35 0.64 มาก

6 มีอาคารเรียนและหองเรียนพอเพียงกับจํานวนนักเรียน 4.31 0.76 มาก7 หองเรียนและอาคารเรียนมีความสะอาด การถายเทอากาศดี มี

แสงสวางเพียงพอ4.28 0.71 มาก

8 มีอาคารประกอบพอเพียงสําหรับการใชงาน 4.14 0.69 มาก9 อาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งกอสรางตาง ๆ ตั้งอยู ในทิศ

ทางที่เหมาะสม4.10 0.64 มาก

10 โรงเรียนมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี 4.25 0.65 มาก11 มีบริเวณใหนักเรียนและครูอาจารยไดพักผอนหยอนใจยามวาง 4.26 0.65 มาก12 มีสนามกีฬาและที่ออกกําลังกายพอเพียงสําหรับครูและ นัก

เรียน4.13 0.67 มาก

13 มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขอนามัย

4.41 0.71 มาก

Page 71: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

61

ตารางที่ 8 (ตอ)ขอ ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ Χ S.D. ระดับ14 ถนนและทางเดินเทาในบริเวณโรงเรียนมีความสะอาดปลอด

ภัย4.27 0.70 มาก

15 มีหองน้ํา หองสวมพอเพียง สะอาดและถูกสุขลักษณะ 4.38 0.74 มาก

จากตารางที่ 8 พบวา คาเฉลี่ย(Χ ) แบบสอบถามความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียน ทางกายภาพ โดยภาพรวม มีคาเฉลี่ย ระดับมาก จํานวน 15 ขอ ซึ่งมีคาเฉลี่ยตั้งแต 4.10 – 4.41 และขอที่มีคาเฉลี่ย(Χ )มากที่สุดเปนทางวิชาการ คือ ขอ13 มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขอนามัย (Χ =4.41) รองลงมาคือ ขอ 3การจัดบริเวณโรงเรียนสะอาด รมร่ืนและสวยงาม (Χ =4.40)และคาเฉลี่ย(Χ ) ต่ําสุด คือขอ 9 อาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งกอสรางตางๆตั้งอยูในทิศทางที่เหมาะสม(Χ =4.10)

ตารางที่ 9 ระดับความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางวิชาการ เปนรายขอ

ขอ ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ Χ S.D. ระดับ16 ครูผูสอนเอาใจใสนักเรียนทุกคนเทาเทียมกัน 4.44 0.66 มาก17 ครูผูสอนเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงออกอยางเต็มที่ 4.38 0.72 มาก18 ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงความแตกตาง

ระหวางบุคคล4.30 0.81 มาก

19 นักเรียนเลือกกิจกรรมการเรียนไดตามความสามารถและความตองการของตนเอง

4.37 0.76 มาก

20 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในและนอกหองเรียนอยางหลากหลายที่สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตามความสามารถที่เหมาะสมกับธรรมชาติและความตองการของผูเรียน

4.38 0.74 มาก

21 มีแหลงเรียนรูที่หลากหลายและเกิดประโยชนตอการเรียนรู 4.39 0.67 มาก22 โรงเรียนมีหองสมุดที่ไดมาตรฐาน มีจํานวนหนังสือและสื่อ

เทคโนโลยีหลากหลายเพียงพอกับความตองการของนักเรียนและครูอาจารย

4.48 0.68 มาก

Page 72: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

62

ตารางที่ 9 (ตอ)ขอ ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ Χ S.D. ระดับ23 นักเรียนมีโอกาสไปเรียนรูภายนอกโรงเรียน 4.27 0.71 มาก24 นักเรียนไดเรียนรูโดยการฝกปฏิบัติจริง 4.37 0.74 มาก25 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมพัฒนาผูเรียนใหไดรับการ

พัฒนาสุนทรียภาพครบถวนทั้งดนตรี ศิลปะและกีฬา4.39 0.72 มาก

26 ครูและนักเรียนมีความสัมพันธอันดีตอกัน 4.42 0.75 มาก27 โรงเรียนมีส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและอุปกรณการเรียนการ

สอนพอเพียง4.40 0.67 มาก

28 โรงเรียนมีปายนิเทศทั้งในหองเรียนและบริเวณโรงเรียนเพียงพอ

4.15 0.76 มาก

จากตารางที่ 9 พบวา คาเฉลี่ย(Χ ) แบบสอบถามความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียน ทางวิชาการ โดยภาพรวม มีคาเฉลี่ย ระดับมาก จํานวน 13 ขอ ซึ่งมีคาเฉลี่ยตั้งแต 4.15–4.48 และขอที่มีคาเฉลี่ย(Χ )มากที่สุด คือ ขอ22 โรงเรียนมีหองสมุดที่ไดมาตรฐานมีจํานวนหนังสือและสื่อเทคโนโลยีหลากหลายเพียงพอกับความตองการนักเรียนและครูอาจารย(Χ =4.48)รองลงมาคือ ขอ16 ครูผูสอนเอาใจใสนักเรียนทุกคนเทาเทียมกัน (Χ =4.44)และคาเฉลี่ย(Χ ) ต่ําสุด คือขอ 28 โรงเรียนมีปายนิเทศทั้งในหองเรียนและบริเวณโรงเรียนเพียงพอ (Χ =4.15)

ตารางที่ 10 ระดับความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี ทางการบริหารจัดการ เปนรายขอขอ ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมการบริหารจัดการ Χ S.D. ระดับ29 โรงเรียนประชาสัมพันธความสามารถทางวิชาการของนัก

เรียนใหบุคคลและหนวยงานภายนอกรับรู4.33 0.75 มาก

30 มีการจัดโครงสรางการบริหารและบริหารงานอยางเปนระบบโดยมีการปรับตัวอยางยืดหยุนตามสถานการณ

4.29 0.69 มาก

31 ผูมาติดตองานที่โรงเรียนไดรับความสะดวกรวดเร็วและการตอนรับที่ดี

4.42 0.65 มาก

32 มีบรรยากาศแหงการเอื้ออาทรและเปนมิตรตอกันทุกฝาย 4.35 0.75 มาก

Page 73: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

63

ตารางที่ 10 (ตอ)

ขอ ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมการบริหารจัดการ Χ S.D. ระดับ33 โรงเรียนมีการพัฒนาในดานตาง ๆ อยางตอเนื่อง 4.42 0.67 มาก34 ครูไดรับมอบหมายงานที่เหมาะสมกับความสามารถและ

ความตองการของตนเอง4.25 0.72 มาก

35 ครูไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีความเจริญกาวหนาในอาชีพอยางเทาเทียมกัน

4.26 0.74 มาก

36 มีการบริหารงานที่โปรงใสในทุกขั้นตอนสามารถชี้แจงทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของได

4.36 0.69 มาก

37 โรงเรียนมีระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการที่ถูกตองครบถวนและทันตอการใชงาน

4.40 0.67 มาก

38 โรงเรียนประสานชุมชนและหนวยงานภายนอกมาชวยเหลือสนับสนุนโรงเรียน

4.34 0.77 มาก

39 โรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธระหวางบุคลากรในโรงเรียนสม่ําเสมอ

4.23 0.72 มาก

40 โรงเรียนมีระบบการติดตอส่ือสารที่ดี 4.33 0.70 มาก41 บุคลากรในโรงเรียนยอมรับความสามารถของกันและกัน 4.16 0.82 มาก42 ผูบริหารยอมรับทั้งความคิดเห็นและขอเสนอแนะของ

บุคลากร4.32 0.81 มาก

43 บุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาโรงเรียน 4.31 0.76 มาก

จากตารางที่ 10 พบวา คาเฉลี่ย(Χ ) แบบสอบถามความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียน ทางการบริหารจัดการ โดยภาพรวม มีคาเฉลี่ย ระดับมาก จํานวน 15 ขอ ซึ่งมีคาเฉล่ียตั้งแต 4.16 – 4.42 และขอที่มีคาเฉลี่ย (Χ ) มากที่สุด คือ ขอ31 ผูมาติดตองานที่โรงเรียนไดรับความสะดวกรวดเร็วและการตอนรับที่ดี ขอ 33 โรงเรียนมีการพัฒนาในดานตางๆ อยางตอเนื่อง(Χ =4.42) รองลงมาคือ ขอ36 มีการบริหารงานที่โปรงใสในทุกขั้นตอนสามารถชี้แจงทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของได (Χ =4.36) และคาเฉลี่ย(Χ ) ต่ําสุด คือขอ 41บุคลากรในโรงเรียนยอมรับความสามารถของกันและกัน (Χ =4.16)

Page 74: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

64ตอนที่ 4 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัด สิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เพื่อตอบคําถามการวิจัยขอ 3 ผูวิจัยไดวิเคราะหในภาพรวมและแยกวิเคราะหเปนรายขอ ใชการวิเคราะหแบบทดสอบคาที (t-test) ตามลําดับความสําคัญของตัวแปรที่ศึกษา ตามตารางที่ 11 – 14 มีรายละเอียดดังนี้

1.การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี แตละดานและภาพรวม มีรายละเอียดตามตารางที่ 11ตารางที่ 11 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอ การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี แตละดานและภาพ

รวม

ความพอใจ ความคาดหวัง

ความแตกตางตอการจัดส่ิงแวดลอมΧ S.D. Χ S.D.

t Sig.

ทางกายภาพ 3.44 0.47 4.30 0.49 0.244 0.00ทางวิชาการ 3.70 0.51 4.36 0.56 0.285 0.00ทางการบริหารจัดการ 3.67 0.56 4.32 0.55 0.319 0.00รวมทุกดาน 3.60 0.44 4.30 0.48 0.298 0.00

จากตารางที่ 11 พบวา ผูใหขอมูลมีความคิดเกี่ยวกับความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยภาพรวม อยูในระดับมาก สอดคลองกันคือความพอใจทางกายภาพ ทางวิชาการ และ ทางการบริหารจัดการ ระดับคาเฉลี่ย (Χ =3.60, SD. = 0.44) ความคาดหวังทางกายภาพ ทางวิชาการ และทางการบริหารจัดการ ระดับคาเฉลี่ย (Χ =4.30, SD. =0.48) และเมื่อพิจารณาความคิดเห็นของความพอใจและความคาดหวังทั้งสองกลุมเปนรายดาน พบวา มีความคิดเห็นไมแตกตางกัน

Page 75: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

65

2. การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี แตละขอในแตละดาน มีรายละเอียดตามตารางที่ 12

ตารางที่ 12 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัด ส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางกายภาพ

จําแนกแตละขอเปนรายดาน

ความพอใจ ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

Χ S.D. Χ S.D.t Sig.

1.ที่ตั้งของโรงเรียนมีความเหมาะสม การคมนาคมสะดวกและปลอดภัย

3.73 0.65 4.32 0.70 0.290 .000

2.ที่ตั้งของโรงเรียนอยูหางจากสิ่งรบกวนภายนอก เชน เสียงดังน้ําเนาเสีย โรงงาน

3.83 0.75 4.34 0.70 0.401 .000

3.การจัดบริเวณโรงเรียนสะอาด รมร่ืนและสวยงาม

3.90 0.67 4.40 0.67 0.365 .000

4.มีน้ําดื่ม น้ําใชสะอาด พอเพียงและมีระบบสาธารณูปโภคที่ดี

3.67 0.76 4.34 0.70 0.290 .000

5.วัสดุ ครุภัณฑตาง ๆและอุปกรณ ในโรงเรียนมีความพอเพียงและใชการไดดี

3.67 0.73 4.35 0.64 0.315 .000

6.มีอาคารเรียนและหองเรียนพอเพียงกับจํานวนนักเรียน

3.06 0.91 4.31 0.76 0.128 .060*

7.หองเรียนและอาคารเรียนมีความสะอาด การถายเทอากาศดี มีแสงสวางเพียงพอ

3.41 0.75 4.27 0.71 0.102 .134*

8.มีอาคารประกอบพอเพียงสําหรับการใชงาน

3.20 0.75 4.14 0.69 0.204 .002

Page 76: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

66

ตารางที่ 12 (ตอ)

ความพอใจ ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

Χ S.D. Χ S.D. t Sig.

9.อาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งกอสรางตาง ๆ ตั้งอยู ในทิศทางที่เหมาะสม

3.53 0.72 4.10 0.64 0.135 .047

10.โรงเรียนมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี 3.28 0.77 4.25 0.65 0.045 .511*11.มีบริเวณใหนักเรียนและครูอาจารยไดพักผอนหยอนใจยามวาง

3.42 0.84 4.26 0.65 0.318 .000

12.มีสนามกีฬาและที่ออกกําลังกายพอเพียงสําหรับครูและ นักเรียน

3.41 0.92 4.13 0.67 0.302 .000

13.มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขอนามัย

3.21 0.97 4.41 0.71 0.061 .368*

14.ถนนและทางเดินเทาในบริเวณโรงเรียนมีความสะอาดปลอดภัย

3.27 0.82 4.27 0.70 0.089 .193*

15.มีหองน้ํา หองสวมพอเพียง สะอาดและถูกสุขลักษณะ

2.99 0.82 4.38 0.74 0.124 .068*

จากตารางที่ 12 ผูใหขอมูลมีความคิดเกี่ยวกับความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางกายภาพ โดยภาพรวม จําแนกเปนรายขอ พบวา ไมมีความแตกตางกันคือ ความพอใจทางกายภาพ ระดับคาเฉลี่ย (Χ ) อยูระหวาง 2.99-3.90 สวนความคาดหวังทางกายภาพ ระดับคาเฉลี่ย (Χ ) อยูระหวาง 4.10-4.40 และเมื่อพิจารณาความคิดเห็นทั้งสองดานเปนรายขอ พบวาขอที่มีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือขอ 6 มีอาคารเรียนและหองเรียนเพียงพอกับจํานวนนักเรียน ขอ 7 หองเรียนและอาคารเรียนมีความสะอาดการถายเทอากาศดี มีแสงสวางเพียงพอ,ขอ 10 โรงเรียนมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี, ขอ 13 มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขลักษณะ,ขอ 14 ถนนและทางเดินเทาในบริเวณโรงเรียนมีความสะอาดปลอดภัยและขอ 15 มีหองน้ํา หองสวมพอเพียง สะอาดและถูกสุขลักษณะ

Page 77: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

67

ตารางที่ 13 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางวิชาการ จําแนกแตละขอเปนรายดาน

ความพอใจ ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ

Χ S.D. Χ S.D.t Sig.

16.ครูผูสอนเอาใจใสนักเรียนทุกคนเทาเทียมกัน

3.39 0.76 4.44 0.66 0.272 .000

17.ครูผูสอนเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงออกอยางเต็มที่

3.71 0.73 4.38 0.72 0.174 .010

18.ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

3.38 0.75 4.30 0.81 0.209 .002

19.นักเรียนเลือกกิจกรรมการเรียนไดตามความสามารถและความตองการของตนเอง

3.77 0.74 4.37 0.76 0.219 .001

20.มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในและนอกหองเรียนอยางหลากหลายที่สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตามความสามารถที่เหมาะสมกับธรรมชาติและความตองการของผูเรียนอยางเต็มที่

3.75 0.79 4.38 0.74 0.304 .000

21.มีแหลงเรียนรูที่หลากหลายและเกิดประโยชนตอการเรียนรู

3.67 0.76 4.39 0.67 0.163 .016

22.โรงเรียนมีหองสมุดที่ไดมาตรฐาน มีจํานวนหนังสือและสื่อเทคโนโลยีหลากหลายเพียงพอกับความตองการของนักเรียนและครูอาจารย

3.83 0.79 4.48 0.68 0.140 .000

23.นักเรียนมีโอกาสไปเรียนรูภายนอก โรงเรียน

3.85 0.89 4.27 0.71 0.392 .000

Page 78: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

68

ตารางที่ 13 (ตอ)

ความพอใจ ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมทางวิชาการ

Χ S.D. Χ S.D. t Sig.

24.นักเรียนไดเรียนรูโดยการฝกปฏิบัติจริง

3.78 0.83 4.37 0.74 0.245 .000

25.มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมพัฒนาผู เ รียนใหได รับการพัฒนาสุนทรียภาพอยางครบถวนทั้งดนตรี ศิลปะและกีฬา

3.94 0.74 4.39 0.72 0.329 .000

26.ครูและนักเรียนมีความสัมพันธอันดีตอกัน

3.78 0.69 4.42 0.75 0.101 .136*

27.โรงเรียนมีส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและอุปกรณการเรียนการสอนพอเพียง

3.73 0.70 4.40 0.67 0.114 .094*

28.โรงเรียนมีปายนิเทศทั้งในหองเรียนและบริเวณโรงเรียนเพียงพอ

3.56 0.72 4.15 0.76 0.264 .000

จากตารางที่ 13 ผูใหขอมูลมีความคิดเกี่ยวกับความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางวิชาการ จําแนกเปนรายขอ โดยภาพรวม พบวาไมมีความแตกตางกันคือ ความพอใจทางวิชาการ ระดับคาเฉลี่ย (Χ ) อยูระหวาง3.56-3.94 สวนความคาดหวังทางวิชาการ ระดับคาเฉลี่ย (Χ ) อยูระหวาง4.15-4.48 และเมื่อพิจารณาความคิดเห็นทั้งสองดานเปนรายขอ พบวา มีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ขอ 26 ครูและนักเรียนมีความสัมพันธอันดีตอกัน และขอ 27 โรงเรียนมีส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและอุปกรณการเรียนการสอนพอเพียง

Page 79: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

69

ตารางที่ 14 การวิเคราะหความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางการบริหารจัดการ จําแนกแตละขอเปนรายดาน

ความพอใจ ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมทางการบริหารจัดการ

Χ S.D. Χ S.D.t Sig.

29.โรงเรียนประชาสัมพันธความสามารถทางวิชาการของนักเรียนใหบุคคลและหนวยงานภายนอกรับรู

3.69 0.76 4.33 0.75 0.098 .150*

30.มีการจัดโครงสรางการบริหารและบริหารงานอยางเปนระบบโดยมีการปรับตัวอยางยืดหยุนตามสถานการณ

3.64 0.69 4.29 0.69 0.230 .001

31.ผูมาติดตองานที่โรงเรียนไดรับความสะดวกรวดเร็วและการตอนรับที่ดี

3.62 0.79 4.42 0.65 0.095 .163*

32.มีบรรยากาศแหงการเอื้ออาทรและเปนมิตรตอกันทุกฝาย

3.63 0.86 4.35 0.75 0.152 .025

33.โรงเรียนมีการพัฒนาในดานตาง ๆอยางตอเนื่อง

4.02 0.74 4.42 0.67 0.311 .000

34.ครูไดรับมอบหมายงานที่เหมาะสมกับความสามารถและความตองการของตนเอง

3.61 0.74 4.25 0.72 0.340 .000

35.ครูไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีความเจริญกาวหนาในอาชีพอยางเทาเทียมกัน

3.65 0.77 4.26 0.74 0.398 .000

36.มีการบริหารงานที่โปรงใสในทุกขั้นตอนสามารถชี้แจงทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของได

3.53 0.82 4.36 0.69 0.291 .000

37.โรงเรียนมีระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการที่ถูกตองครบถวนและทันตอการใชงาน

3.67 0.78 4.40 0.67 0.252 .000

Page 80: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

70

ตารางที่ 14 (ตอ)

ความพอใจ ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมทางการบริหารจัดการ

Χ S.D. Χ S.D.t Sig.

38.โรงเรียนประสานชุมชนและหนวยงานภายนอกมาชวยเหลือสนับสนุนโรงเรียน

3.80 0.88 4.34 0.77 0.441 .000

39.โรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธระหวางบุคลากรในโรงเรียนสม่ําเสมอ

3.62 0.83 4.23 0.72 0.359 .000

40.โรงเรียนมีระบบการติดตอส่ือสาร ที่ดี

3.67 0.76 4.33 0.70 0.093 .171*

41.บุคลากรในโรงเรียนยอมรับความสามารถของกันและกัน

3.56 0.84 4.16 0.82 0.331 .000

42.ผูบริหารยอมรับทั้งความคิดเห็นและขอเสนอแนะของบุคลากร

3.74 0.82 4.32 0.81 0.403 .000

43.บุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาโรงเรียน

3.63 0.84 4.31 076 0.309 .000

จากตารางที่ 14 ผูใหขอมูลมีความคิดเกี่ยวกับความพอใจและความคาดหวังตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางการบริหารจัดการ จําแนกเปนรายขอโดยภาพรวม ไมมีความแตกตางกันคือ ความพอใจทางการบริหารจัดการ ระดับคาเฉลี่ย (Χ ) อยูระหวาง3.53 -4.02 สวนความคาดหวังทางการบริหารจัดการ ระดับคาเฉลี่ย (Χ ) อยูระหวาง 4.25 – 4.40 และเมื่อพิจารณาความคิดเห็นทั้งสองดานเปนรายขอ พบวา มีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ขอ 29 โรงเรียนประชาสัมพันธความสามารถทางวิชาการของนักเรียนใหบุคคลและหนวยงานภายนอกรับรู, ขอ 31 ผูมาติดตองานที่โรงเรียนไดรับความสะดวกรวดเร็วและการตอนรับที่ดี, ขอ 40 โรงเรียนมีระบบการติดตอส่ือสารที่ดี

Page 81: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

71ตอนที่ 5 การวิเคราะหเนื้อหาจากแบบสอบถามปลายเปด

จากการที่ผูวิจัยไดออกแบบสอบถามเพื่อการวิจัยเรื่องการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ซึ่งแบบสอบถามมี 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 สถานภาพผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี และ ตอนที่ 3 แบบสอบถามปลายเปด มีลักษณะใหแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมหรือขอเสนอแนะของผูตอบแบบสอบถามในเรื่องการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ซึ่งผูตอบแบบสอบถามไดแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ จํานวน 120 ฉบับ คิดเปนรอยละ 55.05 จากการวิเคราะหขอเสนอแนะซึ่งลักษณะคลายคลึงกันไมแตกตางกันมากนัก ผูวิจัยจึงไดสรุปประเด็นดังนี้

1. ดานความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนทางกายภาพ พบวา บุคลากรในโรงเรียนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับ โรงเรียนตั้งอยูในพื้น

ที่ที่การคมนาคมสะดวก ปลอดภัย หางจากสิ่งรบกวนภายนอก มีแหลงเรียนรูภายในโรงเรียนมากหลากหลายโดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีที่เอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน ครูและผูปกครอง จัดไวทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกอาคาร มีโรงอาหารสําหรับนักเรียนและหองอาหารครูพอเพียง สะอาดถูกสุขลักษณะอนามัยและมีรานอาหารใหนักเรียนเลือกรับประทานหลากหลาย

ทางวิชาการ พบวา บุคลากรในโรงเรียนมีความพึงพอใจ เกี่ยวกับ การเปดโอกาสและสงเสริมใหนักเรียนไดแสดงออกและรวมกิจกรรมตางๆตามความถนัด ความสนใจทุกศักยภาพ มีหองสมุดที่ไดมาตรฐาน มีจํานวนหนังสือ ส่ือเทคโนโลยี พอเพียงกับความตองการของครูและผูเรียน นักเรียนมีโอกาสไปแหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียนและตางประเทศทุกภาคเรียน ครูกับนักเรียน ครูกับผูปกครอง ครูกับครู มีความสัมพันธที่ดีตอกัน

ทางการบริหารจัดการ พบวา บุคลากรในโรงเรียนมีความพึงพอใจ เกี่ยวกับ ครูไดรับสวัสดิการขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานเชนสงเสริมครูใหพัฒนาตนเองอบรมทั้งในและนอกสถานที่ ศึกษาตอ ศึกษาดูงานทั้งในและตางประเทศทุกป จัดโครงสรางการบริหารโรงเรียน อยางเปนระบบ เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัด ของบุคลากร และเปดโอกาสใหบุคลากรทุกฝายมีสวนรวม คิด วางแผน และรวมพัฒนาในทุกๆดานอยางตอเนื่อง กาวไกลถูกทางอยูในระดับแนวหนาของประเทศและไดรับกาสนับสนุนจากผูปกครอง ชุมชน และหนวยราชการภายนอก

Page 82: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

72

2. ดานความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนทางกายภาพ พบวาบุคลากรในโรงเรียนมีความคาดหวังเกี่ยวกับ ควรมีโรงอาหาร หอง

น้ํา หองสวม ที่เพียงพอกับบุคลากรและนักเรียน ควรมีทางเดินเทา ที่พักผอน และความรมร่ืนใหมากขึ้น

ทางวิชาการ พบวา บุคลากรในโรงเรียนมีความคาดหวังเกี่ยวกับ ควรมีส่ือและเทคโนโลยีที่เพียงพอ ควรใหนักเรียนเลือกคนควาศึกษาตามความตองการ ควรมีสวัสดิการสงเสริมกิจกรรมการเรียนรูใหมากกวาปจจุบัน

ทางการบริหารจัดการ พบวา บุคลากรในโรงเรียนมีความคาดหวังเกี่ยวกับ ควรสนับสนุนดานงบประมาณและวัสดุอุปกรณในการดําเนินงานของบุคลากรอยางเหมาะสม ควรเนนความพึงพอใจมากกวาการใชคําสั่งควบคุมหรือกฎเกณฑโดยยืดหยุนไดตามสถานการณ ควรสรางวินัย สงเสริมความคิด ความรูสึกโดยคํานึงหลักมนุษยธรรม ควรสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรตางๆในโรงเรียนใหมากขึ้น มีการประชาสัมพันธชี้แจงใหมาก ควรวางแผนและจัดตั้งคณะกรรมการในการบริหารงานและจัดการรวมกัน ควรเปดโอกาสใหบุคลากรและนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นตัดสินใจวางแผนจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมรวมกัน

Page 83: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

73

บทที่ 5สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และ ขอเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) เพื่อทราบ 1) ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 2) ความคาดหวังตอการจัดส่ิงแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 3) ความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือฝายบริหารและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน 8 คน คณะกรรมการสถานศึกษา 12 คน ครูผูสอน 69 คน กลุมสมาคมและมูลนิธิ 23 คน ผูปกครองนักเรียน 41 คน คณะกรรมการนักเรียน 41 คน ลูกจางประจํา 7 คน ลูกจางชั่วคราว 13 คน ผูประกอบการรานคา 11 คน รวม 218 คน เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถาม จํานวน 1 ฉบับ ที่ผูวิจัยสอบถามเกี่ยวกับ การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ตามแนวคิดของกรมสามัญศึกษาเดิม จํานวน 3 ดาน ไดรับขอมูลกลับคืนมาครบสมบูรณเก็บขอมูลต้ังแตวันที่ 16 มกราคม – 20 มกราคม 2549 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ (%) คาเฉลี่ย ( Χ ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะหขอมูลเนื้อหาโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Science ) สรุปผลการวิจัยดังนี้

สรุปผลการวิจัย

ผลการศึกษา“การวิเคราะหการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี” ปรากฏผลดังนี้

1.ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี พบวา โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแยกแตละดาน พบวา 1) ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางดานกายภาพ มีจํานวน 15 ขอ อยูในระดับมากจํานวน 6 ขอ อยูในระดับปานกลาง จํานวน 9 ขอ คือ ขอ 6 มีอาคารเรียนและหองเรียนพอเพียงกับจํานวนนักเรียน ขอ 7 หองเรียนและอาคารเรียนมีความสะอาด การถายเทอากาศดี มีแสงสวางเพียงพอ ขอ 8 มีอาคารประกอบพอเพียงสําหรับการใชงาน ขอ 10 โรงเรียนมีระบบกําจัดขยะ

Page 84: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

74

มูลฝอยที่ดี ขอ 11 มีบริเวณใหนักเรียนและครูอาจารยไดพักผอนหยอนใจยามวาง ขอ 12 มีสนามกีฬาและที่ออกกําลังกายพอเพียงสําหรับครูและนักเรียน ขอ 13 มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขอนามัย ขอ 14 ถนนและทางเดินเทาในบริเวณโรงเรียนมีความสะอาดปลอดภัย และขอ 15 มีหองน้ําหองสวมพอเพียงสะอาดและถูกสุขลักษณะ 2)ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางดานวิชาการ มีจํานวน 15 ขอ อยูในระดับมาก จํานวน 13 ขอ อยูในระดับปานกลาง จํานวน 2 ขอ คือ ขอ 16 ครูผูสอนเอาใจใสนักเรียนทุกคนเทาเทียมกัน และขอ 18 ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล 3) ความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางการบริหารจัดการ จํานวน 13 ขอ อยูในระดับมากทุกขอ

2. ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี พบวา โดยภาพอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแยกแตละดาน พบวา 1) ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางดานกายภาพ มีจํานวน 15 ขอ อยูในระดับมาก 2) ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางดานวิชาการ มีจํานวน 15 ขอ อยูในระดับมาก ทุกขอ 3) ความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ทางการบริหารจัดการ จํานวน 13 ขอ อยูในระดับมากทุกขอ

3.ความแตกตางระหวางความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ตามความคิดเห็นของกลุมตัวอยาง พบวา โดยภาพรวมไมแตกตางกัน เมื่อพิจารณาแยกแตละดาน พบวา

3.1 ทางกายภาพ พบวา ขอที่มีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือขอ 6 มีอาคารเรียนและหองเรียนเพียงพอกับจํานวนนักเรียน, ขอ 7หองเรียนและอาคารเรียนมีความสะอาดการถายเทอากาศดี มีแสงสวางเพียงพอ, ขอ 10 โรงเรียนมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี, ขอ 13 มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขลักษณะ, ขอ 14 ถนนและทางเดินเทาในบริเวณโรงเรียนมีความสะอาดปลอดภัยและขอ 15 มีหองน้ํา หองสวมพอเพียง สะอาดและถูกสุขลักษณะ

3.2 ทางวิชาการ พบวา ขอที่มีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติคือ ขอ 17 ครูผูสอนเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงออกอยางเต็มที่, ขอ 26 ครูและนักเรียนมีความสัมพันธอันดีตอกัน และขอ 27 โรงเรียนมีส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและอุปกรณการเรียนการสอนพอเพียง

Page 85: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

75

3.3 ทางการบริหารจัดการ พบวา ขอที่มีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ คือ ขอ 29 โรงเรียนประชาสัมพันธความสามารถทางวิชาการของนักเรียนใหบุคคลและหนวยงานภายนอกรับรู, ขอ 31 ผูมาติดตองานที่โรงเรียนไดรับความสะดวกรวดเร็วและการตอนรับที่ดี, ขอ 40 โรงเรียนมีระบบการติดตอส่ือสารที่ดี

4.การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี จากขอเสนอแนะของ ผูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะปญหาคลายคลึงกันคือ ควรวางแผนและจัดตั้งคณะกรรมการในการบริหารงานและจัดการรวมกัน เปดโอกาสใหบุคลากรและนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นตัดสินใจวางแผนจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมรวมกัน ควรสรางวินัยสงเสริมความคิด ความรูสึกโดยคํานึงหลักมนุษยธรรม ควรเนนความพึงพอใจมากกวาการใชคําสั่ง ควบคุมหรือกฎเกณฑโดยยืดหยุนไดตามสถานการณ ควรสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรตางๆในโรงเรียนใหมากขึ้น ควรสนับสนุนดานงบประมาณและวัสดุอุปกรณในการดําเนินงานของบุคลากรอยางเหมาะสม ควรมีการประชาสัมพันธชี้แจงใหมากขึ้น

การอภิปรายผล

จากขอคนพบของการวิจัยดังที่ไดกลาวมาแลวสามารถนํามาสูการอภิปรายผลไดดังตอไปนี้

1.จากผลการวิจัยที่พบวาการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยภาพรวมอยูในระดับมากนั้น แสดงใหเห็นวาโรงเรียนมีความมุงมั่น เอาใจใส ดูแลของผูบริหารและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนมีสวนรวมในการพัฒนาโรงเรียนทุกดานเพื่อใหสอดคลองกับกระบวนการจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และเพื่อเตรียมความพรอมในการรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ซึ่งการจัดสิ่งแวดลอมและบรรยากาศในสถานศึกษาซึ่งเปนองคประกอบหนึ่ง ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ ประจักษ พัฒนเจริญ ศึกษาเรื่องการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่สงผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในเขตการศึกษา 7 พบวา โรงเรียนมีการปฏิบัติการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอม เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยูในระดับมาก โดยโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษามีการปฏิบัติอยูในระดับมากทุกดาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ มีการปฏิบัติการจัดบรรยากาศ และสิ่งแวดลอมทางกายภาพและ การบริหารอยูในระดับมาก มีการปฏิบัติการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมทางวิชาการอยูใน

Page 86: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

76

ระดับปานกลาง นอกจากนี้ยังพบวา การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมทางกายภาพ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามีการปฏิบัติสูงสุดในการจัดสวนหยอมในบริเวณโรงเรียน หนาอาคารเรียน โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษามีการปฏิบัติสูงสุด ในการจัดบริเวณอาคารสถานที่ใหสะอาดรมร่ืนสวยงามเอื้อตอการใชงาน ทั้งสองสังกัดมีการปฏิบัติต่ําสุดในการติดปายคําขวัญ/ความรูตามสถานที่ตางๆ การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมทางวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามีการปฏิบัติสูงสุดในการจัดกิจกรรมสงเสริมดานดนตรี กีฬาและศิลปวัฒนธรรม โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษามีการปฏิบัติสูงสุดในการจัดหองสมุดที่เอ้ือตอการจัดการเรียนการสอน ทั้งสองสังกัดมีการปฏิบัติต่ําสุดในการจัดและบริการสื่อวัสดุอุปกรณทางการศึกษา การจดับรรยากาศและส่ิงแวดลอมทางการบรหิาร โรงเรยีนขยายโอกาสทางการศกึษามกีารปฏบิตัสูิงสดุในการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ของผูบริหาร ครู อาจารยและนักเรียน โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษามีการปฏิบัติสูงสุดในการตรวจสอบความถูกตองของการตัดสินผลการเรียน กอนการพิจารณาอนุมัติ ทั้งสองสังกัดมีการปฏิบัติต่ําสุดในการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการเรียนการสอนของหมวดวิชาตามความตองการ

2.จากผลการวิจัยดานความพอใจตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ที่พบวาอยูในระดับมากนั้น ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ ธเนศ ขําเกดิ ทีไ่ดดาํเนนิการประเมนิโครงการพฒันาบรรยากาศและสิง่แวดลอมทีด่ใีนโรงเรียน โดยใชเทคนิคการวางแผนเปนทีม เพื่อประเมินการจัดสภาพแวดลอม 3 ดานคือดานกายภาพ ดานวชิาการและดานการบริหารการจดัการ โดยกาํหนดขัน้ตอนการดาํเนนิงานโครงการไว 3 ข้ันตอน คอื การกาํหนดหลกัสตูร การจดัอบรมทมีงานทีป่ระกอบดวยผูบริหาร ผูชวยผูบริหารและหวัหนาหมวดวชิา และกาํหนดรปูแบบการนาํผลการอบรมไปใชในโรงเรยีน จากการเกบ็รวบรวมขอมลูและวเิคราะหขอมลู พบวา กอนการดาํเนนิการ ครูม ีความคดิเหน็เกีย่วกบัการจดัสภาพแวดลอมทีด่ ีของโรงเรยีนทกุดานดวยคะแนนรอยละ 65.71 และหลงัการดาํเนนิการ รอยละ 64.74 กอนดาํเนนิการครมูคีวามคดิเหน็เกีย่วกบัการจดัสภาพแวดลอมทีด่ ี ดานกายภาพรอยละ 64.74 การจดัสภาพแวดลอมดานวชิาการรอยละ 68.08 การจดัสภาพแวดลอมดานการบรหิาร การจดัการ รอยละ 64.33 และหลงัดาํเนนิการแตละดานเปนรอยละ75.56,75.40และ75.10ตามลาํดบัและยงัพบวาโรงเรยีนมกีารพฒันาบรรยากาศและสิง่แวดลอมเพิม่ข้ึนทกุโรงเรยีนและผลทางออมยงัพบวาผูเขารวมโครงการทัง้ 16 โรงเรยีน ทกุคนมคีวามเหน็วาเทคนคิการวางแผนเปนทมีเปนเทคนคิทีส่ามารถนาํมาใชในการพฒันาบรรยากาศและสภาพแวดลอมในโรงเรยีนไดบงัเกดิผลด ีและทาํใหบคุลากรในโรงเรยีนเกดิความสมัพนัธทีด่ตีอกนั และสอดคลองกบัผลการวจิยัของ บรรเลง รอดแดง ที่ไดวิจัยการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียน

Page 87: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

77

สมุทรปราการปการศึกษา 2536-2538 จากการศึกษาพบวา การพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสมุทรปราการ ในทัศนะของนักเรียนพบวา กลุมรวมทั้งหมดมีความคิดเห็นวา การพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนอยูในระดับสูง เมื่อพิจารณาจําแนกกลุมนักเรียน ตามเพศ อายุและระดับการศึกษา นักเรียนมีความคิดเห็นวาการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสมุทรปราการ อยูในระดับสูงทั้งหมดทั้งพิจารณาเปนรายดานทุกๆดาน ผลดังกลาว เนื่องมาจากโรงเรยีนไดพฒันาบรรยากาศและสิง่แวดลอมทัง้ดานทัว่ไป ดานวชิาการและดานบริการอยางตอเนื่องและประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่วางไวเปนอยางดี จากเหตุและผลดังกลาวทําใหนักเรียนมีความรู สึกที่ดีตอการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาใหสภาพที่ดีข้ึนตลอดระยะเวลา 3 ป การศึกษาและการดําเนินการเปนไปอยางเปนระบบ และบรรลุเปาหมายที่วางไวไดอยางดี

3.จากผลการวิจัยความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ที่พบวา อยูในระดับมาก แสดงใหเห็นวาบุคลากรในโรงเรียนมีความตองการที่จะพัฒนาโรงเรียนใหมีสภาพที่ดีข้ึน ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ สุรพล นุชงอน ไดศึกษาการบริหารงานและปญหาในการบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญสังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา การบรหิารงานอาคารสถานทีใ่นโรงเรยีนทัง้ 4 ดาน คอื การวางแผน การจดับรรยากาศและสิง่แวดลอมบริเวณโรงเรียน การบริหารอาคารเรียน อาคารประกอบและการรักษาความปลอดภัย การใชและการบํารุงรักษาอาคารสถานที่ โรงเรียนสวนใหญยังดําเนินการบริหารงานอาคารสถานที่ไดผลไมครบถวนตามเกณฑมาตรฐาน โรงเรียนมัธยมศึกษา และยังไมไดมาตรฐานดังที่คาดหวังไวตามแนวนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พ.ศ. 2539-2550 บัญญัติ 10 ประการ ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2539 และเกณฑมาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2539 เกี่ยวกับการบริหารอาคารสถานที่ ปญหาการบริหารงานอาคารสถานที่ พบวาโรงเรียนสวนใหญไดรับการจัดสรรงบประมาณในการกอสรางและการบํารุงรักษาอาคารสถานที่ไมเพียงพอ ขาดบุคลากร ดูแลรักษาอาคารสถานที่ สภาพพื้นที่มีจํากัดไมสามารถขยายหรือปรับปรุงได นอกจากนั้นจํานวนนักเรียนเพิ่มมากขึ้นทุกปทําใหอาคารสถานที่ไมเพียงพอ และสอคลองกับงานวิจัยของ พชิญานนัท คงทน ศกึษาความสมัพนัธระหวางสภาพแวดลอมและบรรยากาศในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก พบวาสภาพแวดลอมในโรงเรียนดานการใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียน การจัดอาคารเรียนอาคารประกอบ การจัดระบบสุขาภิบาลบรรยากาศดานวิชาการและบรรยากาศดานการบริหารใน

Page 88: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

78

โรงเรียนจัดอยูในระดับสูงและสูงมากเปนสวนใหญและสภาพแวดลอมกับบรรยากาศในโรงเรียนที่มีความสัมพันธทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ไดแก การใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียนกับการจัดอาคารเรียนอาคารประกอบ การใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียนกับการจัดระบบสุขาภิบาลในโรงเรียน การใชพื้นที่ในบริเวณโรงเรียนกับบรรยากาศดานวิชาการ การจัดอาคารเรียนอาคารประกอบกับการจัดระบบสุขาภิบาลในโรงเรียน การจัดอาคารเรียนอาคารประกอบกับบรรยากาศดานวิชาการ การจัดระบบสุขาภิบาลในโรงเรียนกับบรรยากาศดานวิชาการ และบรรยากาศดานวิชาการกับบรรยากาศดานการบริหารการจัดการ

4.จากผลการวิจัยความพอใจและความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี พบวา ไมมีความแตกตางกัน แตตองการเห็นการพัฒนาของโรงเรียนซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ทวีศิลป สารแสน ศึกษาความสัมพันธระหวางองคประกอบของสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนดานครูผูสอนกับความพึงพอใจของ นักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา พบวาโรงเรียนมัธยมศึกษามีสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียน ดานครูผูสอนโดยภาพรวมอยูในระดับดี นักเรียนมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนดานความรูและประสบการณการสอนของครูมากเปนอันดับหนึ่ง รองลงไปคือเทคนิคการสอนของครู สวนดานการสรางบรรยากาศในหองเรียนนั้น นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับปานกลางเทานั้นโดยสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนมีความสัมพันธกับความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนในระดับสูงและมีทิศทางของความสัมพันธอยูในทางเดียวกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสอดคลองกับงานวิจัยของ ดํารง ออนนวม ที่ไดศึกษาสภาพและปญหาการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนประถมศึกษาเอกชนกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนดําเนินการทั้ง 4 ดาน โรงเรียนสวนใหญดําเนินการดังนี้ 1)ดานการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะคือ โรงเรียนจัดทําแผนงานโครงการพัฒนาสิ่งแวดลอม 2) ดานการเสริมสรางความตระหนักในการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมโรงเรียนใหการยกยองชมเชยบุคลากร และนักเรียนที่มีผลงานดีเดนดานสิ่งแวดลอม 3)ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสิ่งแวดลอมศึกษาโรงเรียนจัดกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนในวันสําคัญและรวมกันปลูกไมดอกไมประดับในโรงเรียน4)ดานการประสานงานและรวมมือกับชุมชนพบวาผูบริหารและบุคลากรใหความรวมมือกับหนวยงานอื่น ชมรม สมาคม ดําเนินการรณรงคและพัฒนาสิ่งแวดลอม สวนที่ไดดําเนินการ คือการจัดทําแผนงานระยะยาว การปลูกตนไมยืนตน การจัดหาสื่อ โปสเตอร สไลด วิดีโอ หนังสือ เอกสาร วารสารตางๆไว เพิ่มพูนความรู การนําผลการประเมินการเรียนการสอนสิ่งแวดลอมศึกษาไปใชไมไดประสานงานกับชุมชน เพื่ออนุรักษส่ิงแวดลอมทั่วไปของโรงเรียนและชุมชน

Page 89: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

79

สําหรับปญหาที่พบสวนใหญ คือ โรงเรียนขาดบุคลากรที่มีประสบการณ ขาดงบประมาณและขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ และสอดคลองกับงานวิจัยของ สุจินต สวางศรี ไดศึกษาวัฒนธรรมองคการที่สงผลตอประสิทธิผลการนําระบบบรหิารงานคณุภาพ ISO 9002 ไปใช ในโรงเรยีนมธัยมศกึษาสงักดักรมสามญัศกึษา ผลการวิจัยพบวา 1)วฒันธรรมองคการของ โรงเรยีนทีผ่านและทีย่งัไมเขารับการประเมนิแตกตางกนั 2) ประสิทธิผลการนําระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9002 ไปใช แตกตางกัน โดยโรงเรียนที่ผานการประเมินมีประสิทธิผลสูงกวาโรงเรียนที่ยังไมเขารับการประเมินทุกดาน 3)วัฒนธรรมองคการที่สงผลตอประสทิธผิลการนาํระบบบรหิารงานคณุภาพISO9002 ไปใชในโรงเรยีนมธัยมศกึษา สังกดักรมสามญัศกึษาโดยภาพรวม คอื ดานปทสัถานและมาตรฐาน ความเชือ่ คานยิม ความมุงประสงคของโรงเรยีน ความรูสึกเปนสวนหนึง่ของโรงเรยีน การยอมรับการบรูณาการ และความมคีณุภาพ 4) ปญหา อุปสรรค พบวายังมีปญหา อุปสรรค บางประการแตก็มีทางแกไขใหลุลวงได ถาผูบริหารมีความมุงมั่นในการนําระบบนี้ไปใชในการพัฒนาการศึกษา สวนความคาดหวังตอการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ที่พบวา ความคาดหวังแตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ วิลาวัลย บัวหุง ศึกษาประเมินประสิทธิผลการจัดสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีระบบการจัดการสิง่แวดลอม(โรงเรยีนสตรวีทิยาและโรงเรยีนสารวทิยา) เปรียบเทยีบกบัโรงเรยีนทีไ่มมรีะบบการจดัการสิง่แวดลอม(โรงเรยีนหอวงัและโรงเรยีนเบญจมราชาลยั)ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใชแบบจําลองซิป (CIPP MODEL) จากการประเมินสภาวะแวดลอม พบวาโรงเรยีนสตรวีทิยา และโรงเรียนสารวิทยาเปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญพิเศษ โรงเรียนตั้งอยูในเขตชุมชนริมถนนใหญที่มีการจราจรคับค่ังบริเวณที่ตั้งโรงเรียนมีปญหามลพิษ ส่ิงแวดลอมที่สงผลกระทบตอบุคลากรในโรงเรียนโรงเรียนจึงไดพิจารณาวาปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเปนปญหาของคนทั้งประเทศและตอไปจะเปนปญหาของคนทั้งโลก จึงมีความจําเปนที่จะตองสรางความตระหนกัใหแกเยาวชนเพือ่ จะไดเขามามสีวนรวมในการแกไขปญหาสิง่แวดลอม โดยการพฒันาโรงเรียนเขาสูระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) ซึ่งการดําเนินการจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) นักเรียนจะเกิดการเรียนรูที่จะอนุรักษและรักษาสภาพแวดลอมจากการเขามารวมกิจกรรมกับครูอาจารยโรงเรียนไดรับประโยชนจากระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) มากทีสุ่ดคอืการอนรัุกษส่ิงแวดลอม รองลงมา ไดแก การปองกนัมลพษิ การสรางภาพพจนของโรงเรียน การประหยัดคาใชจาย สวนในโรงเรียนหอวังและเบญจมราชาลัย ไดดําเนินงานดานสิง่แวดลอม โดยจัดทาํแผนและกาํหนดนโยบายใหสอดคลองกับสภาพปจจุบันของปญหาสิ่งแวดลอมโดยจัดทาํ

Page 90: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

80

แผนและกาํหนดนโยบายใหสอดคลองกบัสภาพปจจบุนัของปญหาสิง่แวดลอมใน โรงเรยีนซึ่งจะเปนแผนเฉพาะกิจแตยังขาดการตอเนื่องในการปฏิบัติ

ขอเสนอแนะของการวิจัย

จากขอคนพบและการอภิปรายผลดังกลาวขางตน เพื่อใหงานวิจัยนี้เกิดประโยชนตอหนวยงานและบุคคลที่เกี่ยวของ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังตอไปนี้

ขอเสนอแนะทั่วไปจากขอคนพบของการวิจัยเรื่อง การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

นนทบุรี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะเพื่อเปนแนวทางในการนําผลการวิจัยไปใชใหเกิดประโยชนแก หนวยงานและผูมีสวนเกี่ยวของดังนี้

1.จากขอคนพบของการวิจัยที่พบวาการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยภาพรวมอยูในระดับมากนั้น โรงเรียนโดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริหารจําเปนตองตระหนักถึงความสําคัญของการสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชนใหมากยิ่งขึ้นและพยายามทุกวิถีทางเพื่อใหบุคลากรทุกคนในโรงเรียน มีสวนรวมหรือไดปฏิบัติตามบทบาทของพวกเขาตามขอบเขตที่กําหนดเพราะ บุคลากรทุกคนจะนําความชวยเหลือจากชุมชนมาสูการพัฒนา โรงเรียน อีกประการหนึ่งการจัดการสิ่งแวดลอมภายในสถานศึกษา ถือวาทุกฝายตองมีสวนรวมและรวมรับผิดชอบในการดูแล เพราะบรรยากาศในโรงเรียนเปนภาพรวมของความรูสึกที่บุคคลมีตอโรงเรียน ถาเปนบรรยากาศที่ดีก็จะสงผลใหบุคลากรในโรงเรียนเกิดความรักความผูกพัน ความพอใจ อบอุนใจ ความรูสึกเปนเจาของซึ่งเปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายในจิตใจยากตอการแบงประเภทได แตเครื่องชี้วัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมดานกายภาพที่ดีไดแก การมีสภาพที่ใชการไดเสมอ มีความสะอาด สดชื่น รมร่ืน สวยงาม มีการจัดตกแตงบริเวณโรงเรียนดวยไมดอกไมประดับหรือส่ิงอ่ืนๆมีที่เรียนที่พักผอน สถานที่นันทนาการ น้ําดื่ม น้ําใชเพียงพอกับจํานวนนักเรียนหองตางๆ มีการตกแตงภายในใหสวยงาม มีขนาดพื้นที่และแสงสวางเพียงพอ มีการจัดวัสดุครุภัณฑที่เพียงพอในการใชงาน มีผูรับผิดชอบดูแลรักษา บรรยากาศดานวิชาการ ไดมีการจัดการเรียนการสอน ทั้งในและนอกหองเรียนตลอดจนการบริการเพื่อสงเสริมสนับสนุนวิชาการตางๆที่จะทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรู ภายใตบรรยากาศที่มีชีวิตชีวา สดชื่น แจมใส มีความรูสึกรักโรงเรียน รักครู รักเพื่อน และพูดเปนเสียงเดียวกันวา อยากมาโรงเรียน พยายามขจัดบรรยากาศแหงความกลัว ความหวาดผวา ความวิตกกังวล และการขูเข็ญใหหมดสิ้นไป และบรรยากาศการบริหารจัดการถือวามี

Page 91: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

81

ความสําคัญที่สุดที่ผลตอการจัดบรรยากาศในทุกๆดานเพราะถาการบริหารจัดการของโรงเรียนเอื้ออํานวยตอการสรางบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีแลวก็จะมีผลใหบรรยากาศของโรงเรียนนาอยู นาเรียน และไดรับความรวมมือรวมใจจากบุคลากรในโรงเรียนทุกคน การทะเลาะเบาะแวง การไมเขาใจกัน ก็จะเกิดขึ้นนอยชีวิตในโรงเรียนก็จะอยูรวมกันอยางมีความสุข

2.จากขอคนพบของการวิจัยที่พบวา ความคาดหวังการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี แสดงวาระบบการบริหารการจัดการของโรงเรียนควรเอื้อและสงเสริมใหเกิดบรรยากาศที่ดี โดยเฉพาะทีมผูบริหารโรงเรียนเปนผูนําและแมแบบ ในการสรางบรรยากาศแบบเปดและใหการสนับสนุนผลักดันอยางเต็มที่และตอเนื่อง พรอมทั้งมีสัมพันธภาพระหวางบุคลากรตางๆในโรงเรียน เชน ผูบริหาร ครู นักเรียนและบุคลากรตางๆตลอดจนบุคคลภายนอก ที่มาเยือนเปนไปดวยบรรยากาศแหงความเปนมิตรไมตรี มีการประชุมเพื่ออภิปราย แกปญหา หาขอยุติแนวปฏิบัติรวมกันอยางสม่ําเสมอ เปดโอกาสใหบุคลากรในโรงเรียนไดแสดงความคิดเห็น มีการสรางขวัญและกําลังใจใหกับบุคลากร จะตองประชาสัมพันธความกาวหนาหรือผลการดําเนินงานของโรงเรียน ใหชุมชนไดรับทราบอยางตอเนื่องสม่ําเสมอจะดวยวิธีชี้แจง จดหมาย วารสารหรืออ่ืนๆ ตามที่เห็นสมควร โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวของกับคุณภาพนักเรียน เพื่อแสดงถึงเจตนารมณในการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนและแสดงความโปรงใสในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะสรางความเชื่อมั่นแกชุมชนในการจะใหความชวยเหลือ รวมมือในการพัฒนาคุณภาพ นักเรียนและโรงเรียนใหดียิ่งๆ ข้ึนไป

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบ

วิทยาลัย นนทบุรี เพื่อการปฏิบัติจะสอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ ตามแนวนโยบายเพื่อดําเนินการ 8: การสงเสริมและสรางสรรคทุนทางสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บนฐานของศาสนา ภูมิปญญาทองถิ่นไทย ดังนั้นไดใหขอเสนอแนะการวิจัยครั้งตอไปดังนี้

1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารการมีสวนรวมที่จะสงผลกับการจัดสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา

2. เปลี่ยนรูปแบบการวิจัยกลุมตัวอยางและประชากรใหเหมาะสมกับความสนใจและปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบัน

Page 92: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

82

บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมวิชาการ.“แนวคิดเกี่ยวกบัวัฒนธรรมสถานศกึษาสภาพแวดลอมของสถานศึกษาและคานยิม.”

เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา สรางเครื่องมือวิจัยเกี่ยวกบัการศกึษา วัฒนธรรม สภาพแวดลอม และคานยิมทีเ่อื้อตอการเรียนรู ความดีและความสุขของ ผูเรียน ระหวางวนัที ่23 – 26 พฤษภาคม 2544 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร พระนครศรีอยธุยา,2544. (อัดสําเนา)

_________. รายงานผลการวิจัยการศึกษา วฒันธรรมสภาพแวดลอมและคานิยมของสถานศึกษาที่มีผลตอการเรียนรู ความดี และความสุขของผูเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเจริญผล, 2545.

กรมสามัญศึกษา.การจัดบรรยากาศและสิง่แวดลอมที่ดีในโรงเรียน.กรุงเทพฯ: หนวยศึกษา นเิทศก กรมสามัญศึกษา, 2531. __________. การพัฒนาบรรยากาศและสิง่แวดลอมในโรงเรียนโดยใชเทคนิคการวางแผนเปนทมี.

กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธกิาร, 2532 __________. รายงานดําเนนิงานโครงการสงเสริมบรรยากาศการเรียนรูในโรงเรยีนสังกัดกรม

สามัญศึกษา ปงบประมาณ 2537 – 2538. กรุงเทพฯ : กรมสามัญศึกษา, 2539. __________. พื้นฐานความเกี่ยวของและจาํเปนของสิ่งแวดลอมกับการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ

การศาสนา, 2541. กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวชิาการ. การจดัสิ่งแวดลอมในการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, 2539. ชัยวัฒน สกณุา.“การศึกษาสภาพสิง่แวดลอมและบรรยากาศในโรงเรียนประถมศกึษา สังกัด

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติจังหวัดพิษณุโลก.” วทิยานพินธ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2540. ณุตตรา แทนขํา.”การจัดสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนสิง่แวดลอมศึกษาดีเดนระดับประถมศึกษา

ปพุทธศกัราช 2541”(วิทยานิพนธปริญญาหมาบัณฑิต สาขาสิง่แวดลอมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยมหิดล,2543),บทคัดยอ.

ณรงค กาญจนานนนท. รายงานการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนมธัยมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงเรียนเพทศิรินทร, 2536.

Page 93: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

83

ดํารง ออนนวม.“ การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนประถมศึกษาเอกชนกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาการบรหิารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2543.

ทวีศิลป สารเสน. “ความสัมพันธระหวางองคประกอบของสภาพแวดลอมทางการเรียนในหองเรียนดานครูผูสอนกับความพึงพอใจของนักเรียนในโรงเรียนมธัยมศึกษา.” วิทยานิพนธปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑติ บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2543.

ทองคูณ หงสพันธ. คูมือการพัฒนาสถานศึกษาดานอาคารสถานที่ . ม.ป.ท., 2540. ธเนศ ขําเกิด. “การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน.” มิตรครู 31, 23 ( ธันวาคม

2532 ) : 40 –41. __________. “ การจัดบรรยากาศและสิง่แวดลอมที่ดีในโรงเรียน.”มิตรคร ู 32, 8 ( เมษายน 2533 )

: 4 – 6. __________. การพัฒนาบรรยากาศและสิง่แวดลอมในโรงเรียนโดยใชเทคนิคการวางแผนเปนทมี.

กรุงเทพฯ : กรมสามัญศึกษา, 2533. บรรเลง รอดแดง.การพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสมทุรปราการ(สมุทรปราการ:

โรงเรียนสมุทรปราการ, 2539), บทคัดยอ. ประจวบ ชํานปิระศาสน. งานเกี่ยวกับบรรยากาศและสิง่แวดลอมภายในโรงเรยีน. กรุงเทพฯ :

โรงเรียนบดนิทรเดชา ( สิงห สิงหเสน)ี, 2532. ปรีชา พัวนุกลูนนท. รายงานการดําเนินงานพัฒนาบรรยากาศและสิง่แวดลอมในโรงเรียน เชียงแสนวทิยาคม จังหวัดเชียงราย. เชียงราย : โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม, 2540. พ. โพธทิพัพะ ( นามแฝง ). “ มาสรางบรรยากาศและสิง่แวดลอมที่ดีในโรงเรียนกนัเถอ.” มิตรครู

32, 1 ( มกราคม 2533 ) : 33 – 35. พันธศกัดิ์ นิ่มพานิช. “ การบริหารอาคารสถานที่และบริเวณโรงเรียนมัธยมศึกษาทีม่ีพื้นที่จาํกัดใน

กรุงเทพมหานคร.” วทิยานพินธปริญญาศกึษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2541.

พิชญานันท คงทน. ความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมและบรรยากาศในโรงเรยีนขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก .พิษณุโลก : คณะกรรมการวจิัยการศึกษา ศาสนา และวฒันธรรม เขตการศึกษา 7, 2541.

Page 94: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

84

พรลักษณ สวางศร.ี “ผลกระทบที่เกิดขึ้นในการนํามาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม: ISO 14001 มาใชในโรงเรียนประถมศึกษา โครงการนาํรองสังกัดสาํนกังานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต ิ.” วิทยานพินธ ปริญญาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร, 2543.

พวงรัตน ทวีรัตน. วิธีการวจิัยทางพฤติศาสตรและสังคมศาสตร.กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือจุฬา ลงกรณมหาวิทยาลัย นนทบุรี, 2540. ระวีวรรณ ขันธาโรจน.”สภาพแวดลอมทางกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาสงักัด

กรุงเทพมหานคร เขตปทุมวนั” ”(วิทยานพินธปริญญาศกึษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑติวิทยาลัย มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร,2540),บทคัดยอ.

โรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยันนทบุรี. รายงานการประเมินตนเอง. นนทบุรี : โรงเรยีนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี, 2544.

__________. สารสนเทศ ปการศึกษา 2546 . นนทบุรี : โรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลัย นนทบุรี, 2546.

วินัย วีระวฒันานนท. กระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2532. วิลาวัลย บัวหุง. “การประเมนิประสิทธิผล การจัดสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา

ที่มีระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14001) ในเขตกรุงเทพมหานคร. “วิทยานพินธปริญญาวทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาเทคโนโลยกีารบริหารสิง่แวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลยัมหดิล, 2545.

สมควร ณ ตะกั่วทุง. “รายงานการพัฒนาบรรยากาศและสิ่งแวดลอมวิชาการ โรงเรียนวัดนอยในปการศึกษา 2540 – 2542. “วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543.

สิริ รอดอิ้ว. “ การนาํมาตรฐานระบบการจดัการสิ่งแวดลอม ISO 14001 มาใชในโรงเรียนประถม ศึกษา.” วิทยานพินธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหาร

การศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศิลปากร, 2543. สุรพล นชุงอน .”การบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ สังกดักรมสามัญ

ศึกษา ในกรงุเทพมหานคร”(วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร,2541),บทคัดยอ.

Page 95: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

85

สุจินต สวางศรี. “วัฒนธรรมองคการที่สงผลตอการนําระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9002 ไปใชในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกดักรมสามัญศกึษา.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.

สุรพล นุชงอน. “การบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรยีนมัธยมศึกษาขนาดใหญ สังกัดกรมสามัญศึกษาในกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2541.

สมศรี ศักดิ์รุงพงศากุล. “ การจัดสิ่งแวดลอมของโรเงรียนประถมศึกษาในสังกัดสํานกังานการประถมศึกษาจังหวัดนนทบรีุ.” วิทยานิพนธปริญญาศกึษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, 2542.

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. การพัฒนาโรงเรยีนตามกรอบมาตรฐานสากล กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต ิ, 2545. สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ. รายงานสถานภาพสิง่แวดลอม. พิมพคร้ังที ่ 3.

กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ, 2538. อนันต นามทองตน. “ บรรยากาศในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา

อําเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ. ” วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2534.

อรุณี ราชพัฒน. ”การจัดสิ่งแวดลอมและกิจกรรมเสริมหลักสูตรของโรงเรียนในโครงการปฏิรูปการศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเลย”(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิ ต สาขาการวิ จั ยและประ เมิ นผลการศึ กษา บัณฑิ ตวิ ทยาลั ย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,2542),บทคัดยอ.

Page 96: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

86

ภาษาตางประเทศ Ballantine,Jean H. The Sociology of Education : A Systematic Analysis. 3rd ed. Englewood Cliffs : Prentice – Hall, 1993. Best, John W. Research in Education. 4th ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice –

Hall,1981. Brook Wilburn over and others. School social System and Student Achievement School

Can Make a Difference . New York : Praeger Publisher, 1979. quoted in Stuart C. Smith, Jo Ann Mozzarella, and Phillip K, Pile, School Leadership Oregon : Eric, 1981.

Burchett, Betly M. “ A Descriptive Study of Fourth, Fifth and Sixty Grade Student Attitude Related to Environment Problem,” Dissertation Abstracts International 32(February 1972) : 4439.

Cronbach,Lee J. Essentials of Psychological testing. 3rd ed. New York : Harper & Row Publishers, 1978.

Fox,Robers. School Climate Improvement: A Challenge to the School Administrator. Colorado: Phi Delta Kappa, 1973.

Hoy, Wayne K., John C. Tarter, and Robert B. Kottkamp. Open Schools/Healthy School : Measuring Organizational Climate. Newbury Park : Sage Publications, Inc.,1991.

Joiner, Lieutenant K.Flight. Evaluating the Impact of Educational Computing on the Classroom Environment: A Literature Review. [Online].A Http:2//www.Spirit.Net.Au/Acecg6/papers/joiner.Htm.April,1996.

Karen .Malone and Tranter. Paul., ”Chidren’s Environmental Learning and the Use,Design and Mannagement of Schoolgrounds.”13(2),2003.Retrieved from http://Colorado.edu/journala/cye.

Miriam Gay Managan. “The Impact of the Traditional Classroom Environment VS the Informal Classroom Environment on Creative Thinking Abilities” Masters Abstracts International 28 (Summer 1990) : 188.

Page 97: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

87

Owen, Robert G. Organizational Behavior in Education. 5th ed. New York: Prentice-Hall, 1995.

Romine, Stephen. “Student and Faculty Perceptions of and Effective University Instructional Climates. “The Journal of Educational Research 68 (December 1974): 139 – 143.

Seager, P.M. Proposed School Building Code for Thailand (Indiana : Indiana University,1961) Abstracts.

Vivian A., Walkorz. ”A Study of Environmental Ecological Education Program in the Elementary Grades in Selected Cities of lllinois,” Dissertation Abstracts International,35(November 1972):1997A.

Yates, D.P. “Flexibility in School Plant Development and Utilization,” Dissertation Abstracts International 29(January 1969): 2084 -A.

Page 98: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

88

ภาคผนวก

Page 99: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

89

ภาคผนวก ก เอกสารหนังสือขอความอนุเคราะหตรวจเครื่องมือวิจัย

Page 100: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

90

ที่ ศธ.0520.203.2/0215 ภาควิชาการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 73000

7 กรกฎาคม 2548

เร่ือง ขอความอนุเคราะหตรวจเครื่องมือวจิัย เรียน นายสทุธิศักดิ์ เฟองเกษม ส่ิงที่สงมาดวย แบบสอบถาม จาํนวน 1 ฉบับ ดวย นางสุจินตรา ผริตะโกมล นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทําสารนิพนธเร่ือง ”การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี “ ดังนั้นจึงขอความอนุเคราะหจากทาน ไดโปรดตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ เพื่อการวิจัยที่แนบมาพรอมกันนี้ และขอขอบพระคุณเปนอยางสูง มา ณ โอกาสนี้ดวย

ขอแสดงความนับถือ

ชวนชม ชนิะตังกรู (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชวนชม ชินะตังกรู)

หัวหนาภาควิชาการบริหารการศกึษา ฝายธุรการ โทร 034219136

FAX. 034219136

Page 101: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

91

รายชื่อผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ 1.นายสุทธิศักดิ ์เฟองเกษม ตาํแหนง ผูอํานวยการโรงเรียน อันดับ ค.ศ.4 โรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัยนนทบุรี

วุฒิการศึกษา ปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2.ดร.วิทยา ศรีชมภู ตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียน วุฒิการศึกษา ปริญญาเอก สาขาประชากรศึกษา

มหาวิทยาลยัมหิดล 3.นายธเนศ ขําเกิด ตาํแหนงศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ

สํานกังานเขตพืน้ที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 วุฒิการศึกษา ปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธิราช

Page 102: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

92

ภาคผนวก ข

เอกสารหนังสือ ขอทดลองเครื่องมือ

Page 103: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

93

ที่ ศธ.0520.203.2/1297 ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

นครปฐม 73000

10 สิงหาคม 2548 เร่ือง ขอทดลองเครื่องมือ เรียน ผูอํานวยการโรงเรียนสวนกหุลาบวทิยาลยั นนทบุรี ส่ิงที่สงมาดวย แบบสอบถาม จาํนวน 1 ฉบับ ดวย นางสุจนิตรา ผริตะโกมล นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิยาลยัศิลปากร ไดรับอนุมัติใหทําสารนิพนธเร่ือง ”การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกุหลาบวทิยาลยันนทบุรี” ในการนี้ภาควิชาการบริหารการศกึษา ใครขอความอนุเคราะหใหนางสาวยาใจ ดีชวยทาํการทดสอบความเชือ่มั่นของเครื่องมือในสถานศึกษาของทาน เพื่อนาํไปปรับปรุงแกไขกอนนาํไปใชในการวิจัยกลุมตัวอยาง หวงัเปนอยางยิง่วาคงไดรับความอนุเคราะหจากทานเปนอยางด ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดพจิารณาอนุเคราะห

ขอแสดงความนับถือ

ฝายธุรการ ชวนชม ชนิะตังกรู โทร 034-219136 (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชวนชม ชินะตังกรู) FAX. 034-219136 หัวหนาภาควิชาการบริหารการศึกษา

Page 104: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

94

ภาคผนวก ค

เอกสารหนังสือ ขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล

Page 105: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

95

ที่ ศธ.0520.107(นฐ) / 0134 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวงัสนามจนัทร นครปฐม 73000

16 มกราคม 2549

เร่ือง ขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล เรียน ผูอํานวยการโรงเรียนสวนกหุลาบวทิยาลยันนทบรีุ ดวย นางสุจินตรา ผริตะโกมล นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยัศิลปากร กาํลังทาํสารนพินธเร่ือง “การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัยนนทบุรี“มีความประสงคจะขอเกบ็รวบรวมขอมูลจากผูบริหาร คณะกรรมการบริหารโรงเรยีน คณะกรรมการสถานศกึษาขัน้พืน้ฐาน ครูผูสอน คณะกรรมการนักเรียนและผูปกครอง ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราว สมาคมและมูลนธิ ิผูประกอบรานคา ในหนวยงานของทาน เพื่อประกอบการทําสารนพินธ ในการนี้บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร จงึขอความอนุเคราะหจากทาน โปรดแจง คณะกรรมการ ครูผูสอน ลูกจางสมาคมและมูลนิธ ิ ผูประกอบรานคาทราบ เพื่อความรวมมือในการตอบแบบสอบถามใหแกนักศึกษาดังกลาวดวย

จึงเรียนมาเพือ่โปรดใหความอนุเคราะห จักขอบพระคณุยิ่ง ขอแสดงความนับถือ จิราวรรณ คงคลาย

สํานักงานบัณฑิตวิทยาลยั (รองศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย) โทร.0-3424-3435,0-3421-8788 คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

Page 106: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

96

ภาคผนวก ง

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

Page 107: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

97

แบบสอบถามเพื่อการวิจยั เรื่อง

การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุร ีคําชี้แจง

แบบสอบถามฉบับนี้จัดทําขึ้น มีวัตถุประสงคเพื่อทราบความพอใจและความคาดหวัง การจัดการสิง่แวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั นนทบุรี แบบสอบถาม มี 3 ตอน คือ

ตอนที่ 1 สถานภาพสวนตวัของผูตอบแบบสอบถาม จาํนวน 4 ขอ ตอนที่ 2 ความพอใจและความคาดหวงัการจัดการสิ่งแวดลอม ของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลยั นนทบุรี จาํนวน 43 ขอ ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะเกี่ยวกบัการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวทิยาลยั

นนทบุรี ขอความกรุณาทานไดโปรดใหขอมูลตามสถานภาพความเปนจริงที่ปรากฏใน

สถานศึกษาและกรุณาตอบใหครบทุกขอ เพราะขอมูลที่สมบูรณเทานั้น จึงจะสามารถนํามาวิเคราะหได ผลการวิจัยนี้จะเปนประโยชนแกสถานศึกษา และขอรับรองวาจะไมมีผลกระทบทางลบตอตัวทาน หรือสถานศึกษาทั้งทางตรงและทางออมแตอยางใด หวังเปนอยางยิ่งวาคงไดรับความอนุเคราะหดวยดีจากทุกๆทาน

ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี ้ (นางสุจนิตรา ผริตะโกมล) นักศกึษาปรญิญาโท สาขาวิชาการบรหิารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลยัศิลปากร

Page 108: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

98

แบบสอบถามเพื่อการวิจยั เรื่อง การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลวทิยาลยั นนทบุรี ตอนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม คําชี้แจง โปรดทําเครือ่งหมาย ลงใน [ ] หนาขอความที่ตรงกับสถานภาพของทาน

สถานภาพของทาน สําหรบัผูวิจัย เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง

[ ] 01

อาย ุ [ ] ไมเกิน 20 ป [ ] 21 – 30 ป [ ] 31 – 40 ป [ ] 41 – 50 ป [ ] 51 – 60 ป

[ ] 0 2

ระดับการศึกษา [ ] ประถมศึกษา [ ] มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทยีบเทา [ ] มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา [ ] อนุปริญญาหรือเทียบเทา [ ] ปริญญาตรีหรือเทียบเทา [ ] ปริญญาโท [ ] ปริญญาเอก [ ] อ่ืนๆ(โปรดระบุ).............................................................

[ ] 03

ตําแหนงปจจุบัน [ ] ผูอํานวยการสถานศึกษาหรือรองผูอํานวยการสถานศึกษา [ ] ครู [ ] คณะกรรมการสถานศึกษา [ ] ตัวแทนสมาคมและมูลนิธ ิ [ ] ตัวแทนคณะกรรมการนกัเรียน [ ] ลูกจางชัว่คราว [ ] ลูกจางประจาํ [ ] ผูประกอบการรานคา [ ] ผูปกครองคณะกรรมการนักเรียน

[ ] 04

Page 109: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

99

ตัวอยางการตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัดส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สุด

5

มาก 4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สุด

1

มาก ที่สุด

5

มาก

4

ปาน กลาง

3

นอย 2

นอยที่สุด

1 1 การจัดบริเวณ

โรงเรียนสะอาด รมร่ืน และสวยงาม

การแปลความหมาย จากตัวอยางแสดงวาทานมีความพอใจตอการจัดบริเวณโรงเรียนสะอาด รมร่ืน และสวยงาม ซึ่งเปนสภาพปจจุบันของโรงเรียนอยูในระดับปานกลาง แตทานมีความคาดหวังตอการจัดบริเวณโรงเรียน สะอาด รมร่ืน และสวยงาม ซึ่งเปนสภาพที่ทานตองการในระดับมาก

Page 110: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

100

ตอนที่ 2 ความพอใจและความคาดหวัง และขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดลอมของ

โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โปรดพิจารณาการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี แลวเขียนเครื่องหมาย ลงในชองระดับความพอใจและความคาดหวัง ตามความคิดเห็นของทาน หากทานมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดลอมของโรงเรียน กรุณาเขียนขอเสนอแนะของทานลงในชองขอเสนอแนะเพิ่มเติม

ระดับความพอใจ

ตอการจัดส่ิงแวดลอม ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัดส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ 1. ที่ตั้งของ

โรงเรียนมีความเหมาะสม การคมนาคมสะดวกและปลอดภัย

[ ]05

2. ที่ตั้งของโรงเรียนอยูหางจากสิ่งรบกวนภายนอก เชน เสียงดัง น้ําเนาเสีย โรงงาน

[ ]06

3. การจัดบริเวณโรงเรียนสะอาด รมร่ืนและสวยงาม

[ ]07

Page 111: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

101

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัดส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก 4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

4. มีน้ําดื่ม น้ําใชสะอาด พอเพียงและมีระบบสาธารณูปโภคที่ดี

[ ]08

5. วัสดุ ครุภัณฑตาง ๆและอุปกรณ ในโรงเรียนมีความพอเพียงและใชการไดดี

[ ]09

6. มีอาคารเรียนและหองเรียนพอเพียงกับจํานวนนักเรียน

[ ]10

7. หองเรียนและอาคารเรียนมีความสะอาด การถายเทอากาศดี มีแสงสวางเพียงพอ

[ ]11

8. มีอาคารประกอบพอเพียงสําหรับการใชงาน

[ ]12

9. อาคารเรียน อาคารประกอบและส่ิงกอสรางตาง ๆ ตั้งอยูในทิศทางที่เหมาะสม

[ ]13

Page 112: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

102

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัด

ส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

10. โรงเรียนมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี

[ ]14

11. มีบริเวณใหนักเรียนและครูอาจารยไดพักผอนหยอนใจยามวาง

[ ]15

12. มีสนามกีฬาและที่ออกกําลังกายพอเพียงสําหรับครูและ นักเรียน

[ ]16

13. มีโรงอาหารที่สะอาดพอเพียงกับจํานวนบุคลากรและถูกสุขอนามัย

[ ]17

14. ถนนและทางเดินเทาในบริเวณโรงเรียน มีความสะอาดปลอดภัย

[ ]18

Page 113: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

103

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัดส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

15. มีหองน้ํา หองสวมพอเพียง สะอาดและ ถูกสุขลักษณะ

[ ]19

ส่ิงแวดลอมทางวิชาการ 16. ครูผูสอนเอาใจ

ใสนักเรียนทุกคนเทาเทียมกัน

[]20

17. ครูผูสอนเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงออกอยางเต็มที่

[ ] 21

18. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

[ ]22

19. นักเรียนเลือกกิจกรรมการเรียนไดตามความสามารถและความตองการของตนเอง

[ ]23

Page 114: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

104

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัดส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

20. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในและนอกหองเรียนอยางหลากหลายที่สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตามความสามารถที่เหมาะสมกับธรรมชาติและความตองการของผูเรียนอยางเต็มที่

[ ]24

21. มีแหลงเรียนรูที่หลากหลายและเกิดประโยชนตอการเรียนรู

[ ]25

22. โรงเรียนมีหองสมุดที่ไดมาตรฐาน มีจํานวนหนังสือและส่ือเทคโนโลยี่หลากหลายเพียงพอกับความตองการของนักเรียนและครูอาจารย

[ ]26

Page 115: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

105

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัด

ส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

23. นักเรียนมีโอกาสไปเรียนรูภายนอกโรงเรียน

[ ]27

24. นักเรียนไดเรียนรูโดยการฝกปฏิบัติจริง

[ ]28

25. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมพัฒนาผูเรียนใหไดรับการพัฒนาสุนทรียภาพอยางครบถวนทั้งดนตรี ศิลปะและกีฬา

[ ]29

26. ครูและนักเรียนมีความสัมพันธอันดีตอกัน

[ ]30

27. โรงเรียนมีส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและอุปกรณการเรียนการสอนพอเพียง

[ ]31

Page 116: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

106

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัด

ส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

28. โรงเรียนมีปายนิเทศทั้งในหองเรียนและบริเวณโรงเรียนเพียงพอ

[ ]32

29. โรงเรียนประชาสัมพันธความสามารถทางวิชาการของนักเรียนใหบุคคลและหนวยงานภายนอกรับรู

[ ]33

ส่ิงแวดลอมทางการบริหารจดัการ 30. มีการจัด

โครงสรางการบริหารและบริหารงานอยางเปนระบบโดยมีการปรับตัวอยางยืดหยุนตามสถานการณ

[ ]34

Page 117: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

107

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัด

ส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

31. ผูมาติดตองานที่โรงเรียนไดรับความสะดวกรวดเร็วและการตอนรับที่ดี

[ ]35

32. มีบรรยากาศแหงการเอื้ออาทรและเปนมิตรตอกันทุกฝาย

[ ]36

33. โรงเรียนมีการพัฒนาในดานตาง ๆ อยางตอเนื่อง

[ ]37

34. ครูไดรับมอบหมายงาน ที่เหมาะสมกับความสามารถและความตองการของตนเอง

[ ]38

Page 118: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

108

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัดส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

35. ครูไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีความเจริญกาวหนาในอาชีพอยางเทาเทียมกัน

[ ]39

36. มีการบริหารงานที่โปรงใสในทุกขั้นตอนสามารถชี้แจงทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของได

[ ]40

37. โรงเรียนมีระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการที่ถูกตองครบถวนและทันตอการใชงาน

[ ]41

38. โรงเรียนประสานชุมชนและหนวยงานภายนอกมาชวยเหลือสนับสนุนโรงเรียน

[ ]42

Page 119: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

109

ระดับความพอใจ ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ระดับความคาดหวัง ตอการจัดส่ิงแวดลอม

ขอที่

การจัดส่ิงแวดลอมของ โรงเรียนสวน

กุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

มากที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยที่สดุ

1

มาก ที่สดุ

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอย ที่สดุ

1

สํา หรับผูวิจัย

39. โรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธระหวางบุคลากรในโรงเรียนสมํ่าเสมอ

[ ]43

40. โรงเรียนมีระบบการติดตอส่ือสารที่ดี

[ ]44

41. บุคลากรในโรงเรียนยอมรับความสามารถของกันและกัน

[ ]45

42. ผูบริหารยอมรับทั้งความคิดเห็นและขอเสนอแนะของบุคลากร

[ ]46

43. บุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาโรงเรียน

[ ]47

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดส่ิงแวดลอม .....................................................................................................................................................................................................................................................................................……….................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................……………………............

ขอบคุณคะ

Page 120: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

110

ภาคผนวก จ

การหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม

Page 121: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

111

R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A) Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item- Alpha If Item If Item Total If Item Deleted Deleted Correlation Deleted QA1 149.7333 223.9264 .1565 .9332 QA2 149.4000 223.8345 .1781 .9329 QA3 149.3667 218.4471 .4446 .9308 QA4 149.4333 213.8402 .6483 .9290 QA5 149.5333 217.0851 .5351 .9301 QA6 150.6333 213.6195 .5692 .9297 QA7 150.0333 215.2747 .5946 .9295 QA 150.2333 225.2885 .1395 .9328 QA9 149.8667 218.8782 .5735 .9301 QA10 150.1333 221.0851 .2391 .9330 QA11 150.0333 213.6885 .5885 .9302 QA12 150.0000 215.8621 .4298 .9312 QA13 149.8667 212.5333 .5217 .9303 QA14 149.9000 217.1966 .4661 .9306 QA15 150.1333 221.5678 .2190 .9332 QA16 149.7667 219.3575 .5288 .9304 QA17 149.5333 222.1195 .3344 .9316 QA18 149.9333 218.7540 .4292 .9309 QA19 149.6333 222.9299 .2106 .9327 QA20 149.3000 217.4586 .4534 .9308 QA21 149.5667 218.7368 .4816 .9305 QA22 149.5000 212.8103 .7225 .9284 QA23 149.1000 216.2310 .5738 .9298

Page 122: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

112

Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item- Alpha If Item If Item Total If Item Deleted Deleted Correlation Deleted QA24 149.5333 215.6368 .6774 .9291 QA25 149.2667 217.4437 .5126 .9303 QA26 149.4333 217.2195 .5736 .9299 QA27 149.4000 218.8690 .4091 .9311 QA28 149.5333 214.1885 .6381 .9291 QA29 149.5667 213.7713 .6485 .9290 QA30 149.7000 215.4586 .5851 .9296 QA31 149.6333 212.3092 .7608 .9282 QA32 149.6333 215.1368 .6689 .9291 QA33 149.3000 219.7345 .5235 .9304 QA34 149.6000 221.4207 .3603 .9314 QA35 149.8000 217.4759 .4797 .9305 QA36 150.0333 217.7575 .4673 .9306 QA37 149.7333 215.6506 .4970 .9304 QA38 149.4667 211.9816 .7254 .9283 QA39 149.9000 220.4379 .3705 .9314 QA40 149.4667 217.4989 .4920 .9304 QA41 149.8000 218.0276 .4517 .9308 QA42 149.8667 216.2575 .4738 .9306 QA43 149.9000 214.4379 .4325 .9314 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 43 Alpha = .9321

Page 123: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

113

R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A) Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item- Alpha If Item If Item Total If Item Deleted Deleted Correlation Deleted QB1 173.9667 371.1368 .4979 .9697 QB2 174.0000 358.8996 .7903 .9686 QB3 173.6333 373.8264 .4460 .9699 QA4 173.8333 368.9713 .6183 .9694 QB5 173.9333 369.1678 .6428 .9693 QB6 174.0000 366.5517 .6559 .9692 QB7 174.0000 376.6897 .2926 .9703 QB8 174.1667 369.4540 .5741 .9695 QB9 174.3000 396.9414 .5006 .9698 QB10 174.2333 372.5989 .4289 .9700 QB11 174.0333 370.7920 .6242 .9694 QB12 174.0000 366.8276 .7128 .9690 QB13 173.9333 369.6506 .5029 .9697 QB14 174.1333 363.3609 .6096 .9694 QB15 174.0667 370.2023 .4833 .9698 QB16 174.1667 367.7989 .5893 .9694 QB17 174.3000 362.3552 .7534 .9688 QB18 174.2666 364.8230 .7435 .9689 QB19 174.1000 367.1276 .5773 .9695 QB20 174.2333 367.4264 .4841 .9700 QB21 174.1333 369.9126 .5301 .9696 QB22 174.0000 360.2069 .7937 .9686 QB23 174.2333 366.8057 .5779 .9695

Page 124: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

114

Item-total Statistics Scale Scale Corrected Mean Variance Item- Alpha If Item If Item Total If Item Deleted Deleted Correlation Deleted QB24 174.0667 363.4437 .7030 .9690 QB25 174.0000 367.5862 .6772 .9692 QB26 174.1333 367.4299 .5834 .9695 QB27 173.9000 363.6793 .6814 .9691 QB28 174.1000 364.5069 .7399 .9689 QB29 174.1000 367.2655 .6227 .9693 QB30 174.2333 355.4954 .8457 .9683 QB31 174.1333 364.7402 .6919 .9691 QB32 174.1667 358.9713 .7760 .9687 QB33 173.8667 365.6368 .7081 .9690 QB34 174.0667 366.6161 .7760 .9689 QB35 174.1333 358.3954 .7771 .9687 QB36 174.1667 352.0057 .8075 .9686 QB37 173.9333 360.4782 .7589 .9688 QB38 174.1333 366.6713 .5681 .9695 QB39 174.3333 361.2644 .7721 .9687 QB40 174.0000 364.4138 .6865 .9691 QB41 174.2333 364.4609 .7244 .9689 QB42 174.0000 356.3724 .7260 .9690 QB43 174.2333 355.5644 .7053 .9691 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 43 Alpha = .9699

Page 125: นตรา - Silpakorn University · สวนกุหลาบว ิทยาลัย นนทบุรี..... 54 ตอนที่ 3 ิการวเคราะห ความคาดหวังต

115

ประวัติผูวิจยั

ชื่อ นางสุจินตรา ผริตะโกมล ที่อยู 108/572 ถนนรัตนาธิเบศร ตําบล บางรักพัฒนา อําเภอบางบัวทอง จงัหวัดนนทบุรี 11110

ประวัติการศกึษา พ.ศ.2519 สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลยัรามคําแหง พ.ศ.2544 ศึกษาตอระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาศิลปากร

ประวัติการทาํงาน พ.ศ.2521 อาจารย 1 โรงเรียนบรรพตพสัิยพิทยาคม จังหวัดนครสวรรค พ.ศ.2528 อาจารย 2 โรงเรียนบางบัวทอง จงัหวัดนนทบุรี พ.ศ.2533 ชวยราชการ สํานักงานสามญัศึกษาจงัหวดันนทบุรี

พ.ศ.2539 ชวยราชการ สํานักงานเลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ.2539 ดํารงตําแหนงผูชวยผูอํานวยการโรงเรียนบางเลนวทิยา อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม

พ.ศ. 2542-ปจจุบัน ดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการโรงเรียนสวนกหุลาบวิทยาลัย นนทบุรี จังหวัดนนทบุรี