39
203 บทที8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว อุตสาหกรรมเซรามิกและแกวเปนอุตสาหกรรมที่อาศัยปจจัยการผลิตในประเทศเปนหลัก ปจจัย การผลิตที่สํ าคัญไดแก วัตถุดิบ, เครื่องมือเครื่องใช , และสาธารณูปโภค โดยในแตละหัวขอจะแยกอธิบายเปนอุตสาหกรรม เซรามิก และ อุตสาหกรรมแกวและกระจก เนื่องจากปจจัยการผลิตในสองอุตสาหกรรมนี้มีความแตกตางกัน 8.1 แหลงวัตถุดิบและขอกําหนดในการใชทรัพยากร 8.1.1 แหลงวัตถุดิบและขอกําหนดในการใชทรัพยากรในอุตสาหกรรมเซรามิก วัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิตเซรามิกดั้งเดิม แบงไดเปน 2 กลุมใหญ ไดแก กลุมวัตถุดิบที่ใช เปนเนื้อดินปน และกลุมวัตถุดิบที่ใชสํ าหรับเคลือบสีลงลาย โดยในแตละกลุมวัตถุดิบจะสามารถแบงรายละเอียด แยกยอยลงไปไดดังนี1. กลุมวัตถุดิบที่ใชเปนเนื้อดินป1.1 วัตถุดิบที่ทํ าหนาที่ในการใหความเหนียวไดแก ดิน ซึ่งในกระบวนการผลิตเซรามิกดั้งเดิมมี การใชดินหลายประเภท ที่สําคัญไดแก ดินขาว (Kaolin), ดินดํ าหรือดินเหนียวขาว (Ball Clay), ดินเหนียว (Plastic Clay), และดินเบนโตไนท (Bentonite) 1.2 วัตถุดิบที่ทําหนาที่ในการเปนตัวหลอมละลายเพื่อใหดินสุกในอุณหภูมิที่ตองการ ไดแก หินฟนมา (Feldspar), หินสดหรือหินแข็ง (Pottery/China Stone), เนฟธาลีนไซยาไนท (Nepheline Syenite), เถากระดูก (Bone Ash), ทัลคหรือทัลคัม (Talc), หินปูน (Limestone), และโดโลไมท (Dolomite) เปนตน 1.3 วัตถุดิบที่ทํ าหนาที่เปนตัวชวยในการลดการหดตัวและเพิ่มความทนไฟไดแก ซิลิกา (Silica), ดินเชื้อ (Grog/Calcined Clay), อะลูมินา (Alumina), แคลไซนคายยาไนท (Calcined Kyanite), และ ไพโรฟลไลท (Pyrophyllite) 1.4 วัตถุดิบที่ทํ าหนาที่เปนสารชวยในการขึ้นรูปไดแก สารชวยยึดเกาะ (Binder), สารชวยการกระจายตัว (Deflocculants), สารชวยลดการเกิดฟอง (Defoamer), สารชวยในการหลอลื่น (Lubricant) 2. กลุมที่ใชสําหรับเคลือบสีลงลาย ไดแก สี (Stain), ฟริต (Frit), ซิลิกา, ดินขาว, หินปูน, หินฟนมา, ขี้เถาพืช, บอแรกซ (Borax), โซดาแอช, และสารเคมีตางๆ ในการผลิตภัณฑเซรามิกดั้งเดิมใชวัตถุดิบตั้งตนในการผสมเปนเนื้อดินปนเพียง 4 ชนิดหลัก ไดแก ดินขาว, ดินดํ , หินฟนมา, และซิลิกาซึ่งไดจากแรทรายแกว (Silica Sand) และหากตองการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษเฉพาะ อยางใหกับเนื้อผลิตภัณฑ จึงจะเติมวัตถุดิบพิเศษเพิ่มเติมเขาไป เชนการผสมหินปูนในเนื้อดินทํากระเบื้องติดผนังเพื่อ

บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

203

บทที่ 8ปจจัยการผลิตในอตุสาหกรรมเซรามิกและแกว

อุตสาหกรรมเซรามิกและแกวเปนอุตสาหกรรมที่อาศัยปจจัยการผลิตในประเทศเปนหลัก ปจจัยการผลติทีส่ ําคญัไดแก วัตถดุบิ, เครือ่งมอืเครือ่งใช, และสาธารณปูโภค โดยในแตละหวัขอจะแยกอธบิายเปนอตุสาหกรรมเซรามิก และ อุตสาหกรรมแกวและกระจก เนื่องจากปจจัยการผลิตในสองอุตสาหกรรมนี้มีความแตกตางกัน

8.1 แหลงวัตถุดิบและขอกํ าหนดในการใชทรัพยากร8.1.1 แหลงวัตถุดิบและขอกํ าหนดในการใชทรัพยากรในอุตสาหกรรมเซรามิก

วัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิตเซรามิกดั้งเดิม แบงไดเปน 2 กลุมใหญ ไดแก กลุมวัตถุดิบที่ใชเปนเนื้อดินปน และกลุมวัตถุดิบที่ใชสํ าหรับเคลือบสีลงลาย โดยในแตละกลุมวัตถุดิบจะสามารถแบงรายละเอียด แยกยอยลงไปไดดังนี้

1. กลุมวัตถุดิบที่ใชเปนเนื้อดินปน1.1 วัตถุดิบที่ทํ าหนาที่ในการใหความเหนียวไดแก ดิน ซึ่งในกระบวนการผลิตเซรามิกดั้งเดิมมี

การใชดินหลายประเภท ที่สํ าคัญไดแก ดินขาว (Kaolin), ดินดํ าหรือดินเหนียวขาว (Ball Clay), ดินเหนียว (Plastic Clay), และดินเบนโตไนท (Bentonite)

1.2 วัตถุดิบที่ทํ าหนาที่ในการเปนตัวหลอมละลายเพื่อใหดินสุกในอุณหภูมิที่ตองการ ไดแก หินฟนมา (Feldspar), หินสดหรือหินแข็ง (Pottery/China Stone), เนฟธาลีนไซยาไนท (Nepheline Syenite), เถากระดูก (Bone Ash), ทัลคหรือทัลคัม (Talc), หินปูน (Limestone), และโดโลไมท (Dolomite)เปนตน

1.3 วัตถดุบิทีท่ ําหนาทีเ่ปนตวัชวยในการลดการหดตวัและเพิม่ความทนไฟไดแก ซลิิกา (Silica), ดนิเชือ้(Grog/Calcined Clay), อะลูมินา (Alumina), แคลไซนคายยาไนท (Calcined Kyanite), และ ไพโรฟลไลท (Pyrophyllite)

1.4 วัตถดุบิที่ท ําหนาทีเ่ปนสารชวยในการขึน้รปูไดแก สารชวยยดึเกาะ (Binder), สารชวยการกระจายตวั(Deflocculants), สารชวยลดการเกิดฟอง (Defoamer), สารชวยในการหลอล่ืน (Lubricant)

2. กลุมท่ีใชสํ าหรับเคลือบสีลงลาย ไดแก สี (Stain), ฟริต (Frit), ซิลิกา, ดินขาว, หินปูน, หินฟนมา, ขี้เถาพืช, บอแรกซ (Borax), โซดาแอช, และสารเคมีตางๆ

ในการผลิตภัณฑเซรามิกดั้งเดิมใชวัตถุดิบตั้งตนในการผสมเปนเนื้อดินปนเพียง 4 ชนิดหลัก ไดแกดินขาว, ดินดํ า, หินฟนมา, และซิลิกาซึ่งไดจากแรทรายแกว (Silica Sand) และหากตองการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษเฉพาะอยางใหกับเนื้อผลิตภัณฑ จึงจะเติมวัตถุดิบพิเศษเพิ่มเติมเขาไป เชนการผสมหินปูนในเนื้อดินทํ ากระเบื้องติดผนังเพื่อ

Page 2: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

204 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ลดการพรุนตัวของเนื้อดินและลดการรานตัวของเคลือบ หรือการใชโดโลไมทเปนสวนผสมของเนื้อดินปนเพื่อใหไดผลิตภัณฑมีสีขาวและนํ้ าหนักเบา เปนตน

ตารางที่ 8.1 สวนผสมวัตถุดิบเนื้อดินปนสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิกบางประเภท

สัดสวนของวัตถุดิบ (รอยละ)ผลิตภัณฑ ดินขาว ดินดํ า หินฟนมา ซิลิกา อื่นๆเอิรทเทิรนแวร 55 10 10 20 5สโตนแวร -

-50

47.550

47.5--

-5 (ดินเชื้อ)

พอรซเลน 35 15 15 35 -โบนไชนา 30 - 25 5 40

ที่มา : กรมวิทยาศาสตรบริการ พ.ศ. 2526

ทัง้นี ้ หากพจิารณาเฉพาะวัตถุดิบหลักทั้ง 4 ชนดิตามหลกัการวินจิฉยัของกรมทรพัยากรธรณแีลว จดัไดวาประเทศไทยมคีวามอดุมสมบรูณของวตัถดุบิส ําหรบัอตุสาหกรรมเซรามกิสงูมาก ดงัรายละเอยีดตอไปนี้

1) ดินขาว (Kaolin)

ดินขาวหรือดินเกาลินเปนหัวใจหลักในการผลิตเซรามิกดั้งเดิมโดยใชเปนสวนประกอบประมาณรอยละ 30 - 55 ของผลิตภัณฑ จัดแบงตามคุณภาพได 4 กลุมดวยกันไดแก ดินขาวดิบ, ดินขาวเซรามิก (Ceramics Grade) ซึ่งเปนดินขาวคุณภาพตํ่ าที่สุดในดินขาวที่ใชในอุตสาหกรรม, ดินขาวระดับฟลเลอร (Filler Grade), และระดับเคลือบ (Coating Grade) ซึ่งเปนดินขาวคุณภาพและราคาสูงกวาดินขาวเซรามิก ทั้งนี้ ดินขาวระดับฟลเลอรและระดับเคลือบนั้นใชในอุตสาหกรรมกระดาษ สี ยาง ยาฆาแมลง เปนตน สํ าหรับดินขาวเซรามิกเอง ก็มีคุณภาพแตกตางกันหลายระดับซึ่งใหคุณสมบัติหลังการเผาตางๆกันออกไป ในการผลิตเซรามิกประเภทตางๆ ตองการใชดินขาวที่มีคุณสมบัติแตกตางกัน อาทิเชน ดินขาวที่มีความบริสุทธิ์สูง ใหเนื้อดินหลังเผาเปนสีขาวบริสุทธิ์ นิยมนํ ามาผลิตผลิตภัณฑพอรซเลนและโบนไชนา สวนในการผลติกระเบือ้งปพ้ืูนนัน้ นยิมใชดนิทีม่รีาคาตํ ่า โดยเลอืกดนิทีห่ดตวันอยและมปีรมิาณคารบอนตํ ่าเพือ่ใหอดัเปนแผนไดงายโดยไมแตกบิน่ โดยไมจ ําเปนทีจ่ะตองท ําใหสขีองดนิหลงัเผาเปนสขีาว เพราะในการผลิตจะมีการตกแตงลวดลายและสีสันลงบนผิวหนาของกระเบื้องทํ าใหไมเห็นสีของเนื้อกระเบื้องในการนํ ามาใชงาน

ปจจบุนัประเทศไทยสามารถผลติดนิขาวไดส ําหรบัเซรามกิจนถงึระดบัฟลเลอรคุณภาพกลางเทานั้นโดยสวนใหญเปนดินขาวจากแหลงกํ าเนิดที่เกิดจากการผุผังตามธรรมชาติของหินตางๆ จึงมักมีเม็ดหยาบมีความเหนียวนอยกวาดินเม็ดละเอียด แหลงดินขาวในประเทศไทยมีหลายแหงไดแก ที่จังหวัดระนอง ลํ าปาง ปราจนีบรุ ีนราธวิาส อตุรดติถ เชียงราย และชมุพร ดนิขาวเซรามกิเองกม็หีลายคณุภาพดงัทีไ่ดเกริน่ไว ดนิจากบางแหลงไมสามารถนํ ามาทํ าเซรามิกได ปจจุบันดินขาวที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกไดแก ดินขาวระนอง ในเขตจังหวัดชุมพรและ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งเปนดินขาวคุณภาพปานกลาง และดินขาวลํ าปางซึ่งเปนดินขาวคุณภาพตํ่ า

Page 3: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 205

ตารางที่ 8.2 เปรียบเทียบผลการวิเคราะหทางเคมีของดินขาวจากแหลงตางๆ ในประเทศไทยกับมาตรฐานอังกฤษ

ผลวิเคราะหเคมีสูตรเคมีดินขาวบริสุทธิ์

มาตรฐานดินขาวอังกฤษ

ดินขาวระนอง

ดินขาวนราธิวาส

โคกไมลายปราจีนบุรี

บานไรอุทัยธานี

บานวังยางอตุรดิตถ

เวียงปาเปาเชียงราย

ปางคาลํ าปาง

ดินขาวระยอง

ซิลิกา (SiO2) 46 46 – 47 48.75 47.30 48.10 65.93 68.56 44.50 59.70 51.85อะลูมินา (Al2O3) 39 37 – 39 34.58 35.72 36.10 24.85 19.32 38.20 27.60 32.77เหล็ก (Fe2O3) 0.4 – 1.0 0.71 0.38 1.47 1.28 2.21 0.80 0.85 2.12

ไทเทเนียม (TiO2) 1 0.02 0.20 0.79 0.05 0.21 0.20 0.07 0.53แคลเซียม (CaO) 0.07 0.11 0.20 0.15 0.05 0.10 0.13 0.02แมกนีเซียม (MgO) 0.34 1.01 0.14 0.45 0.53 - 0.25 0.18โปแตสเซียม (K2O) 1.0 – 2.0 2.52 1.76 0.16 1.73 4.99 0.80 5.85 3.58โซเดียม (Na2O) 0.48 0.39 0.13 0.12 0.22 - 0.15 0.41นํ้ าหนักที่หายไปหลังการเผา (LOI)

14 12.5 10.66 12.99 12.95 5.45 3.01 14.20 5.39 14.12

ที่มา : ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน, เนื้อดินเซรามิก, ส ํานักพิมพโอเดียนสโตร กรุงเทพฯ, 2541 หนา 44

สํ าหรับราคาดินขาวนั้น จะแตกตางกันตามคุณภาพของดิน โดยในป 2543 ราคาประกาศแรดินขาวเพื่อใชเปนเกณฑประเมินในการเรียกเก็บคาภาคหลวงแรของกรมทรัพยากรธรณีมีดังนี้

ดินขาวระดับฟลเลอร 1,900 บาทตอตันดินขาวเซรามิก 960 บาทตอตันดินขาวดิบ 385 บาทตอตัน

การทํ าเหมืองและแตงแรดินขาวมีทั้งแบบเปยกและแบบแหง โดยแบบเปยกเปนที่นิยมใชแพรหลายกวา การแยกแรแบบเปยกที่ใชในปจจุบัน มีทั้งแบบดั้งเดิมคือแบบรางซิกแซก โดยใชนํ้ าใหการชะลางเพื่อใหดินและทรายแยกออกจากกัน วิธีการแบบรางซิกแซกนี้ทํ าใหไดดินที่มีคุณภาพไมสมํ่ าเสมอ นอกจากนั้นยังมีวิธีการแยกแรแบบไฮโดรไซโคลนและใชระบบนํ้ าหมุนวนซึ่งอาศัยงบลงทุนพัฒนาระบบสูงกวาแบบดั้งเดิม สํ าหรับการแตงแรแบบแหงจะมีการนํ าถังบดและเครื่องบดแบบลูกกลิ้งเขามาใชทํ าใหไดเนื้อดินขาวมากกวาแตก็เปนกระบวนการที่ทํ าใหมีสิ่งปะปนมากกวาดินลางแบบเปยก

ในปจจุบันมีผูจํ าหนายวัตถุดิบบางบริษัท เชน บริษัทมินเนอรัลรีซอรสเซสดีเวลลอปเมนต จํ ากัด (MRD-ECC) และบริษัท เคลย แอนด มินเนอรัล (ประเทศไทย) จํ ากัดไดนํ าเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในการผลิตแรดินขาวที่มีคุณภาพไดมาตรฐาน ทํ าใหไดแรดินขาวที่มีคุณภาพดีเปนที่ตองการของผูซื้อสวนใหญจนในบางชวงผลิตไมทันตอความตองการของผูซื้อ และยังสงผลใหผูผลิตแรดินขาวรายยอยหลายรายที่ใชเทคโนโลยีแบบดั้งเดิมผลิตดินไดคุณภาพไมไดมาตรฐานและ/หรือคุณภาพดินไมสมํ่ าเสมอ ประสบปญหาขาดแคลนลูกคา มีแรดินขาวคางคลังเปนจํ านวนมาก จนตองขายตอใหแกบริษัทผูจํ าหนายวัตถุดิบเหลานี้อีกตอหนึ่งในราคาตํ่ ากวาขายแกลูกคาโดยตรง

Page 4: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

206 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 8.3 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองผลิตแรดินขาว

จังหวัด จํ านวนประทานบัตร(แปลง)

เนื้อท่ี(ไร)

ปริมาณแรสํ ารอง(ตัน)

กาญจนบุรี 7 900 800,000เชียงราย 1 95 40,000เชียงใหม 2 283 250,000นครนายก 1 26 50,000

นครศรีธรรมราช 1 50 150,000นราธิวาส 2 40 200,000ปราจีนบุรี 2 75 300,000เพชรบุรี 3 600 1,000,000แพร 1 8 20,000ระนอง 11 1,400 3,000,000ระยอง 1 28 50,000ลพบุรี 2 200 100,000ลํ าพูน 1 170 100,000ลํ าปาง 37 2,250 9,500,000สุโขทัย 1 90 150,000อตุรดิตถ 12 550 1,500,000อุทัยธานี 1 242 500,000รวม 86 7,007 17,710,000

ที่มา : กองการเหมือนแร กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2536

Page 5: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 207

ตารางที่ 8.4 ปริมาณการผลิตแยกตามรายจังหวัด การใช การสงออก และการนํ าเขาดินขาวในป พ.ศ. 2538 – 2542ปริมาณการผลิต (ตัน)

แหลงผลิตพ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542

1. ดินขาว ลาง จ.เชียงราย - - - 3,000 500จ.ลํ าปาง 282,139 422,491 140,468 59,410 18,162จ.ลํ าพูน 400 - - - -จ.สุโขทัย 220 - - - -จ.อุทัยธานี 25,000 2,997 - - -จ.อุตรดิตถ 16,695 3,412 4,189 3,777 5,986จ.อุดรธานี - - 2,100 - 1,000จ.ลพบุรี 2,410 11,312 12,170 6,876 2,000จ.นครนายก 6,000 - - - -จ.เพชรบุรี 13,415 3,545 20,200 8,810 8,012จ.ปราจีนบุรี 1,900 2,500 2,500 - 1,300จ.ราชบุรี 2,870 2,600 1,720 8,190 14,200จ.ระยอง - - 29,000 97,395 11,400จ.นครศรีธรรมราช 10,000 13,000 6,000 - 1,000จ.นราธิวาส 4,054 3,611 3,118 1,799 2,988จ.ระยอง 60,131 67,572 74,165 58,504 46,157จ.สุราษฎรธานี 800 2,000 880 700 300รวม 426,034 535,040 296,510 248,461 113,005มูลคา (ลานบาท) 409.0 513.6 284.6 238.5 108.52. ดินขาว ไมลางจ.กาญจนบุรี 34,595 18,710 10,325 17,994 19,210จ.ลพบุรี - - - - 5,900จ.นราธิวาส 32,118 32,578 29,913 8,862 -รวม 173,189 153,682 205,560 154,511 243,213มูลคา (ลานบาท) 56.3 58.1 79.1 59.5 93.63. ดนิขาว ฟลเลอรเกรด จ.อุตรดิตถ (เร่ิมขุด สิงหาคม 2538) 948 14,521 12,279 8,555 11,209จ.นราธิวาส 9,908 8,043 6,309 5,843 3,556รวม 10,856 22,564 18,588 14,398 14,765มูลคา (ลานบาท) 20.6 42.9 35.3 27.4 28.1รวมทั้งสิ้น 610,079 711,286 520,658 417,370 370,983รวมมูลคาท้ังสิ้น (ลานบาท) 485.9 614.5 399.0 325.4 230.2

Page 6: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

208 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

การใชภายในประเทศรวม

504,988 524,136 398,727 263,486 331,869มูลคา (ลานบาท) 375.2 443.5 326.7 216.0 216.3การสงออกรวม

26,811 18,359 10,647 8,833 10.951มูลคา (ลานบาท) 17.2 12.5 11.2 33.1 25.0การนํ าเขารวม

17,285 24,624 24,050 15,485 17,742มูลคา (ลานบาท) 75.2 102.5 110.8 122 133.1ที่มา : กองวิชาการและวางแผน กรมทรัพยากรธรณี

2) ดินดํ า (Ball Clay)

ดินดํ าหรือดินเหนียวขาว (Ball Clay) เปนวัตถุดิบหลักที่สํ าคัญรองลงมาจากดินขาวโดยมักจะใชเปนสวนผสมในเนื้อดินปนในปริมาณรอยละ 10–50 ของสวนผสมทั้งหมด ดินดํ าคุณภาพดีจะมีเนื้อละเอียดและใหสีขาวหลังการเผา ดินประเภทนี้จะเปนที่นิยมใชกันมากในการผลิตเครื่องถวยชามและเครื่องสุขภัณฑโดยผสมกับดิน-ขาวเพื่อชวยเพิ่มความเหนียวใหแกเนื้อดินปนทํ าใหปนขึ้นรูปไดดีขึ้น และยังชวยใหผลิตภัณฑมีความแข็งแรงกอนการเผาซึ่งชวยลดการสูญเสียจากการแตกหักกอนเผา ในกรณีการขึ้นรูปแบบหลอเปยก ดินดํ ามีสวนทํ าใหนํ้ าดินหลอมีลักษณะของการไหลตัวดี สวนดินดํ าที่พบทั่วไปมักมีคุณภาพปานกลางเนื่องจากมีทรายเจือปนอยูคอนขางมาก นิยมใชสํ าหรับผลิตเครื่องใชบนโตะอาหารที่ขึ้นรูปดวยแปนหมุนและผลิตกระเบื้องปูพ้ืน อยางไรก็ดีหากเลือกใชดินดํ าคุณ-ภาพไมดีมีสิ่งเจือปนสูง จะทํ าใหไดผลิตภัณฑที่มีตํ าหนิ นอกจากนั้นดินดํ ายังมักจะมีองคประกอบในเนื้อดินที่ไมแนนอน ทํ าใหควบคุมสวนผสมไดยาก แหลงดินดํ าหรือดินเหนียวขาวในประเทศไทยที่มีการนํ ามาใชในการผลิตเครื่องปนดินเผา ไดแกในเขตจังหวัดเชียงใหม, เชียงราย, ลํ าปาง, ปราจีนบุรี, ดินดํ าบานนาสารและพลุพลี สุราษฎรธานี, และดินดํ าลานสะกา นครศรีธรรมราช

แตเดิมนั้น ผูผลิตเซรามิกนิยมผลิตดินดํ าเองภายในโรงงาน บางรายมีการทํ าเหมืองดินเอง แตตอมาเริ่มมีผูผลิตดินดํ ามาจํ าหนาย โดยกวา 5 ปที่ผานมา มีผูผลิตดินดํ าลางออกจํ าหนายจากแหลงดินอาทิเชน จ.สุราษฎรธานี จ.นครศรีธรรมราช จ.ปราจีนบุรีและ จ.ลํ าปาง เปนตน เนื่องจากดินดํ าแตละแหลงมีองคประกอบทางเคมีและคุณ-สมบัติตางๆ แตกตางกัน สงผลใหดินดิบมีคุณภาพไมสมํ่ าเสมอ จึงไดมีการแกไขปญหาโดยการนํ าดินจากหลายๆแหลงมาผสมกันเพื่อใหไดเนื้อดินในแตละครั้งที่มีคุณภาพสมํ่ าเสมอกัน และมีการควบคุมผลวิเคราะหทางเคมี คุณ-สมบัติกอนและหลังเผา ตลอดจนตรวจสอบมาตรฐานกอนสงจํ าหนายโดยละเอียดทุกขั้นตอน คุณภาพของดินดํ าลางที่ไดจึงอยูในระดับดี สะดวกใชสํ าหรับผูผลิตเครื่องปนดินเผาที่ไมตองการทํ าเหมืองเตรียมดินเองเปนอยางยิ่ง สํ าหรับราคานั้น กรมทรัพยากรธรณีไดประกาศราคาเพื่อเรียกเก็บคาภาคหลวงของดินดํ าใน พ.ศ. 2543 เทากับ 550 บาทตอตัน

Page 7: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 209

ตารางที่ 8.5 เปรียบเทียบผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของดินดํ าไทยและอังกฤษ

ผลวิเคราะหเคมี

ดินดํ าเนื้อละเอียด

North Devonอังกฤษ

ดินดํ าปานทรายNorth Devon

อังกฤษ

บานนาสารสุราษฎรธานี

ปากพลีปราจีนบุรี

แมหยวกเชียงใหม

แมทานลํ าปาง

แจคอนลํ าปาง

ซิลิกา (SiO2) 49.0 64.0 50.94 52.0 59.2 59.92 56.2อะลูมินา (Al2O3) 32.0 24.0 31.70 27.3 23.7 25.92 29.8เหล็ก (Fe2O3) 1.0 0.9 2.78 3.4 0.9 0.62 2.90ไทเทเนียม (TiO2) 0.9 1.4 0.88 - 0.34 0.70 0.63แคลเซียม (CaO) 0.2 0.2 0.34 1.3 0.37 0.08 0.40แมกนีเซียม (MgO) 0.4 0.4 0.46 2.0 0.39 0.45 0.74โปแตสเซียม (K2O) 2.1 2.1 0.58 - 2.71 2.07 2.78โซเดียม (Na2O) 0.2 0.4 0.4 - 0.35 0.33 0.85นํ้ าหนักที่หายไปหลังการเผา (LOI)

13.5 7.5 11.75 13.9 9.6 9.12 7.0

ที่มา : ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน, เนื้อดินเซรามิก, ส ํานักพิมพโอเดียนสโตร กรุงเทพฯ, 2541 หนา 53

ตารางที่ 8.6 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองผลิตดินดํ า

จังหวัด จํ านวนประทานบัตร(แปลง)

เนื้อท่ี (ไร)

ปริมาณแรสํ ารอง (ตัน)

นครศรีธรรมราช 3 49 155,000นราธิวาส 1 26 60,000ปราจีนบุรี 1 4 10,000ลํ าปาง 28 1,928 4,600,000สุราษฎรธานี 1 48 110,000รวม 34 2,055 4,935,000ที่มา : กองการเหมืองแร กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2536

Page 8: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

210 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 8.7 ปริมาณการผลิต ใชในประเทศ นํ าเขา และสงออกดินดํ าในป พ.ศ. 2538 – 2542ปริมาณ (ตัน)แหลง

พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542การผลิตจ.เชียงราย 1,900 9,650 14,010 3,050 20,303จ.ลํ าปาง 297,443 360,834 264,346 198,749 292,851จ.ลํ าพูน (เร่ิมในป พ.ศ. 2538) 550 900 - - -จ.นครนายก 2,350 - - - -จ.ปราจีนบุรี - - - - 400จ.นครศรีธรรมราช 5,748 8,850 7,650 4,550 4,323จ.นราธิวาส - 6,100 2,000 - -จ.สุราษฎรธานี 10 - 400 - -รวม 308,001 386,334 288,406 206,349 317,877มูลคา (ลานบาท) 169.4 212.5 158.6 113.5 174.8การสงออกบังคลาเทศ - - - 20 -อินเดีย - - - 40 207อินโดนีเซีย 3,929 2,128 2,566 3,335 4,594ญ่ีปุน - - - - 60เกาหลีใต - - - 697 1,502มาเลเซีย 2,481 4,340 5,075 4,137 6,414ปากีสถาน 21 161 - 136 183ฟลิปปนส 5,142 5,620 6,160 5,000 8,120สิงคโปร 480 525 420 346 469ศรีลังกา - - - 5 2ไตหวัน - 40 - - -สหราชอาณาจักร - - - 10 -เวียดนาม - 80 600 1,581 1,180รวม 12,053 12,894 14,821 15,307 22,731มูลคา (ลานบาท) 31.1 33.7 47.5 61.2 83.4การใชภายใยประเทศรวม 320,426 314,016 266,577 165,403 205,953มูลคา (ลานบาท) 176.2 172.7 146.6 90.9 113.3การนํ าเขารวม 1,308 10,779 10,389 2,095 23,473มูลคา (ลานบาท) 27.9 19.7 24.9 17.1 70.3ที่มา : กองวิชาการและวางแผน กรมทรัพยากรธรณี

Page 9: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 211

3) หินฟนมา (Feldspar)

หินฟนมาเปนวัตถุดิบสํ าคัญอีกชนิดหนึ่ง โดยเปนสวนประกอบรอยละ 10–50 ในเนื้อดินปนและรอยละ 15–55 ในนํ้ าเคลือบ หินฟนมามีคุณสมบัติชวยลดจุดหลอมละลายในการเผา ทํ าใหสามารถเผาผลิตภัณฑเซรา-มิกไดที่อุณหภูมิต่ํ าลงนั่นเอง นอกจากนั้นยังชวยเพิ่มความโปรงแสงใหแกผลิตภัณฑอีกดวย จึงนิยมใชผสมในผลิต-ภัณฑพวกพอรซเลนซึ่งตองใชอุณหภูมิสูงในขั้นตอนการเผา นอกจากนี้ยังใชเปนสวนผสมในนํ้ าเคลือบอุณหภูมิสูงดวย หินฟนมาที่นิยมใชในอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยไดแก โซเดียมเฟลดสปารและโปแตสเซียมเฟลดสปาร ซึ่งเปนเฟลดสปารที่พบโดยทั่วไปโดยอยูในแหลงเดียวกับแหลงแกรนิต แพกมาไททและไนส ซึ่งเปนแหลงภูเขา แหลงเฟลดสปารที่สํ าคัญไดแก แหลงในเขตจังหวัดราชบุรี ตาก เพชรบุรี กาญจนบุรี อุทัยธานี และเชียงใหม

ตารางที่ 8.8 เปรียบเทียบผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของเฟลดสปารไทยและนอรเวย

โปแตสเซียมเฟลดสปาร โซเดียมเฟลดสปารผลวิเคราะหเคมี ต.ทองฟา

อ.บานตาก จ.ตากนอรเวย ต.ทองฟา

อ.บานตาก จ.ตากนอรเวย

ซิลิกา (SiO2) 65.0 65.4 70.2 69.2อะลูมินา (Al2O3) 18.6 18.7 17.8 18.7เหล็ก (Fe2O3) 0.31 0.06 0.06 0.11ไทเทเนียม (TiO2) 1.0 0.51 0.11 1.82แคลเซียม (CaO) 0.08 - 0.22 -แมกนีเซียม (MgO) 3.8 3.36 8.8 7.2โปแตสเซียม (K2O) 10.0 11.0 0.16 2.8โซเดียม (Na2O) - - 0.26 -นํ้ าหนักที่หายไปหลังการเผา (LOI)

0.19 0.29 1.33 0.19

ที่มา : ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน, เนื้อดินเซรามิก, ส ํานักพิมพโอเดียนสโตร กรุงเทพฯ, 2541 หนา 66

Page 10: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

212 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 8.9 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองเฟลดสปาร

จังหวัด จํ านวนประทานบัตร(แปลง)

เนื้อท่ี(ไร)

ปริมาณแรสํ ารอง (ตัน)

กาญจนบุรี 12 2,366 2,500,000เชียงใหม 5 670 800,000ตาก 41 4,075 4,800,000นครศรีธรรมราช 10 1,023 1,220,000ประจวบคีรีขันธ 1 22 23,000แมฮองสอน 2 279 320,000ราชบุรี 18 4,166 5,000,000รวม 89 12,601 14,663,000ที่มา : กองการเหมืองแร กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2536

ตารางที่ 8.10 ปริมาณการผลิตหินฟนมา (เฟลดสปาร) แยกตามรายจังหวัด การใชภายในประเทศ การนํ าเขา และสงออกในป พ.ศ. 2538 – 2542

ปริมาณการผลิต (ตัน)แหลงผลิต พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 25421. โปแตสเซียมเฟลดสปาร จ.เชียงใหม 155 531 765 128 -จ.แมฮองสอน 200 206 30 370 195จ.ตาก 27,193 110 280 84 60 8,398G - - - -จ.กาญจนบุรี 4,197 515 480 2,978 2,150จ.ประจวบคีรีขันธ 464 7,331 2,092 373 10,621จ.ราชบุรี 27,539 4,402 7,127 1,250 - 1,217G 2,773G 4,082G 3,859G 4,684G

รวม 59,748 13,095 10,774R 5,183 13,0269,615G 2,773G 4,082G 3,859G 4,684G

มูลคา (ลานบาท) 101.6 22.3 18.3 8.8 22.123.1G 6.7G 9.8G 9.3G 11.2G

2. โซเดียมเฟลดสปาร จ.ตาก 225,128 273,271 169,699 18,760 24,302 16,665G 61,060G 105,957G 169,440G

Page 11: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 213

ตารางที่ 8.10 ปริมาณการผลิตหินฟนมา (เฟลดสปาร) แยกตามรายจังหวัด การใชภายในประเทศ การนํ าเขา และสงออกในป พ.ศ. 2538 – 2542(ตอ)

ปริมาณการผลิต (ตัน)แหลงผลิต พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542จ.กาญจนบุรี 1,020 6,450 3,850 3,150 1,200จ.ราชบุรี 19,964 69,956 82,524 61,990 2,202 7,674G 3,345G - - 53,733G

จ.นครศรีธรรมราช 354,703 299,428 279,800 241,389 357,828รวม 600,815 649,105 535,873 325,289 385,532

7,674G 20,010G 61,060G 105,957G 223,173G

มูลคา (ลานบาท) 420.6 454.4 375.1 227.7 269.9 10.7G 28.0G 85.5G 148.3G 312.4G

การใชภายในประเทศรวม 239,375 316,903 279,156 187,340 245,046มูลคา (ลานบาท) 189.9 242.9 221.4 221.5 332.1การนํ าเขารวม 300,528 271,079 241,494 239,018 282,680มูลคา (ลานบาท) 186.6 173.3 181.2 166.5 185.7การสงออกรวม 15,979 23,062 10,306 11,111 13,590มูลคา (ลานบาท) 48.9 75.8 53.3 49.8 54.3ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี หมายเหตุ : G = grounded (แรบดแลว), R = revised (แรบดและแตงแลว)

หินฟนมาจากแหลงนครศรีธรรมราชนั้น สวนใหญสงออกไปจํ าหนายยังประเทศใกลเคียง เนื่องจากระยะทางในการขนสงสูประเทศใกลเคียงใกลกวาการสงขึ้นไปจํ าหนายยังจังหวัดในเขตภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แตที่สงไปจํ าหนายยังตางประเทศสวนใหญเปนโซเดียมเฟลดสปารกอนซึ่งมีราคาตํ่ า สํ าหรับราคาเฟลดสปารภายในประเทศนั้น กรมทรัพยากรธรณีไดประกาศเพื่อเปนเก็บคาภาคหลวงในป พ.ศ. 2543 ดังนี้

โซเดียมเฟลดสปาร (กอน) 700 บาทตอตันโซเดียมเฟลดสปาร (บด) 1,400 บาทตอตันโพแทสเซียมเฟลดสปาร (กอน) 1,700 บาทตอตันโพแทสเซียมเฟลดสปาร (บด) 2,400 บาทตอตัน

Page 12: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

214 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

4) ทรายแกว (Silica Sand)

โดยปรกติ ซิลิกาจะเปนองคประกอบในดินและเฟลดสปารอยูแลว แตในการผลิตเครื่องปนดินเผาบางครั้งจะมีการเติมซิลิกาเพิ่มเขาไปดวยเพื่อทํ าใหเนื้อดินปนขยายตัวมากขึ้นกวาเดิมและมีสวนทํ าใหเคลือบไมรานตัว นอกจากจะใชซิลิกาผสมในเนื้อดินปนแลว ยังสามารถใชเปนสวนผสมของนํ้ าเคลือบอีกดวย แหลงทรายแกวที่พบในประเทศไดมีหลายแหงดวยกัน ไดแก อ.บานตาก จ.ตาก และ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก, ต.ซากพง อ.แกลง จ.ระยอง, บานหนองไทร ต.ชางขาม อ.ทาใหม และ บานบอ อ.ขลุง จ.จันทบุรี, บานแหลมกลัด เขาลาน อ.เมือง และ บานไมรูด อ.คลองใหญ จ.ตราด, บานดอนตะเคียน อ.ปะทิว จ.ชุมพร, อ.ถลาง จ.ภูเก็ต, อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช, อ.เมือง และ อ.จะนะ จ.สงขลา ราคาซื้อขายเฉลี่ยของทรายแกวในป พ.ศ. 2539–2542 เทากับ 350 บาทตอตันซึ่งเปนราคาเดียวกันราคาที่กรมทรัพยากรธรณีประกาศเพื่อใชเก็บคาภาคหลวงแร

ตารางที่ 8.11 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองทรายแกว

จังหวัด จํ านวนประทานบัตร(แปลง)

เนื้อท่ี(ไร)

ปริมาณแรสํ ารอง(ตัน)

จันทบุรี 5 75 300,000ระยอง 16 945 3,600,000รวม 21 1,020 3,900,000ที่มา : กองการเหมืองแร กรมทรัพยากรธรณี

ตารางที่ 8.12 ปริมาณการผลิตและใชทรายแกวภายในประเทศ ในป พ.ศ. 2538 – 2542

ปริมาณการผลิต (ตัน)แหลงผลิต พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542การผลิตจ.จันทบุรี 112,563 95,029 155,860 104,320 220,500จ.ระยอง 211,138 336,501 348,899 219,617 311,088จ.ตราด 1,791 9,720 9,900 - -จ.ชุมพร - 5,800 1,200 - -รวม 325,492 447,050 515,859 323,937 531,588มูลคา (ลานบาท) 113.9 156.5 180.6 113.4 186.1การใชภายในประเทศรวม 323,824 298,302 373,587 251,759 520,838มูลคา (ลานบาท) 113.3 104.4 130.8 88.1 182.3ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

Page 13: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 215

ดังที่ไดกลาวไปแลววาประเทศไทยมีแหลงวัตถุดิบที่มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑเซรามิกในระดับสูง โดยสามารถพิจารณาจากปริมาณสํ ารองวัตถุดิบไดดังนี้

ตารางที่ 8.13 ปริมาณสํ ารองวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย ป พ.ศ. 2541

วัตถุดิบ ปริมาณสํ ารองทั้งหมด (ตัน)ดินขาว (Kaolin) 136,000,000ดินดํ า (Ball Clay) 17,000,000หินฟนมา (Feldspar)- 7.00 – 10.72% โซดาเฟลดสปาร- โซดา-โปแตสเซียมเฟลดสปาร

50,000,00050,000,000

ทรายแกว (Silica Sand) 100,000,000ที่มา: กองเศรษฐธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

หากพิจารณาเฉพาะวัตถุดิบ 3 ชนิดคือ ดินขาว ดินดํ าและเฟลดสปาร จะพบวามีการใชวัตถุดิบที่ผลิตภายในประเทศโดยอาศัยการนํ าเขานอยมาก ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 8.14 และเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการใชวัตถุดิบกับปริมาณสํ ารองแร พบวายังอยูในอัตราคอนขางตํ่ า ในป พ.ศ.2540 กรมทรัพยากรธรณีกํ าหนดให วัตถุดิบประเภทแรดิน ทรายแกว และแรยิปซั่มเปนแรสงวนไมอนุญาตใหสงออก ทั้งนี้เพื่อจะสงวนไวเปนทรัพยากรในการผลิตเซรามิกและแกวภายในประเทศและเพื่อปองกันการแขงขันจากตางประเทศที่ใชวัตถุดิบราคาถูกของไทย ดังจะเห็นรายละเอียดการผลิต นํ าเขาและสงออกในป พ.ศ. 2541 ดังรายละเอียดที่แสดงในตารางที่ 8.15

ตารางที่ 8.14 ปริมาณรวมและมูลคารวมของการผลิต การใช การนํ าเขา และสงออก ดินขาว ดินดํ า และเฟลดสปาร ในป พ.ศ. 2538 – 2542

การผลิต การใชในประเทศ การสงออก การนํ าเขาป ปริมาณ

(พันตัน)มูลคา

(ลานบาท)ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

2538 1,595.9 1,211.3 1,065.0 741.3 338.5 233.0 34.6 152.02439 1,782.6 1,338.5 1,155.0 859.1 301.7 217.8 58.5 198.02540 1,420.9 1,046.3 944.5 694.7 267.8 242.3 44.7 189.02541 1,064.0 833.0 616.2 528.4 263.2 260.9 26.7 188.92542 1,315.3 1,020.6 782.9 659.0 316.5 295.6 54.8 257.7

ที่มา : กองวิชาการและวางแผน กรมทรัพยากรธรณี

Page 14: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

216 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 8.15 ปริมาณการผลิต การนํ าเขา และการสงออกวัตถุดิบเซรามิก พ.ศ. 2541

วัตถุดิบ ปริมาณการผลิต (ตัน) ปริมาณการนํ าเขา (ตัน) ปริมาณการสงออก (ตัน)ดินขาว (Kaolin) 405,532 15,430 8,813ดินดํ า (Ball Clay) 206,172 2,095 15,322หินฟนมา (Feldspar)- โซเดียมเฟลดสปาร- โปแตสเซียมเฟลดสปาร- เฟลดสปารอื่นๆ

421,7077,986

-

223,1295,960

239,01864-

ทรายแกว (Silica Sand) 323,937 - -ที่มา : กองเศรษฐธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี

ตารางที่ 8.16 ปริมาณและมูลคา การผลิต การสงออก และการใช วัตถุดิบเซรามิก ป พ.ศ. 2543 – 2544พ.ศ. 2543 (ม.ค. – มิ.ย.) พ.ศ. 2544 (ม.ค. – มิ.ย.)วัตถุดิบ ผลิต สงออก ใช ผลิต สงออก ใช

ดินขาว (Kaolin)(ตัน) 122,031 - 65,896 98,062 - 75,788 - ลางแลว(ลานบาท) 117.2 - 63.3 94.1 - 72.8(ตัน) 131,779 - 88,346 73,029 - 47,351 - ยังไมลาง(ลานบาท) 50.7 - 34.0 28.1 - 18.2(ตัน) 9,219 - 9,051 7,739 - 8,742 - ฟลเลอรเกรด(ลานบาท) 17.5 - 17.2 14.7 - 16.6(ตัน) 183,255 13,835 111,768 175,403 17,225 145,061ดินดํ า (Ball Clay)(ลานบาท) 100.8 49.7 61.5 96.5 57.2 79.8

เฟลดสปาร(ตัน) 141,554 166,780 15,746 246,183 134,920 9,608 - โซเดียม (กอน)(ลานบาท) 99.1 99.4 11.0 172.3 97.3 6.7(ตัน) 177,907 2,036 95,972 3,767 2,104 98,048 - โซเดียม (บด)(ลานบาท) 249.1 6.4 134.4 5.3 7.6 137.3(ตัน) 6,286 - 4,395 15,424 - 2,015 - โปแตสเซียม (กอน)(ลานบาท) 10.7 - 7.5 26.2 - 3.4(ตัน) 2,148 - 2,208 1,863 - 2,113 - โปแตสเซียม (บด)(ลานบาท) 5.2 - 5.3 4.5 - 5.1(ตัน) 262,821 - 255,709 245,142 - 237,235ทรายแกว (Silica Sand)(ลานบาท) 92.0 - 89.5 85.8 - 83.0

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

Page 15: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 217

หากพิจารณาอัตราการเพิ่มขึ้นของการใชวัตถุดิบ จากป พ.ศ. 2533–2541 ซึ่งอยูในชวงรอยละ 25–35 ตอป1 ทั้งนี้ อัตราการขึ้นลงของปริมาณการใชวัตถุดิบเซรามิกมีความสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศและธุรกิจอสังหาริมทรัพย แตขอมูลนี้ยังไมนับรวมการผลิตที่ไมสามารถเก็บขอมูลไดเนื่องจากเปนการทํ าเหมืองในที่ดินกรรมสิทธิ์เนื้อที่ไมก่ีไรที่ไมมีกฏหมายควบคุมใหตองขอประทานบัตรแลว จะเห็นไดวาแหลงวัตถุดิบเซรามิกสํ ารองที่มีอยูในประเทศ สามารถใชในอุตสาหกรรมเซรามิกไดอีกอยางนอยประมาณ 80 ป

ยิ่งไปกวานี้ กรมทรัพยากรธรณียังมีนโยบายในการพัฒนาทรัพยากรแรดินอยางตอเนื่องสมํ่ าเสมอ โดยมีทิศทางในการวางนโยบายเพื่อสนองความตองการของภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศ สํ าหรับในแผนปฏิบัติการป พ.ศ. 2544–2548 มีนโยบายการพัฒนาทรัพยากรแรเพื่ออุตสาหกรรมเซรามิก ดังตอไปนี้

(1) งานสํ ารวจ แสวงหา และประเมินศักยภาพทรัพยากรแร- โครงการสํ ารวจแหลงดินสํ าหรับอุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผาในภาคพื้นแนวเขตจังหวัด

มหาสารคาม – กาฬสินธุ – ขอนแกน – สกลนคร – อุดรธานี- โครงการสํ ารวจแหลงเฟลดสปาร ดินขาว และแรอื่นๆ ในภาคพื้นแนวเขต จ.ตาก

(2) งานสงเสริม พัฒนาทรัพยากรแรและเพิ่มขีดความสามารถดานเทคโนโลยี- งานสํ ารวจ ตรวจสอบ และรวบรวมขอมูลแหลงวัตถุดิบ อาทิเชน โครงการสํ ารวจดินดํ าใน

เขตภาคกลาง- งานสํ ารวจ ประเมิน ปริมาณสํ ารองและวิเคราะหคุณภาพ อาทิเชน การทํ าบัญชีรายการแหลง

วัตถุดิบอุตสาหกรรมเซรามิก 200 แหลงทั่วประเทศ ซึ่งใกลจะดํ าเนินการจัดบัญชีสิ้นสุดแลว ขั้นตอไปจะทํ าการจัดเตรียมเผยแพร

- งานปรับปรุงคุณภาพแหลงวัตถุดิบใหมีความสมํ่ าเสมอ อาทิเชน การสํ ารวจวิเคราะหรายละเอียดดินลํ าปางเพื่อเปนตัวอยางสาธิตวิธีการทํ าเหมืองดินที่มีคุณภาพ

โครงการที่สํ าคัญของกรมทรัพยากรธรณีที่จะมีสวนชวยในการผลักดันการพัฒนาของภาคอุตสาหกรรมการผลิตโดยตรงไดแก โครงการเรงรัดสํ ารวจและประเมินศักยภาพแรปงบประมาณ 2543–2549 ดังรายละเอียดในกรอบตอไปนี้

1 กรมเศรษฐธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2543

Page 16: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

218 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

นอกจากนี้ยังมีโครงการภายใตแผนปรับโครงสรางอุตสาหกรรม ระยะที่ 2 อีก 2 โครงการ ไดแก1. โครงการสํ ารวจ จัดหา และพัฒนาแหลงวัตถุดิบสํ ารองสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิก2. โครงการยกระดับคุณภาพวัตถุดิบและผลิตภัณฑสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดยอมในภูมิภาค

จึงอาจกลาวไดวาอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยมีขอไดเปรียบหลายๆ ประเทศในดานทรัพยากรวัตถุดิบภายในประเทศ แตกระนั้น การสํ ารวจหาแหลงวัตถุดิบอยางตอเนื่องพรอมทั้งการจัดการใชที่ดินรวมกับการพัฒนาที่ดินในสาขาอื่นๆ เชน การทองเที่ยว การเกษตร และ การปาไม ยังมีความจํ าเปนอยางยิ่ง

โครงการเรงรัดสํ ารวจและประเมินศักยภาพแรปงบประมาณ 2543 – 2549 กรมทรัพยากรธรณี

มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2542 เห็นชอบตามขอเสนอของกระทรวงอุตสาหกรรม ใหกรมทรัพยากรธรณี ดํ าเนินการเรงรัดสํ ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร ดวยการจางเอกชนสํ ารวจและประเมินศักยภาพแรในพื้นที่ 60 บริเวณ เนื้อที่รวม 36,400 ตารางกิโลเมตร เพื่อใชประโยชนในการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติและแสวงหาแหลงแรสํ ารองของประเทศเพื่อใหทันกับความตองการใชแรของอุตสาหกรรมภายในประเทศ

วัตถุประสงคและเปาหมายของโครงการโครงการนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเรงรัดศึกษาขอมูลสํ าหรับใชในการวางแผนจัดการทรัพยากรแรใหสอดคลองกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่นและสอดคลองกับแผนพัฒนาประเทศ โดยวางเปาหมายไววาจะมีระบบขอมูลสํ าหรับใชในการวางแผนจัดการทรัพยากรแรจนสามารถคนพบแหลงศักยภาพแรสูงที่นาสนใจ เพื่อเปดใหเอกชนขอสิทธิในการลงทุนสํ ารวจขั้นรายละเอียดเพิ่มเติม และพัฒนาเปนเหมืองแรเพื่อประโยชนในการพัฒนาประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุด

ระยะเวลาและงบประมาณของโครงการโครงการมีระยะเวลา 7 ปงบประมาณ เริ่มตั้งแตปงบประมาณ 2543 -2549 ทั้งนี้ ไดรับอนุมัติงบประมาณเปนรายปโดยมีวงเงินงบประมาณรวม 1,512 ลานบาท

แนวทางการดํ าเนินโครงการกรมทรัพยากรธรณี ไดเปดประมูลวาจางบริษัทเอกชนเขาสํ ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแรในพื้นที่ที่มีศักย-ภาพทางแรที่ไดรับการคัดเลือกจากการประมวลผลขอมูลทางธรณีวิทยาทั้งหมดที่กรมทรัพยากรธรณีมีอยูโดยจะสํ ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแรทุกชนิดและพัฒนาระบบสารสนเทศทรัพยากรแรของประเทศไปพรอมกับการจํ าแนกพื้นที่ศักยภาพทรัพยากรแรและจัดลํ าดับความสํ าคัญในการพัฒนาแร

Page 17: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 219

อยางไรก็ดี ขั้นตอนการขอประทานบัตรซึ่งมีความยุงยากซับซอนอยางหลีกเลี่ยงไดยาก ทํ าใหระยะเวลาตั้งแตยื่นเรื่องจนกระทั่งไดรับการพิจารณาอนุญาตนั้นมีความยาวนานถึงอยางนอย 1–3 ป หรือกวานั้น แมปริมาณสํ ารองแรจะมีอยูอยางพอเพียง แตการใชระยะเวลาพิจารณาอนุมัติประทานบัตรนานนั้น อาจสรางความขาดแคลนวัตถุดิบเปนชวงๆ และอาจสงผลใหผูถือประทานบัตรที่ยังมีสิทธิในการทํ าเหมืองเหลืออยูเพียงไมก่ีราย กอใหตลาดวัตถุดิบถูกควบคุมโดยบริษัททํ าเหมืองเหลานั้นก็เปนได ขั้นตอนการขอประทานบัตรในปจจุบันมีดังนี้

รูปที่ 8.1 ขั้นตอนการขอประทานบัตรเหมืองแรดินในอุตสาหกรรมเซรามิก

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

แมปริมาณสํ ารองวัตถุดิบเซรามิกจะมีอยูอยางอุดมสมบูรณ แตแหลงวัตถุดิบหลายแหลงอยูในเขตชุมชน แหลงทองเที่ยว เขตปาสงวน จึงจํ าเปนจะตองมีการวางแผนในการใชประโยชนจากที่ดินรวมกันระหวางหนวยราชการที่เกี่ยวของและผูประกอบการเหมืองแร นอกจากนั้น ปญหาหลักที่พบในการผลิตวัตถุดิบจากเหมืองแรไดแก วัตถดุบิยงัมคีณุภาพไมสงูพอ คณุภาพวตัถดุบิไมสมํ ่าเสมอ และวตัถดุบิยงัไมไดรบัการพฒันาคณุภาพอยางพอเพยีงสงผลใหตนทุนในการปรับปรุงคุณภาพของผูใชวัตถุดิบเหลานั้นเพิ่มขึ้นสูง และวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงบางชนิดจํ าตองนํ าเขาจากตางประเทศ (ซึ่งปจจุบันถูกเก็บภาษีนํ าเขาเพียงรอยละ 1 เทานั้น) เชน ดินขาวคุณภาพสูงจากประเทศจีนซึ่งไมสามารถผลิตไดในประเทศไทย

ดังนั้น เพื่อลดการนํ าเขาและลดการสูญเสียระหวางกระบวนการผลิต อันจะชวยยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑใหมีคุณภาพสามารถแขงขันในตลาดโลกได จึงจะตองมีการปรับปรุงแกไขกระบวนการผลิตวัตถุดิบโดยเรงดวน โดยเริ่มตั้งแตขั้นตอนการทํ าเหมือง การพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ ตลอดจนการใหทักษะความรูดานเทคนิคแกผูประกอบการ รวมทั้งการประสานงานระหวางผูที่เกี่ยวของ ในขั้นแรกสุดจึงจํ าเปนตองเขาใจวงจรการผลิต

ผูมีความประสงคทํ าเหมืองแรยื่นคํ าขอ ที่ทํ าการทรัพยากรธรณีประจํ าทองที่ประจํ าจังหวัด ตรวจสอบขั้นตน

กรมทรัพยากรธรณีตรวจสอบเอกสารและแผนการทํ าเหมือง

รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมพิจารณาอนุญาต

คณะกรรมการตามพระราชบัญญัติแร พิจารณากลั่นกรอง

หนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน อบต.กรมปาไม สปก. สิ่งแวดลอม ศิลปากร

Page 18: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

220 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

วัตถุดิบในอุตสาหกรรมเซรามิกกอน กลุมผูประกอบการที่เกี่ยวของกับวัตถุดิบเซรามิกโดยไมนับรวมกลุมที่เปนผูผลิตเซรามิกแตเพียงอยางเดียวนั้นสามารถแยกไดเปน 3 กลุมดวยกันไดแก

กลุมท่ี 1 กลุมผูทํ าเหมืองแร ซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของโดยตรงกับการขุดเหมืองเพื่อผลิตแรดิบ

กลุมท่ี 2 กลุมผูปรับปรุงคุณภาพแรดิบหรือแตงแรเพื่อใหไดเปนวัตถุดิบ

กลุมท่ี 3 กลุมผูรับชวงวัตถุดิบไปผสมเปนดินสํ าเร็จรูป

ถัดไปเปนกลุมผูผลิตเซรามิกซึ่งเปนกลุมสุดทายของการรับชวงวัตถุดิบ โดยสามารถแสดงเปนแผนภาพไดดังนี้

รูปท่ี 8.2 วงจรการผลิตดินแบบเต็มกระบวนในอุตสาหกรรมเซรามิก

กลุมผูทํ าเหมืองแร

กลุมผูปรับปรุงคุณภาพแรดิบ (แตงแร)

กลุมผูผลิตดินผสมพรอมใชสํ าหรับผลิตเซรามิก

กลุมผูผลิตเซรามิก

แรดิบ อาทิเชน แรดินขาวดิบ

วัตถุดิบพรอมใช อาทิเชน ดินขาวลาง

ดินสํ าเร็จรูป อาทิเชน ดิน NewBone

Page 19: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 221

เสนหัวลูกศรคูแสดงถึงการประกอบกิจกรรมมากกวาหนึ่งกลุม หมายถึงกลุมผูประกอบการที่มี บทบาทมากกวาหนึง่ประเภท ซึง่หากผนวกกลุมพืน้ฐานทัง้ 3 กลุมในแบบตางๆ ในกจิการทีเ่กีย่วของกบัวัตถดุบิเซรามกิจะพบผูประกอบการอีก 6 กลุมดวยกันไดแก

กลุมท่ี 4 กลุมผูผลิตวัตถุดิบที่มีเหมืองแรดวย

กลุมท่ี 5 กลุมผูผลิตดินผสมที่มีเหมืองแรและแตงแรเอง

กลุมท่ี 6 กลุมผูผลิตดินผสมที่รับซื้อแรดิบแตงกอนจะใชผลิตดินผสม

กลุมท่ี 7 กลุมผูผลิตเซรามิกที่ทํ าครบทุกกระบวนการตั้งแตทํ าเหมือง แตงแร ผลิตดินผสม และ ผลิตเซรามิกเอง

กลุมท่ี 8 กลุมผูผลิตเซรามิกที่เริ่มตั้งแตนํ าแรดิบมาแตงแลวผสมดินเอง

กลุมท่ี 9 กลุมผูผลิตเซรามิกที่รับซื้อวัตถุดิบมาผสมดินเอง

ทั้งนี้ ผูประกอบการแตละรายอาจจะมีบทบาทมากกวาหนึ่งกลุมที่กลาวมาโดยอาจจะจํ าหนายทั้งแรดิบ วัตถุดิบ และดินสํ าเร็จรูป ตลอดจนอาจจะเปนผูผลิตเซรามิกเองดวย ตัวอยางเชนบริษัทในเครือซีเมนตไทยจัดอยูในกลุมที่ 1 (ทํ าเหมือง), กลุมที่ 4 (ผลิตวัตถุดิบจากเหมืองของตน), และกลุมที่ 7 (ผลิตเซรามิกจากแรดินในเหมืองของตน) เปนตน อยางไรก็ดี กลุมที่นับไดวาเปนผูผลิตวัตถุดิบปอนสูอุตสาหกรรมเซรามิกนั้นมีเพียง 6 กลุมไดแก กลุมที่ 1, 2, 3, 4, 5, และ 6 สวนกลุมที่ 7, 8, และ 9 นั่นถือวาเปนกลุมผูผลิตเซรามิก

ในสภาพปจจุบัน กลุมที่มีนัยสํ าคัญในการปอนวัตถุดิบสูอุตสาหกรรมเซรามิกอยางแทจริงนั้นไดแก กลุมที่ 4 คือกลุมผูทํ าเหมืองและแตงแร โดยกลุมนี้ปอนวัตถุดิบทั้งแกผูผลิตเซรามิกและแกกลุมผูผลิตดินสํ าเร็จรูป และกลุมที่ 3 คือกลุมผูผลิตดินสํ าเร็จรูป ดังสรุปเปนแผนภาพไดดังนี้

รูปท่ี 8.3 วงจรการผลิตดินสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิกในปจจุบัน

กลุมทํ าเหมืองและแตงแร

กลุมผูผลิตดินสํ าเร็จรูป

กลุมผูผลิตเซรามิก

วัตถุดิบ (แรที่ลางและแตงแลว)

ดินสํ าเร็จรูป~ 600,000 ตันตอป

~ 80,000 ตันตอป

Page 20: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

222 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

กลุมท ําเหมอืงและแตงแรดนิขาวนัน้มหีลายรายแตมบีรษิทัใหญๆ ประมาณ 5 ราย สวนแรอืน่ๆ นัน้มีการกระจายตัวคอนขางสูง โดยมีจํ านวนเหมือง จํ านวนผูถือประทานบัตร ผูประกอบการ และเนื้อที่ทํ าเหมืองดังนี้

ตารางที่ 8.17 จํ านวนเหมือง เนื้อท่ี จํ านวนผูถือประทานบัตร มกราคม พ.ศ. 2543เปดทํ าการ หยุดทํ าการ รวม

วัตถุดิบ จํ านวนเหมือง

ผูถือประทานบัตร(ราย)

ผูประกอบการ(ราย) แปลง เนื้อท่ี(ไร) แปลง เนื้อท่ี (ไร) แปลง เนื้อท่ี(ไร)

ดินขาว 77 83 64 83 7,660 15 1,451 98 9,111ดินดํ า 18 18 16 18 1,247 6 680 24 1,927หินฟนมา 40 47 28 47 6,517 11 1,036 58 753ทรายแกว 11 11 10 11 593 1 71 12 664ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

แมวาจะมีผูประกอบการเหมืองรายใหญๆ เพียงไมก่ีราย การผูกขาดตลาดไมไดขึ้นอยูกับปริมาณการผลิตแตเพียงอยางเดียว แตขึ้นอยูกับคุณภาพวัตถุดิบเปนสํ าคัญ คุณภาพวัตถุดิบมีสองลักษณะไดแก คุณภาพ “ดี” และ คุณภาพ “สมํ่ าเสมอ” วัตถุดิบที่มีคุณภาพดี ไดแก วัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการผลิตสินคาใหไดตามมาตรฐาน สวนวัตถุดิบที่มีคุณภาพสมํ่ าเสมอ ไดแก วัตถุดิบที่หลังจากผานกระบวนการผลิตแบบเดียวกันแลวไดผลจากการผลิตออกมาแบบเดียวกัน ในปจจุบันผู ประกอบการเหมืองแรที่ครองตลาดอุตสาหกรรมเซรามิกไดแก ผู ที่สามารถผลิตแรดิบและแรแตงที่มีคุณภาพดีและสมํ่ าเสมอในปริมาณสํ ารองที่เพียงพอตอความตองการของ อุตสาหกรรมไดในแตละชวงเวลา โดยปจจัยสํ าคัญที่สุดคือ ความสมํ่ าเสมอ หรือ “ความนิ่ง” ซึ่งไดแกคุณสมบัติที่คงที่ของวตัถดุบิอยางนอย 3 ขอตอไปนี ้1) อตัราการการดดูซมึนํ ้า, 2) ความแขง็แกรง, และ 3) ขนาดของเมด็แร สวนการผลติวัตถุดิบใหมีคุณภาพดีนั้นกลับมีความสํ าคัญรองลงมามาก

วัตถุดิบที่มีคุณภาพสมํ่ าเสมอในปริมาณสํ ารองพอเพียงมีความสํ าคัญตอผู ประกอบการใน อตุสาหกรรมเซรามกิมากกวาการมวัีตถดุบิคณุภาพดแีตไมสมํ ่าเสมอ ทัง้นีเ้นือ่งมาจาก การผลติสนิคาในเชงิอตุสาหกรรมเปนการผลิตสินคาปริมาณมาก หากเกิดความผิดพลาดใดๆ ในการผลิตแลวจะทํ าใหเกิดการสูญเสียที่มีมูลคาสูง การใชวัตถุดิบผิดวิธีเนื่องจากใชกระบวนการที่เหมาะกับวัตถุดิบคุณภาพแบบหนึ่งกับวัตถุดิบที่มีคุณภาพอีกแบบหนึ่งเปนการสรางความสูญเสียในขั้นตอนการผลิตที่รายแรงประการหนึ่ง ดังนั้นการวิจัยทดลองหาเงื่อนไขในการผลิตที่ เหมาะสมกับวัตถุดิบที่มีคุณภาพตางๆ กันจึงเปนเรื่องสํ าคัญยิ่ง แตการวิจัยทดลองดังกลาวยอมอาศัยระยะเวลาและ งบประมาณ ซึ่งเมื่อผนวกเขากับเงื่อนไขดานมูลคาเพิ่มของสินคาที่จะผลิต โดยเฉพาะอยางยิ่งผูประกอบการเซรามิกขนาดกลางและขนาดเล็กสวนใหญที่ผลิตสินคาที่มีมูลคาเพิ่มตํ่ ายอมไมสามารถแบกรับภาระตนทุนที่จะเกิดจากความสูญเสียจากการใชวัตถุดิบที่คุณภาพไมสมํ่ าเสมอตลอดจนงบประมาณและระยะเวลาในการวิจัยทดลองหาเงื่อนไข การผลิตที่เหมาะสมกับวัตถุดิบที่มีคุณภาพเปลี่ยนแปรไปเรื่อยๆ ได สภาพการณดังกลาวจึงทํ าใหวัตถุดิบคุณภาพสมํ่ าเสมอและปริมาณสํ ารองพอเพียงเปนที่ตองการของอุตสาหกรรมการผลิตเซรามิกของไทยยิ่งกวาวัตถุดิบคุณภาพดีเพียงอยางเดียว

Page 21: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 223

การแตงแรใหตรงกับความตองการของอุตสาหกรรมจึงแบงไดเปน 2 ลักษณะใหญๆ ไดแก การแตงแรใหมคีณุภาพด ีและ การแตงแรใหมคีณุภาพสมํ ่าเสมอ ส ําหรบัการแตงแรใหมคีณุภาพ “ด”ี นัน้ แมวาคณุภาพของแรดินจะขึ้นอยูกับกระบวนการเกิดและชนิดของแหลงกํ าเนิด กรรมวิธีขั้นตอนในการแตงแรไมวาจะเปนการแตงแบบเปยกหรือแบบแหงก็สามารถทํ าใหแรดินมีคุณภาพดีได การเลือกกรรมวิธีแตงแรจะขึ้นกับชนิดของแหลงแร สํ าหรับแรดินขาว มีการแตงแรทั้งแบบแหงและแบบเปยก ตัวอยางการแตงแรดินขาวจากแหลงตางๆ เชนแรดินขาว ที่ไดจากหินแกรนิตผุ เนื้อดินมีขนาดเม็ดแรหลายขนาด หลายชนิด การแตงแรโดยใชนํ้ าจะทํ าใหประหยัดตนทุนและแยกแรไดดีโดยเริ่มจากทํ าการบดเพื่อลดขนาดเม็ดแร จากนั้นหากตองการขจัดมลทินของแร ก็ใชกระบวนการขจัดมลทินตางๆ อาทิเชน เครื่องแยกแบบแมเหล็ก ตอไปจึงเปนการคัดขนาด อีกตัวอยางหนึ่งไดแกการแตงแรดินขาว ที่ผุจากหินเขาไฟหรือเปนแบบสะสม (Sediment Origin) สามารถใชกระบวนการแตงแบบแหงหรือเปยกก็ได สวนแรดินชนิดอื่นๆ เชน ดินบอลเคลยและดินเหนียว จะทํ าการขุดตักจากแหลงแรโดยตรงโดยไมมีการแตง ดินที่ไดจะน ํามาทดสอบโดยการปนเปนช้ินงานแลวเผา หากคณุภาพใชไดก็จะท ําการขดุขึน้มาใชงานทนัท ี ปจจยัทีเ่ปนตวักํ าหนดวิธีการแตงแรนั้น นอกจากชนิดและแหลงกํ าเนิดแรแลว ยังขึ้นอยูกับคาใชจาย ราคาแร และความตองการของตลาด

การแตงแรใหมคีณุภาพสมํ ่าเสมอ นอกจากจะมปีจจยัดานชนดิและแหลงก ําเนดิแร คาใชจาย ราคาแรและความตองการของตลาดแลวนัน้ ยงัมปีจจยัส ําคญัยิง่อกีประการหนึง่ ไดแก ปรมิาณแรส ํารองทัง้หมด ณ คณุภาพหนึง่ๆ ที่สามารถจะผลิตได การจะแตงแรที่มีคุณภาพตางๆ กันใหมีคุณภาพเสมอกันนั้น หลักการที่ใชอยูในวงการแตงแร ในปจจุบัน ไดแก การผสมคลุกเคลาแรชนิดเดียวกันที่มีคุณสมบัติตางๆ กันเขาดวยกันเพื่อปรับใหแรขั้นสุดทายมี คุณภาพเทาเทียมกันหมด และเนื่องจากดวยเงื่อนไขและขอจํ ากัดดาน Know-how ในการผลิต ราคาแร และ ความตองการของตลาดแลวนั้น ปริมาณสํ ารองที่จะผลิตไดจะตองมีมาก ปริมาณแรที่จะนํ ามาผสมคลุกเคลาดวยกัน จงึจ ําจะตองมากพอในแตละระดบัคณุภาพของแร ซึง่ยอมเกีย่วของเชือ่มโยงไปกบัพืน้ทีแ่ละแหลงทีผู่ประกอบการเหมอืงไดรับประทานบัตรตลอดจนทุนประกอบการและขนาดของกิจการเหมืองแร ผูประกอบการเหมืองแรขนาดใหญจึงมีความไดเปรยีบในการควบคมุการแตงแรใหมคีณุภาพสมํ ่าเสมอกวาผูประกอบการขนาดเลก็อยูคอนขางมาก ซึง่ในปจจบุนัผูประกอบการเหมืองรายเล็กหลายรายผลิตแรดินไดคุณภาพตํ่ ากวาผูประกอบการรายใหญและไมสามารถจํ าหนาย แรดินเหลานั้นได เมื่อสถานการณบีบรัดจึงจํ าตองขายแรดินที่คางคลังแกผูประกอบการรายใหญในราคาตํ่ ากวาที่ต้ังไว หลายรายหยุดและปดกิจการเหมืองไปในที่สุด และในขณะนี้ผูประกอบการเหมืองรายใหญที่สุดมีสวนแบงตลาดถึงรอยละ 60 - 80 สถานการณเชนนี้อาจนํ าไปสูสภาพผูกขาดตลาด แตอยางไรก็ตามจากการสัมภาษณผูประกอบการ เซรามกิพบวา ผูประกอบการเซรามกิยงัมคีวามพงึพอใจในคณุภาพและราคาแรดนิจากผูประกอบการเหมอืงแรรายใหญอยู

นอกจากนี้ ในปจจุบันไดมีบริษัทที่ทํ าการผสมดินจากแหลงตางๆ ผลิตเปนดินสํ าเร็จรูปใหตรงกับความตองการของผูใช แตยังมีเพียงไมก่ีบริษัทเทานั้นที่ผลิตดินสํ าเร็จรูปจํ าหนาย โดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 22: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

224 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 8.18 ปริมาณการผลิตดินสํ าเร็จรูปของบริษัทผูผลิตตางๆ

บริษัทผูผลิต ปริมาณการผลิต(ตันตอป)

สัดสวนการผลิต(รอยละ) CR HSI component

( = สัดสวนการผลิต2)บริษัท คอมพาวดเคลย จํ ากัด 48,000 60.00 0.6000 0.3600บริษัท ซินฟาอินดัสเตรียล(ประเทศไทย) จํ ากัด

12,000 15.00 0.1500 0.0225

บริษัท เคลย แอนด มินเนอรัล(ประเทศไทย) จํ ากัด

8,000 10.00 0.1000 0.0100

บริษัทโยรินเทรดดิ้ง จํ ากัด 5,000 6.25 0.0625 0.0039บริษัท เซอรเคิ้ล จํ ากัด 3,000 3.75 0.0375 0.0014อื่นๆ 4,000 5.00 0.0500 0.0025

รวม 80,000 100.00 1.0000 HSI = 0.4003ที่มา : การสัมภาษณผูประกอบการ

ดังจะเห็นไดวาการกระจุกตัวของผูผลิตดินสํ าเร็จรูปมีอัตราสูง โดยบริษัทผูผลิตรายแรกมี สัดสวนในการผลิตสูงถึงรอยละ 60.00 และเมื่อรวมกับผูผลิตอีก 3 รายถัดมา มีคาสูงถึงรอยละ 91.25 และเมื่อวัดคาการกระจุกตัวดวยดัชนีเฮอฟนไดฮ ไดคา 0.4003 ซึ่งแสดงถึงการกระจุกตัวสูง อยางไรก็ตาม แมวาการกระจุกตัวในปริมาณการผลิตดินสํ าเร็จรูปจะมีคาสูง แตบริษัทผูผลิตรายใหญที่สุดไดผลิตดินสํ าเร็จรูปใหแกบริษัทในเครือเปนหลัก ดินสํ าเร็จรูปที่จํ าหนายแกผูประกอบการเซรามิกอื่นๆมีเพียงประมาณ 18,000 ตันโดยสงใหแกผูประกอบการผลิตเครื่องเบญ-จรงคในเขตออมนอยประมาณ 8,000 ตัน และผูประกอบการในเขตลํ าปางอีกประมาณ 10,000 ตัน นอกเหนือจากบริษัทผลิตดินสํ าเร็จรูปดังในตารางที่ 7.18 แลว ผูประกอบการเซรามิกยังนิยมซื้อดินจากผูผลิตเคลือบอีกดวย

เนื่องจากดินสํ าเร็จรูปเปนดินสํ าหรับผลิตเซรามิกประเภทเครื่องใชบนโตะอาหารและของชํ ารวยเครื่องประดับเปนหลัก ลูกคาของผูผลิตดินสํ าเร็จรูปจึงไดแกผูประกอบการเซรามิกที่ผลิตสินคาที่มีมูลคาเพิ่มสูง ผูผลิตเครื่องใชบนโตะอาหารและของชํ ารวยอีกสวนหนึ่งโดยเฉพาะผูผลิตรายใหญๆ รวมถึงผูผลิตกระเบื้อง สุขภัณฑและลูกถวยไฟฟายังใชวิธีผสมดินเองและซื้อดินผสมคุณภาพดีเยี่ยมจากตางประเทศในกรณีที่ตองการผลิตเซรามิกช้ันดีมาก

5) วัตถุดิบในการเคลือบสีลงลาย

วัตถุดิบที่มีความสํ าคัญในการเคลือบสีลงลายไดแก ทรายแกว, หินฟนมา, ดินขาว, หินปูน, โดโลไมท, สารทึบสี (Opacifiers), สี, และนํ้ า สํ าหรับทรายแกว ดินขาวและหินฟนมานั้น ใชในการผลิตเนื้อดินปนดวยดังไดกลาวถึงไปแลวขางตน สํ าหรับนํ้ านั้นจะกลาวถึงตอไปในหมวดสาธารณูปโภค

Page 23: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 225

ตารางที่ 8.19 สวนผสมวัตถุดิบนํ้ ายาเคลือบในผลิตภัณฑเซรามิกบางประเภท

สัดสวนของวัตถุดิบ (รอยละ)ผลิตภัณฑ ดินขาว เฟลดสปาร ซิลิกา อื่นๆเอิรทเทิรนแวร 13.0 54.2 8.7 24.1สโตนแวร 5.0 50.0 4.0 41.0พอรซเลน 5.5 51.1 22.9 20.5โบนไชนา 4.6 14.8 13.8 66.8ที่มา : กรมวิทยาศาสตรบริการ พ.ศ. 2526

หินปูน (Lime Stone) นอกจากใชผสมในกระเบื้องเพื่อลดอุณหภูมิในการเผาแลว ยังเปนวัตถุดิบหลักที่ทํ าหนาที่เปนตัวหลอมละลายในนํ้ าเคลือบอุณหภูมิสูง และหินปูนยังเปนวัตถุดิบสํ าคัญในอุตสาหกรรมแกว อุตสาหกรรมกระดาษและหินออนอีกดวย ประเทศไทยมีแหลงหินปูนหลายแหลงดวยกัน ไดแก อ.บานดานลานหอย จ.สุโขทัย, อ.เมือง จ.ตาก, อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี, อ.แกงคอย จ.สระบุรี, และ อ.ทุงสง จ.นครศรีธรรมราช โดยมีปริมาณสํ ารองถึง 300,000 ลานตัน2 โดยมีการผลิตและใชภายในประเทศดังนี้

ตารางที่ 8.20 ปริมาณการผลิตและใชหินปูนภายในประเทศ ใน พ.ศ. 2543 – 2544

พ.ศ. 2543 (ม.ค. – มิ.ย.) พ.ศ. 2544 (ม.ค. – มิ.ย.)ผลิต ใช ผลิต ใชวัตถุดิบ

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

หินปูน–ซีเมนต 20,691.9 1,758.8 21,006.4 1,785.5 21,551.4 1,831.9 21,335.6 1,831.5หินปูน-กอสราง 18,302.8 1,281.2 16,740.5 1,171.8 17,051.6 1,193.6 15,811.1 1,106.8หินปูน–อื่นๆ 646.0 55.0 632.3 53.7 695.1 59.1 687.7 58.5ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

โดโลไมท (Dolomite) นอกจากจะใชเปนสวนผสมของเนื้อดินปนชนิดโดโลไมทแวรแลวยังใชผสมในนํ้ าเคลือบเพื่อเปนตัวหลอมละลายในนํ้ าเคลือบอุณหภูมิสูงเพื่อเพิ่มความแข็งแกรงทนตอรอยขีดขวนและทนตอกรดดางอีกดวย แหลงที่พบโดโลไมทในประเทศไทยไดแก อ.ทามวงและอ.เมือง จ.กาญจนบุรี, อ.เกาะสีชัง จ.ชลบุรี, อ.รัตนภูมิ จ.สงขลา, อ.แกงคอย จ.สระบุรี, และ อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา โดยในรายงานการสํ ารวจของกรม-ทรัพยากรธรณีในป พ.ศ. 2541 มีปริมาณสํ ารองถึง 2,155,750,000 ตัน และมีการผลิต สงออก และใชภายในประเทศดังนี้

2 กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2541

Page 24: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

226 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 8.21 ปริมาณการผลิต สงออกและใชโดโลไมท ในป พ.ศ. 2543 - 2544

พ.ศ. 2543 (ม.ค. – มิ.ย.) พ.ศ. 2544 (ม.ค. – มิ.ย.)ผลิต สงออก ใช ผลิต สงออก ใช

ปริมาณ (ตัน) 324,129 262,750 39,891 340,524 272,944 44,022มูลคา (ลานบาท) 142.6 84.2 17.6 149.8 105.7 19.4ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

สี (Stain) และ สารทึบสี (Opacifiers) ไดแก ออกไซดของโลหะใหสีชนิดตางๆ อาทิเชน สังกะสีออกไซด, เซอรคอนออกไซด, ไทเทเนียมออกไซด, โครเมียมออกไซด, มังกานีสออกไซด เปนตน ซึ่งอยูในรูปของสารเคมีและจัดอยูในหมวดเคมีภัณฑนั้น กวารอยละ 90 ที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิก เปนเคมีภัณฑนํ าเขาจากตางประเทศไดแก ประเทศแคนาดา ยุโรป ไตหวันและจีน เปนตน โดยนํ าเขามาในรูปของสีแหงเปนหลัก ทั้งนี้เนื่องดวยอุตสาหกรรมเคมีของไทยยังขาดพื้นฐานและปจจัยสํ าคัญๆ หลายอยาง สํ าหรับสีนั้น ความตองการสีในประเทศยังมีความหลากหลายที่สูงมากและมีปริมาณโดยรวมไมมากเพียงพอที่จะทํ าการลงทุนผลิตได ประเทศไทยจึงยังไมมีความคุมทุนในการผลิตสีและเคมีภัณฑสํ าหรับผลิตสีสวนใหญได

สีที่ผลิตไดในประเทศไทยจึงมีจํ ากัดมาก สีหนึ่งที่เปนที่รูจัก ไดแก สีฟาคราม ซึ่งเปนสีที่ใชในการตกแตงเครื่องปนดินเผาตั้งแตสมัยกอนโดยมีช่ือเฉพาะเรียกเครื่องปนดินเผาเหลานั้นวา “เครื่องลายคราม” สวนสีอื่นๆนั้น มีการผลิตอยูบางตามความตองการของตลาด สวนสีที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิก สวนใหญนํ าเขามาจาก ญี่ปุน อังกฤษ ไตหวัน สเปน อิตาลี และเยอรมัน โดยมาจากหลายบริษัทและมีผูแทนจํ าหนายจํ านวนมากหลายรายดวยกัน และกระจายอยูตามเขตที่มีการผลิตเครื่องปนดินเผาแทบทุกเขต สวน ฟริตนั้น แมวายังตองซื้อในรูปแบบของการนํ าเขา แตในปจจุบันมีบริษัทผูผลิตฟริตอยางนอย 2 บริษัททํ าการบดหรือผลิตฟริตในประเทศไทย

สํ าหรับนํ้ าเคลือบนั้น ผูผลิตเซรามิกสวนใหญใชวิธีผสมนํ้ าเคลือบเองเพราะสวนผสมของเนื้อดินที่ใชเปนตัวผลิตภัณฑจะเปนปจจัยกํ าหนดสวนผสมของนํ้ าเคลือบ และมีการซื้อนํ้ าเคลือบที่ผสมเสร็จแลวจากบริษัทที่ขายดินสํ าเร็จรูป อยางไรก็ดี ปจจุบันไดมีการนํ าเขาวัตถุดิบสํ าหรับผสมในนํ้ าเคลือบและนํ้ าเคลือบสํ าเร็จรูป ไดแกเคลือบสีลวนและเคลือบใส ซึ่งมีแนวโนมที่จะมีความตองการของตลาดเพิ่มสูงขึ้น สวนเคลือบเชิงศิลปนั้น ยังตองผสมใชเองรวมกับเทคนิคการชุบเคลือบและการเผา

รูปลอกลายสํ าหรับติดเซรามิกนั้น มีผูผลิตเซรามิกรายใหญๆ เพียง 3-4 รายเทานั้น ที่มีการผลิตและพิมพรูปลอกสํ าหรับใชเองภายในโรงงานเนื่องจากจะตองลงทุนทางดานเครื่องจักรสํ าหรับพิมพรูปลอกและจะตองผลิตในปริมาณมากๆ จึงจะคุมทุน ในประเทศไทยมีบริษัทผูผลิตรูปลอกสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิกอยูประมาณ 8-10 บริษัทโดยมีกํ าลังการผลิตประมาณ 5 ลานชิ้นตอป ซึ่งถือเปนประเทศที่มีกํ าลังการผลิตรูปลอกสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิกที่สูงที่สุดของประเทศในกลุมอาเซียน แตอยางไรก็ดีเนื่องจากสินคาเซรามิกของไทยมักจะนิยมขายรูปแบบและความเปนงานศิลปที่วาดดวยมือและบริษัทผูผลิตรูปลอกสวนมากจะรับคํ าสั่งการผลิตในปริมาณที่คอนขางมากจึงทํ าใหความตองการรูปลอกลายไมมีการเติบโตมากนักเมื่อเทียบกับปริมาณของโรงงานเซรามิกที่เพิ่มขึ้น

Page 25: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 227

หากพิจารณาปริมาณวัตถุดิบประเภทสวนผสมนํ้ าเคลือบ สี และลายตางๆ ที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกนั้น พบวามีปริมาณการใชในสัดสวนที่ต่ํ ามากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณวัตถุดิบที่ใชในเนื้อดินปน แตถาเปรียบเทียบในดานราคาแลวจะพบวาสัดสวนของราคาเนื้อดินจะมีราคาถูกกวาสีที่ผสมในนํ้ าเคลือบมากกวา 10 เทาตัว ดังรายละเอียดตอไปนี้

ตารางที่ 8.22 ชนิดและสัดสวนมูลคาวัตถุดิบในผลิตภัณฑเซรามิก

ชนิดของวัตถุดิบผลิตภัณฑ ในประเทศ สัดสวน

(รอยละ)ตางประเทศ สัดสวน

(รอยละ)กระเบื้องปูพ้ืน-บุผนัง ดินขาว ดินดํ า ดินเหนียว

หินฟนมา ทรายแกว ฯลฯ62 สี เคลือบ เคมีภัณฑ 38

เครื่องสุขภัณฑ ดินขาว ดินเหนียว หินฟนมา ทรายแกว ปูน พลาส-เตอร ฯลฯ

74 สี เคลือบ เคมีภัณฑ 26

เครื่องใชบนโตะอาหาร ดินขาว หินฟนมา หินเขี้ยวหนุมาน ฯลฯ

70 สี เคลือบ เคมีภัณฑ 30

ของชํ ารวยและเครื่องประดับ

ดินขาว ดินเหนียว ดินดํ าหินฟนมา ทรายแกว ฯลฯ

78 สี เคลือบ เคมีภัณฑ 22

ลูกถวยไฟฟา ดินขาว ดินดํ า หินฟนมาทรายแกว ฯลฯ

98 สี เคลือบ เคมีภัณฑ 2

ที่มา : กระทรวงอุตสาหกรรม

หากเมื่อพิจารณาโครงสรางวัตถุดิบเนื้อดินปนและนํ้ าเคลือบในผลิตภัณฑเซรามิก จะเห็นวา วัตถุดิบดินปนเปนองคประกอบในผลิตภัณฑเซรามิกประมาณรอยละ 90 โดยปริมาตร และที่เหลืออีกรอยละ 10 นั้นเปนวัตถุดิบเคลือบสีลงลาย แตเมื่อพิจารณาตนทุนเฉพาะวัตถุดิบสองประเภทนี้ พบวา ในแตละผลิตภัณฑนั้น มูลคาตนทุนวัตถุดิบดินปนนั้นโดยมากจะมีมูลคาตํ่ ากวามูลคาวัตถุดิบเคลือบสีลงลาย3 จึงอาจกลาวไดวา วัตถุดิบเคลือบสีลงลายนั้นมีมูลคาสูงกวาวัตถุดิบดินปนประมาณ 10 เทาหากปริมาตรเทากัน และการที่วัตถุดิบหลายตัวสํ าหรับผสมในนํ้ าเคลือบนํ าเขาจากตางประเทศนั้น อาจทํ าใหเกิดภาวะเสียดุลก็เปนได การสงเสริมใหใชวัตถุดิบที่ผลิตไดเองในประเทศสํ าหรับผสมเปนนํ้ าเคลือบ อาทิเชน เคลือบขี้เถาพืช อาจเปนแนวทางที่จะชวยใหการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกเปนไปอยางยั่งยืนตอไป

สํ าหรับสีและสารเคมีนั้น เปนเคมีภัณฑที่ใชกับหลายอุตสาหกรรมไมจํ าเพาะสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิก การจะพัฒนาสีและเคมีภัณฑที่ใชในการผลิตเซรามิกจึงไมจัดเปนวาระของอุตสาหกรรมเซรามิกโดยตรง

3 ขอมูลจากการสัมภาษณผูประกอบการ

Page 26: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

228 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

อยางไรก็ตาม การสงเสริมใหอุตสาหกรรมเคมีภัณฑใหความสํ าคัญกับสีและสารเคมีที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกจะชวยใหในการพัฒนาความสามารถของอุตสาหกรรมเซรามิกไทยไดอีกทางหนึ่ง

8.1.2 แหลงกํ าเนิดและขอกํ าหนดในการใชทรัพยากรในอุตสาหกรรมแกวและกระจก

วัตถุดิบหลักในการผลิตแกวและกระจกแบงตามคุณสมบัติในการผสมผสานรวมเปนเนื้อแกวไดแก

1. โครงสรางเนื้อแกว ซึ่งไดแก ทรายแกว และยังมีการนํ าเศษแกวปนเขามาใชทดแทนทรายแกวดวย ทรายแกวและเศษแกวปนมีการผลิตใชเองภายในประเทศ

2. ตัวหลอมเพื่อชวยลดอุณหภูมิในการหลอมนํ้ าแกวไดแก โซดาแอช (Na2CO3), หินปูน (Limestone), โดโลไมท (Dolomite), และ หินฟนมา (Feldspar) ซึ่งโซดาแอซนั้นนํ าเขาจากตางประเทศไดแกประเทศจีนเปนหลัก สวนวัตถุดิบที่เหลือ สามารถผลิตไดเองในประเทศ

3. ตัวเพิ่มความแข็งแกรง, ตัวยึดเกาะ และเคมีภัณฑ ไดแก อะลูมินา (Alumina), โซเดียมไนเตรท, โซเดียมคารบอเนต, บอแรกซ, ฟนอลิคเรซิ่นสํ าหรับผลิตใยแกว, แอมโมเนียซัลเฟต, ไซเลน, และนํ้ ามันหลอล่ืน เปนตน วัตถุดิบในหมวดนี้เปนเคมีภัณฑซึ่งประเทศไทยยังไมมีรากฐานดานนี้เทาใดนัก จึงเปนวัตถุดิบนํ าเขาเปนสวนใหญ

ในการผลิตแกวนั้น ใชทรายแกวประมาณรอยละ 50 โซดาแอซ รอยละ 20 หินปูนรอยละ 15 นอกจากนี้ยังมีการใชเศษแกวอีกประมาณรอยละ 10 โดโลไมต รอยละ 5 และสารเคมีอื่นๆ4

1) ทรายแกว (Silica Sand)5

ทรายแกวที่ใชในอุตสาหกรรมแกวและกระจกจะตองเปนทรายขาวสะอาดบริสุทธิ์ ผานการลางและแตงเพื่อแยกแรเหล็กและโลหะหนักออก และผานการคัดขนาดใหมีคุณภาพสมํ่ าเสมอ โดยจะตองมีปริมาณซิลิกาต้ังแตรอยละ 99 ขึ้นไป และจะตองมีปริมาณเหล็กตํ่ ากวารอยละ 0.05 เพื่อมิใหเกิดจุดสีใหรอยตํ าหนิในเนื้อแกว ทราย-แกวที่ใชจะตองมีขนาด 0.1 – 0.5 มิลลิเมตร และ มีความชื้นในปริมาณที่กํ าหนดไวสํ าหรับแตละประเภทผลิตภัณฑ

ตารางที่ 8.23 คุณสมบัติของทรายแกวท่ีตองการในผลิตภัณฑบางประเภท

ผลิตภัณฑ ซิลิกา(อยางตํ่ ารอยละ)

อะลูมินา(ไมเกินรอยละ)

เหล็กออกไซด(ไมเกินรอยละ)

แคลเซียมและแมกนีเชียม(ไมเกินรอยละ) ขนาดเม็ดทราย

เครื่องแกวใส 99.5 0.1 – 0.5 0.008 - 0.1 – 0.5 มม.ภาชนะและกระจก

99.5 0.1 – 0.5 0.013 - 0.1 – 0.5 มม.

แกวเรียบ 99.5 0.1 – 0.5 0.030 - 0.1 – 0.5 มม.ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

4 เอกสารวิชาการสภาการเหมืองแร: แรทรายแกว, แรอุตสาหกรรม (2543 – 2544) ฉบับท่ี 11, สภาการเหมืองแร, พ.ศ. 2543 หนา 65 เอกสารวิชาการสภาการเหมืองแร: แรทรายแกว, แรอุตสาหกรรม (2543 – 2544) ฉบับท่ี 11, สภาการเหมืองแร, พ.ศ. 2543

Page 27: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 229

ประเทศไทยมีแหลงแรทรายแกวอยูบริเวณแนวชายฝงทะเลภาคตะวันออกและภาคใต ดังนี้

• ภาคตะวันออก ไดแก เขตจังหวัดระยอง, จันทบุรี, และตราด ทรายแกวที่พบในภาคตะวันออก ช้ันบนสุดจะมีสีนํ้ าตาลถึงดํ าเนื่องจากการปะปนของสารอินทรีย แตทรายที่อยูลึกจากผิวช้ันบนไป 10 – 30 ซม. จะมีสีขาว โดยช้ันทรายขาวนี้จะลึกตั้งแต 0.10 – 2.00 เมตร ลึกลงไปกวานั้น จะเปนทรายแกวคุณภาพตํ่ า ปริมาณสํ ารองแรทรายแกวในภาคตะวันออกรวมทั้งสิ้นมีประมาณ 115 ลานเมตริกตัน โดยอยูในเขตพื้นที่ปาอนุรักษและแหลงทองเที่ยวถึง 80 ลานเมตริกตัน และอยูนอกเขตดังกลาวอีก 35 เมตริกตัน

• ภาคใต ไดแกเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช, ภูเก็ต, สงขลา, ชุมพร, ตรัง, ปตตานี, และกระบี่ โดยมีปริมาณสํ ารองทั้งสิ้น 140 ลานเมตริกตัน เปนทรายแกวในเขตพื้นที่ปาอนุรักษและแหลงทองเที่ยว 80 ลานเมตริกตัน และอยูนอกเขตดังกลาว 60 ลานเมตริกตัน ทรายแกวในแนวเขตชายฝงภาคใตที่อยูช้ันบนมีสารอินทรียปะปนอยูมากจึงมีสีดํ าและสกปรกโดยมีความหนาประมาณ 20 – 30 ซม. ถัดจากชั้นนี้ เปนทรายสีนํ้ าตาลแก

แหลงผลิตทรายแกวที่สํ าคัญของประเทศจึงอยูในเขตภาคตะวันออกเปนหลัก เนื่องจากทรายแกวมีความขาวสะอาดกวาและอยูใกลแหลงอุตสาหกรรมมากกวา สวนในภาคใตมีการผลิตทรายแกวในเขตจังหวัดชุมพร แตปริมาณการผลิตยังคอนขางตํ่ าเนื่องจากอยูไกลแหลงอุตสาหกรรมและทรายแกวที่ผลิตจากภาคตะวันออกมีปริมาณเพียงพอตอความตองการของภาคอุตสาหกรรม

อยางไรกด็ ี ปรมิาณส ํารองแรทรายแกวในทัง้ 2 ภาค เปนเขตพืน้ทีท่ ํากนิและทีพํ่ านกัอาศยั ซึง่มกีารขยายตวัของชมุชนเมอืงอยางตอเนือ่ง พ้ืนทีเ่หลานีส้วนใหญเปนพืน้ทีเ่อกสารสทิธิ ์ การเวนคนืพืน้ทีเ่พือ่ใชประโยชนจงึมีความยากล ําบาก ท ําใหพ้ืนทีแ่หลงแรทรายแกวมรีาคาคอนขางสงูและยากแกการขอประทานบตัร

ทรายแกวที่ผลิตในภาคตะวันออกมีอยู 3 ประเภทไดแก ทรายดิบ, ทรายลาง, และทรายแตง ทรายดิบเปนทรายที่ไดจากการทํ าเหมืองแรโดยไมผานกระบวนการลางหรือแตง ทรายดิบจะมีมลทินและสิ่งเจือปนสูงกวาทรายลางและทรายแตง จึงมักนํ าไปลางใหเปนทรายลางกอน ทรายที่ลางดวยนํ้ าเพื่อกํ าจัดมลทินและสิ่งเจือปนบางสวนออกจนไดทรายที่มีซิลิกาเปนสวนประกอบประมาณรอยละ 96 ขึ้นไป ซึ่งสามารถนํ าไปใชผลิตแกวสีและกระจกสีได สวนทรายที่ใชในการผลิตแกวใสจะตองแตงกอน ทรายแตงนั้นจะมีการแยกเอาแรเหล็กออกดวยเครื่อง Humphrey Spiral ใหเหลือธาตุเหล็กตํ่ ากวารอยละ 0.02 และมีความชื้นไมเกินรอยละ 5

ราคาแรทรายแกวในประเทศมีความแตกตางกันระหวางทรายดิบ ทรายลาง และทรายแตง ซึ่งสวนใหญจะถูกกํ าหนดโดยผูซื้อซึ่งมีจํ ากัดอยูในวงแคบ ผูผลิตจึงขาดอํ านาจตอรอง ในชวงที่ผานมา ราคาแรทรายแกวจึงคอนขางจะคงตัว โดยมีราคาดังตอไปนี้

ทรายดิบ 80 – 100 บาทตอตันทรายลางไมคัดขนาด 250 – 290 “ทรายลางเม็ดหยาบ 300 – 340 “ทรายลางเม็ดกลาง 350 – 450 “ทรายลางเม็ดละเอียด 450 – 500 “ทรายแตง 700 – 900 “

Page 28: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

230 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

การผลิตและใชแรทรายแกวขึ้นอยูกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและธุรกิจอสังหาริมทรัพยภายในประเทศ การขยายตัวของเศรษฐกิจสงผลใหความตองการทรายแกวเพิ่มขึ้นดวย ในชวง 5 ปที่ผานมา ความตองการแรทรายแกวขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น เชนเดียวกับการผลิต สภาการเหมืองแรไดประมาณการดวยการสอบถามผูผลิต พบวาความตองการทรายแกวในอุตสาหกรรมแกวและกระจกมีประมาณปละ 530,000 – 850,000 ตัน โดยแยกเปนสํ าหรับกระจก 250,000 – 350,000 ตัน และสํ าหรับแกว 280,000 – 500,000 ตัน และ สภาการเหมืองแรไดดํ าเนินการประมาณความตองการแรทรายแกวในอุตสาหกรรมแกวและกระจก จากการคํ านวณโดยใชความสัมพันธในรูปสมการเชิงเสนดวยตัวแปรที่คาดวาจะมีสวนเกี่ยวของกับปริมาณการใชแรทรายแกว ไดปริมาณความตองการใชทรายแกวใน ป พ.ศ. 2545 – 2550 ดังนี้

ตารางที่ 8.24 ปริมาณความตองการใชแรทรายแกวในอุตสาหกรรมแกวและกระจกป พ.ศ. ความตองการใชแรทรายแกว (เมตริกตัน)2545 546,0642546 640,6202547 748,5902548 859,0402549 984,8902550 1,123,330

ที่มา : สภาการเหมืองแร

นอกจากทรายแกวในประเทศแลว ไทยมีการนํ าเขาทรายซิลิกาและทรายควอรตซที่ไมมีการผลิตในประเทศเนื่องจากความไมคุมทุนในการผลิต ทรายประเภทนี้ใชในโรงงานอุตสาหกรรมแกวเจียระไนและแกวคริส-ตัลซึ่งมีความตองการนอยเมื่อเทียบกับตนทุนคาใชจายในการผลิตวัตถุดิบ ในปจจุบันจึงมีการนํ าเขาทรายซิลิกาและทรายควอรตซจากประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน ออสเตรเลีย และเยอรมัน สวนทรายแกวสํ าหรับอุตสาหกรรมแกวและกระจก ไดเริ่มมีการนํ าเขาเพิ่มขึ้นทุกปเพื่อทดแทนการผลิตในประเทศ โดยนํ าเขาจากประเทศใกลเคียงอาทิเชน สา-ธารณรัฐกัมพูชา มาเลเซีย และสาธารณรัฐประชาชนจีน

เนื่องจากแรทรายแกวเปนแรสงวนไวใชภายในประเทศหามสงออกตามมติคณะรัฐมนตรีในป พ.ศ. 2517 โดยไมอนุญาตใหสงทรายแกวทั้งทรายดิบ ทรายลาง หรือทรายแตงออกไปจํ าหนายยังตางประเทศ ซึ่งตอมาในป พ.ศ. 2537 ไดใหนิยามคํ าจํ ากัดความของทรายที่หามสงออกใหเปน ทรายธรรมชาติทุกชนิดที่มีซิลิกาเกินกวารอยละ 75 ทั้งที่บดแลวและยังไมไดบดเพื่อปองกันการลักลอบนํ าทรายแกวและทรายแมนํ้ าออกนอกราชอาณาจักรในรูปแบบตางๆเชนทรายบดและทรายผสม และยังเพิ่มการควบคุมการสงออกแรที่มีทรายเปนสวนประกอบ โดยกํ าหนดใหเปนสินคาควบคุมที่จะตองขออนุญาตสงออกเปนรายๆไป

Page 29: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 231

ตารางที่ 8.25 การผลิต การใช และการนํ าเขาทรายแกว ป พ.ศ. 2539 – 2543ปริมาณ : เมตริกตัน / มูลคา : ลานบาท

การผลิต การใช การนํ าเขาป พ.ศ.ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา

2539 447,050 156.5 298,302 104.4 7,448 36.42540 515,859 180.6 373,587 130.8 4,431 32.92541 323,937 113.4 251,759 88.1 4,234 40.32542 531,588 186.1 520,838 182.3 13,157 56.52543 471,547 165.0 425,220 232.5 17,853 43.1เฉลี่ย 457,996 160.3 373,941 147.6 9,425 41.8

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

ตารางที่ 8.26 ปริมาณการนํ าเขาทรายแกว ป พ.ศ. 2543

ประเทศ ปริมาณ (เมตริกตัน) มูลคา (ลานบาท)ออสเตรเลีย 4,031.0 8.52เบลเยี่ยม 302.0 3.10สาธารณรัฐกัมพูชา 11,300.0 1.70สาธารณรัฐประชาชนจีน 105.0 0.88ฝรั่งเศส 145.6 1.94เยอรมัน 328.0 2.50ญี่ปุน 864.4 10.82มาเลเซีย 330.0 0.91อังกฤษ 20.0 0.19สหรัฐอเมริกา 407.4 11.71อื่นๆ 20.0 0.79

รวม 17,853.4 43.06ที่มา : กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

2) หินปูน (Lime stone)

หินปูนเปนวัตถุดิบสํ าคัญในอุตสาหกรรมแกว โดยใชผสมในนํ้ าแกวเพื่อลดอุณหภูมิในการหลอม ประเทศไทยมีแหลงหินปูนหลายแหลงดวยกัน ไดแก อ.บานดานลานหอย สุโขทัย, อ.เมือง ตาก, อ.พัฒนานิคม ลพบุรี,

Page 30: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

232 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

อ.แกงคอย สระบุรี, และ อ.ทุงสง นครศรีธรรมราช โดยมีปริมาณสํ ารองถึง 300,000 ลานตัน6 โดยมีการผลิตและใชภายในประเทศดังนี้

ตารางที่ 8.27 ปริมาณการผลิตและใชหินปูนภายในประเทศ ใน พ.ศ. 2543 – 2544

พ.ศ. 2543 (ม.ค. – มิ.ย.) พ.ศ. 2544 (ม.ค. – มิ.ย.)ผลิต ใช ผลิต ใชวัตถุดิบ

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา (ลานบาท)

ปริมาณ(พันตัน)

มูลคา(ลานบาท)

หินปูน - ซีเมนต 20,691.9 1,758.8 21,006.4 1,785.5 21,551.4 1,831.9 21,335.6 1,831.5หินปูน- กอสราง 18,302.8 1,281.2 16,740.5 1,171.8 17,051.6 1,193.6 15,811.1 1,106.8หินปูน - อื่นๆ 646.0 55.0 632.3 53.7 695.1 59.1 687.7 58.5ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

3) โดโลไมท (Dolomite)

นอกจากจะใชเปนสวนผสมของนํ้ าแกวเพื่อเปนตัวหลอมละลายแลว ยังชวยเพิ่มความแข็งแกรงทนตอรอยขีดขวนและทนตอกรดดางอีกดวย แหลงที่พบโดโลไมทในประเทศไทยไดแก อ.ทามวง และ อ.เมือง กาญจนบุรี, อ.เกาะสีชัง ชลบุรี, อ.รัตนภูมิ สงขลา, อ.แกงคอย สระบุรี, และ อ.ปากชอง นครราชสีมา โดยในรายงานการสํ ารวจของกรมทรัพยากรธรณีในป พ.ศ. 2541 มีปริมาณสํ ารองถึง 2,155,750,000 ตัน และมีการผลิต สงออก และใชภายในประเทศดังนี้

ตารางที่ 8.28 ปริมาณการผลิต สงออกและใชโดโลไมท ในป พ.ศ. 2543 - 2544

พ.ศ. 2543 (ม.ค. – มิ.ย.) พ.ศ. 2544 (ม.ค. – มิ.ย.)ผลิต สงออก ใช ผลิต สงออก ใช

ปริมาณ (ตัน) 324,129 262,750 39,891 340,524 272,944 44,022มูลคา (ลานบาท) 142.6 84.2 17.6 149.8 105.7 19.4ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

6 กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2541

Page 31: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 233

4) หินฟนมา (Feldspar)

หนิฟนมาใชเปนสวนประกอบส ําคญัชนดิหนึง่ในการผลติกระจก มคีณุสมบติัชวยลดจดุหลอมละลายของนํ ้าแกว ท ําใหหลอมนํ ้าแกวไดทีอ่ณุหภูมต่ํิ าลงนัน่เอง นอกจากนัน้ยงัชวยเพิม่ความโปรงแสงใหแกผลิตภัณฑอกีดวย หนิฟนมาทีน่ยิมใชในอตุสาหกรรมแกวและกระจกของไทยไดแก โซเดยีมเฟลดสปาร และโปแตสเซยีมเฟลดสปาร ซึง่เปนเฟลดสปารที่พบโดยทั่วไปโดยอยูในแหลงเดียวกับแหลงแกรนิต แพกมาไททและไนส ซึ่งเปนแหลงภูเขา แหลงเฟลดสปารทีส่ ําคญัไดแก แหลงราชบรุ ีตาก เพชรบรุ ีกาญจนบรุ ีอทุยัธาน ีและแมฮองสอน

ตารางที่ 8.29 เปรียบเทียบผลวิเคราะหเคมีของเฟลดสปารไทยและนอรเวยโปแตสเซียมเฟลดสปาร โซเดียมเฟลดสปารผลวิเคราะหเคมี ต.ทองฟา อ.บานตาก จ.ตาก นอรเวย ต.ทองฟา อ.บานตาก จ.ตาก นอรเวย

ซิลิกา (SiO2) 65.0 65.4 70.2 69.2อะลูมินา (Al2O3) 18.6 18.7 17.8 18.7เหล็ก (Fe2O3) 0.31 0.06 0.06 0.11ไทเทเนียม (TiO2) 1.0 0.51 0.11 1.82แคลเซียม (CaO) 0.08 - 0.22 -แมกนีเซียม (MgO) 3.8 3.36 8.8 7.2โปแตสเซียม (K2O) 10.0 11.0 0.16 2.8โซเดียม (Na2O) - - 0.26 -นํ ้าหนักที่หายไปหลังการเผา 0.19 0.29 1.33 0.19ที่มา : ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน, เนื้อดินเซรามิก, ส ํานักพิมพโอเดียนสโตร กรุงเทพฯ, 2541 หนา 66

Page 32: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

234 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 8.30 ปริมาณการผลิตหินฟนมา (เฟลดสปาร) การใชภายในประเทศ การนํ าเขา และสงออกในป พ.ศ. 2538 – 2542

ปริมาณการผลิต (ตัน)แหลงผลิต

พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 25421. โปแตสเซียมเฟลดสปาร รวม 59,748 13,095 10,774R 5,183 13,026

9,615G 2,773G 4,082G 3,859G 4,684G

มูลคา (ลานบาท) 101.6 22.3 18.3 8.8 22.123.1G 6.7G 9.8G 9.3G 11.2G

2. โซเดียมเฟลดสปาร รวม 600,815 649,105 535,873 325,289 385,532

7,674G 20,010G 61,060G 105,957G 223,173G

มูลคา (ลานบาท) 420.6 454.4 375.1 227.7 269.9 10.7G 28.0G 85.5G 148.3G 312.4G

การใชภายในประเทศรวม 239,375 316,903 279,156 187,340 245,046มูลคา (ลานบาท) 189.9 242.9 221.4 221.5 332.1การนํ าเขารวม 300,528 271,079 241,494 239,018 282,680มูลคา (ลานบาท) 186.6 173.3 181.2 166.5 185.7การสงออกรวม 15,979 23,062 10,306 11,111 13,590มูลคา (ลานบาท) 48.9 75.8 53.3 49.8 54.3ที่มา : กรมทรัพยากรธรณีหมายเหตุ : G = grounded (แรบดแลว), R = revised (แรบดและแตงแลว)

หินฟนมาจากแหลงนครศรีธรรมราชนั้น สวนใหญสงออกไปจํ าหนายยังประเทศใกลเคียง เนื่องจากระยะทางในการขนสงสูประเทศใกลเคียงใกลกวาการสงขึ้นไปจํ าหนายยังจังหวัดในเขตภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แคที่สงไปจํ าหนายยังตางประเทศสวนใหญเปนโซเดียมเฟลดสปารกอนซึ่งมีราคาตํ่ า สํ าหรับราคาเฟลดสปารภายในประเทศนั้น กรมทรัพยากรธรณีไดประกาศเพื่อเก็บคาภาคหลวงในป พ.ศ. 2543 ดังนี้

Page 33: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 235

โซเดียมเฟลดสปาร (กอน) 700 บาทตอตันโซเดียมเฟลดสปาร (บด) 1,400 บาทตอตันโพแทสเซียมเฟลดสปาร (กอน) 1,700 บาทตอตันโพแทสเซียมเฟลดสปาร (บด) 2,400 บาทตอตัน

อาจกลาวไดวา ประเทศไทยมีศักยภาพวัตถุดิบสํ าหรับอุตสาหกรรมแกวและกระจกคอนขางสูง แตแหลงวัตถุดิบสวนใหญในปจจุบันอยูในเขตพื้นที่ชุมชน แหลงทองเที่ยวและเขตพื้นที่ปาสงวน จึงจํ าเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการวางแผนในการใชประโยชนจากที่ดินรวมกันระหวางหนวยงานราชการที่เกี่ยวของและผูประกอบการเหมืองแร นอกจากนี้ การกํ าหนดนโยบายและมาตรการสงเสริมการนํ าเขาวัตถุดิบทรายแกวจากประเทศใกลเคียงที่มีคุณภาพสูงแตราคาตํ่ ากวาของไทย อาทิเชน จากประเทศกัมพูชา เปนตน จะมีความสํ าคัญตอการพัฒนาอุตสาหกรรมใหยั่งยืนตอไปภายหนา

8.2 เคร่ืองมือเคร่ืองใช8.2.1 เคร่ืองมือเคร่ืองใชในอุตสาหกรรมเซรามิก

แมวาประเทศไทยจะมีศักยภาพดานวัตถุดิบเซรามิกในอัตราสูง หากแตวา เมื่อพิจารณาในเชิงการผลิตแบบอุตสาหกรรมแลว พบวาเทคโนโลยีและประสบการณในการพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกยังไมสามารถผลิตใหมีรูปแบบ คุณภาพและประสิทธิภาพทันกับกระแสของแนวโนมและความตองการในการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตในปจจุบัน อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการขาดแคลนบุคลากรที่มีความรูและความเขาใจในกระบวนการออกแบบ ผลิตและนํ าเอาเครื่องมือตางๆมาใชงานตามที่ตองการไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งเปนผลมาจากการที่แตเดิมการผลิตเครื่องปนดินเผานั้นเปนแบบครัวเรือนแลวจึงพัฒนาไปเปนแบบหัตถอุตสาหกรรมและกาวเขาสูแบบอุตสาหกรรมการผลิตในปจจุบัน เครื่องมือเครื่องใชตางๆ สวนใหญยังไมสามารถผลิตไดในประเทศ จึงนํ าเขาจากตางประเทศแทบทั้งสิ้น เครื่องมือเครื่องใชในอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทยอาจแบงไดตามรายการตอไปนี้

- เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ- แมพิมพ แมพิมพที่ทํ าจากวัสดุประเภทตางๆ ตามรูปแบบของการใชงาน เชน ปูนพลาสเตอร

ยิปซั่ม เรซิ่น โลหะชุบแข็ง และ โพลียูริเทน เปนตน- เตาเผาและอุปกรณที่ใชกับเตา ไดแก เตาแบบตางๆ ทั้งที่เปนเตานํ้ ามัน เตาแกส และเตาไฟ-

ฟา วัสดุทนไฟหรือคิลนเฟอรนิเจอรที่ใชสํ าหรับวางชิ้นงานในเตา อิฐทนไฟหรือแผนไฟเบอรทนอุณหภูมิสูง เปนตน

- วัสดุอุปกรณในการบรรจุหีบหอ ไดแก กลองหรือหีบหอที่ทํ าจากวัสดุตางๆ เพื่อแสดงความสวยงามของสินคา กลองกระดาษ แผนกันกระแทก ฯลฯ

Page 34: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

236 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

1) เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรและอุปกรณ

เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกสามารถแบงตามหมวดหมูการใชงานไดดังนี้

- เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใชในกระบวนการเตรียมดิน ไดแก เครื่องบดแบบตางๆ อาทิเชน เครื่องบดแบบอัดกระทบ, เครื่องบดแบบลูกกลิ้งคู, เครื่องบดแบบคอนเหว่ียง, เครื่องบดแบบเข็ม, เครื่องบดแบบถาดและลอบด, ถังบด, และหมอบด เปนตน

- เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใชในการแยกขนาดวัตถุดิบและเตรียมดิน ไดแก ตะแกรงรอน, เครื่องแยกเหล็ก, และเครื่องไฮโดรไซโคลน, เครื่องกวนดิน, เครื่องกวนผสมเร็ว, เครื่องรีดดิน และเครื่องนวดและรีดดินระบบสูญญากาศ เปนตน

- เครื่องมือเครื่องจักรที่ใชในกระบวนการขึ้นรูป ไดแก เครื่องมือสํ าหรับขึ้นรูปดวยมือ, แปนหมุน, เครื่องจิ๊กเกอร, เครื่องจอลลี่, เครื่องโรเลอร, เครื่องหลอนํ้ าดิน, เครื่องอัดแบบแรมเพรสซิ่ง, เครื่องรีดกระเบื้อง, เครื่องอัดกระเบื้องไฮโดรลิก, และเครื่องอัดจานไอโซสเตติก เปนตน

- เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใชในกระบวนการตกแตงและการเคลือบ ไดแก เครื่องจักรสํ าหรับผลิตสติกเกอร, เครื่องชุบเคลือบอัตโนมัติ, เครื่องพนเคลือบ เปนตน

บริษัทผลิตเครื่องจักรสํ าหรับเซรามิกโดยเฉพาะนั้น มีอยางนอย 2 บริษัท ไดแก บริษัทเพชรเกษมจักรกลเซรามิค จํ ากัด และ หจก.อารเอสซี จักรกลซีรามิค ซึ่งทั้งสองแหงตั้งอยูใน อ.สามพราน จ.นครปฐม นอกจากนั้นเปนบริษัทที่รับคํ าสั่งผลิตตามที่จะมีการออกแบบมาให ซึ่งยังไมนับรวมวาเปนบริษัทผลิตเครื่องจักรเซรามิกโดยเฉพาะ การผลิตเครื่องจักรของทั้งสองบริษัทดังกลาวนั้น เริ่มจากการผลิตตามแบบเครื่องจักรนํ าเขาในขั้นแรก แลวพัฒนา ดัดแปลง ปรับปรุงจนสามารถมีแบบอยางการผลิตของตนในราคาที่ยอมเยาวกวา และยังสามารถสงออกไปขายยังตางประเทศไดอีกดวย เครื่องมือเครื่องจักรที่ผลิตไดดังกลาวมีประสิทธิภาพดีและเหมาะสํ าหรับผูผลิตเซรามิกรายเล็กถึงกลาง แตยังไมสามารถผลิตเครื่องจักรสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดใหญได เครื่องจักรที่ผลิตเปนลักษณะของเครื่องจักรกลทั้งหมด ยังไมมีเครื่องจักรที่ควบคุมดวยระบบอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร ซึ่งเปนสวนที่เปลี่ยนสถานะเครื่องจักรสํ าหรับอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดยอมใหเปนเครื่องจักรสํ าหรับอุตสาหกรรมขนาดใหญ

2) แมพิมพ

ปจจุบันแมพิมพที่นิยมใชในอุตสาหกรรมเซรามิกผลิตจากวัสดุสองชนิดไดแก ปูนพลาสเตอร (Plaster of Paris) และยิปซัม โดยหากเปนการผลิตแบบหลอเปยก จะตองใชแมพิมพจํ านวนมากและจะตองเปนแม-พิมพที่ดูดซึมนํ้ าไดดี และหากเปนแมพิมพสํ าหรับเครื่องขึ้นรูปแบบอัด แมจะใชจํ านวนแมพิมพนอยกวาแตจะตองเปนแมพิมพที่มีความแข็งแกรง แมพิมพทั้งสองลักษณะสามารถผลิตไดเองในโรงงานไดอยางไมยากนักและยังมีบริษัทรับผลิตดวย อาทิเชน บริษัทในเครือของเดลแคม (DelCam) และบริษัทสยามโมลดิ่งพลาสเตอร เปนตน สํ าหรับวัสดุที่ใชในการผลิต มีการผลิตจํ าหนายเองในประเทศ อาทิเชน บริษัทสยามโมลดิ่งพลาสเตอร และ บริษัทเครือซีเมนตไทย เปนตน โดยปูนพลาสเตอรนั้นมีแหลงผลิตใน จ.พิจิตร และมีการนํ าเขาจากประเทศเยอรมัน ญี่ปุนและฝรั่งเศสเฉพาะ

Page 35: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 237

ปูนพลาสเตอรคุณภาพสูงๆ เทานั้น สวนแรยิปซัมนั่นมีปริมาณสํ ารองในประเทศถึง 202,200,000 ตัน7และมีการผลิต สงออกและใชภายในประเทศดังนี้

ตารางที่ 8.31 ปริมาณการผลิต สงออกและใชยิปซัมภายในประเทศ ป พ.ศ. 2543 - 2544

พ.ศ. 2543 (ม.ค. – มิ.ย.) พ.ศ. 2544 (ม.ค. – มิ.ย.)ผลิต สงออก ใช ผลิต สงออก ใช

ปริมาณ (ตัน) 2,754,360 1,928,121 773,291 3,244,356 2,276,540 896,474มูลคา (ลานบาท) 1,151.3 803.5 323.2 1,560.5 1,099.3 431.2ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

3) เตาเผาและอุปกรณท่ีใชกับเตาเผา

เตาเผาเซรามิก อาจจัดเปนหัวใจของการผลิตเซรามิกเลยก็กลาวได แตกระนั้นประเทศไทยยังไมมีการผลิตเตาเผาคุณภาพสูงเองภายในประเทศ แมวาในผูผลิตเซรามิกจะมีการประกอบเตาใชเอง แตก็เปนเตาคุณภาพไมดีนักและเปนการผลิตแบบพื้นบานซึ่งไมสามารถควบคุมอุณหภูมิหรือสภาพแวดลอมขณะเผาได หรือแมกระทั่งเตาอุโมงคและเตาชัตเติ้ลซึ่งเปนเตาเผาที่ใชมากในอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดเล็กถึงขนาดกลาง แมจะสามารถใชวัสดุกอสรางเตาที่ผลิตไดเองภายในประเทศ แตคุณภาพยังไมดีเทาใดนัก หากตองการใหเตามีคุณภาพดีนั้นยังตองใชวัสดุกอสรางเตาที่นํ าเขาจากตางประเทศเสียสวนใหญ สวนเตาเผาในเชิงอุตสาหกรรมขนาดใหญไดแก เตาอุโมงคและเตาชัตเติ้ลขนาดใหญ และเตาตอเนื่อง (Roller Kiln) ลวนแลวแตเปนเตาที่นํ าเขาจากตางประเทศทั้งสิ้น ทั้งนํ าเขาแบบเตาสํ าเร็จรูปและนํ าช้ินสวนเขามาประกอบ ณ สถานที่ต้ัง หรือนํ าสวนประกอบที่สํ าคัญเขามาประกอบกับช้ินสวนบางชิ้นที่สั่งผลิตเองภายในประเทศ

ในการผลิตหรือสรางเตาเผารวมไปถึงวัสดุทนไฟและคิลนเฟอรนิเจอรที่ใชในเตาเผานั้นจะตองใชวัสดุทนไฟ ซึ่งวัสดุทนไฟหลายประเภทยังไมสามารถผลิตไดภายในประเทศ ที่ผลิตไดในขณะนี้ไดแกปูนและอิฐทนไฟตางๆ ของบริษัทเครือซีเมนตไทยและบริษัท ภัทรารีแฟรคทอรี่ แตก็ยังเปนวัสดุคุณภาพตํ่ าถึงปานกลาง ยังไมมีวัสดุคุณภาพดีที่สามารถทนทานในอุณหภูมิสูงๆได แมแตใยแกวทนไฟ (Fiber Glass) และเสนใยเซรามิก (Ceramics Fiber) ซึ่งสามารถใชบุผนังเตาเผาแบบอุโมงคและเตาชัตเติ้ลเพื่อเปนฉนวนนั้นก็ยังไมมีการผลิตภายในประเทศ

4) วัสดุอุปกรณในการบรรจุหีบหอ

ในขณะที่การผลิตเครื่องมือและเครื่องจักรในประเทศทํ าไดอยางจํ ากัดนั้น ผูผลิตบรรจุภัณฑภายในประเทศมีอยางพอเพียงตอความตองการของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย แมวาประเทศไทยยังไมสามารถผลิตบรรจุภัณฑคุณภาพเยี่ยมไดก็ตาม ผลิตภัณฑเซรามิกของไทยนั้น เทาที่ผานมายังเปนลักษณะ OEM หรือไมก็เปนการสงออกแกลูกคาทั้งในรูปแบบของการขายสงและการกระจายสินคา (Whole Sale, Distribution) และยังเปนผลิตภัณฑที่แตกหักงาย บรรจุภัณฑจึงไมมุงเนนความสวยงามหรือความมีลักษณะเฉพาะมากนัก แตเนนการบรรจุผลิตภัณฑได

7 กรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2541

Page 36: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

238 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

คราวละมากๆ อยางดีไมใหแตกหักเสียหาย นอกจากนั้นจะตองเปนบรรจุภัณฑที่เขาขอกํ าหนดของประเทศผูนํ าเขาเซรามิกดวย อยางไรก็ดี แมจะมีจํ านวนผูผลิตบรรจุภัณฑเปนจํ านวนมาก แตยังมีสภาพอุปสงคไมพบอุปทานอยูไมขาด ทั้งนี้เนื่องจากยังไมมีการสื่อสารที่ดีระหวางผูผลิตและผูใชบรรจุภัณฑ ตลอดจนปญหาความไมลงตัวของอุปสงคและอุปทาน เนื่องดวยผูผลิตเซรามิกสวนใหญตองการรูปแบบบรรจุภัณฑที่หลากหลายโดยมีราคาตอหนวยที่ไมสูงมากนักและตองการจํ านวนไมมากในแตละรูปแบบ ในขณะที่ผูผลิตบรรจุภัณฑตองการผลิตแตละแบบในจํ านวนมากเพื่อลดตนทุนการผลิตและทํ าใหมีราคาตอหนวยที่ต่ํ า

หากการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกจะมุงเนนไปสูระบบ ODM หรือ OBM นั้น หีบหอบรรจุภัณฑที่สวยงามและมีความเปนเอกลักษณยอมจะมีความสํ าคัญเพิ่มมากขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได การพัฒนาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑจึงมีความสํ าคัญไมยิ่งหยอนไปกวาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลแตอยางใด

แมวาประเทศไทยจะอุดมไปดวยวัตถุดิบเซรามิก แตหากยังไมสามารถเพิ่มศักยภาพดานเครื่องมือเครื่องจักรรวมไปถึงเตาเผาอุณหภูมิสูงซึ่งนับรวมเปนอุตสาหกรรมเกี่ยวของและสนับสนุนที่มีนัยสํ าคัญแลว การพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกใหเทียบเคียงนานาอารยประเทศยอมจะเปนไปดวยความลํ าบาก

8.2.2 เคร่ืองมือเครื่องใชในอุตสาหกรรมแกวและกระจก

เครื่องมือเครื่องจักรในการผลิตแกวและกระจกในปจจุบัน จัดอยูในประเภทเครื่องจักรอัตโนมัติและเครื่องจักรสํ าหรับอุตสาหกรรมหนัก ซึ่งประเทศไทยยังไมมีศักยภาพในการผลิตเองภายในประเทศ เครื่องมือเครื่องจักรดังกลาวอาจแบงไดเปน 2 กลุมไดแก

1) เตาหลอมแกว

เตาหลอมแกว แมจะสราง ณ ที่ทํ าการ แตวัสดุทนความรอนที่ใชในการสรางเตา ไดแก อิฐและปูนทนความรอนตางๆ สวนใหญเปนวัสดุนํ าเขาแทบทั้งสิ้น โดยนํ าเขาจาก ฝรั่งเศส เยอรมัน อเมริกา และญี่ปุน เปนตน เตาหลอมแกวนั้น มีราคาการสรางตั้งแต ไมก่ีแสนบาทสํ าหรับเตาขนาดเล็ก ไปจนถึงกวาพันลานบาทสํ าหรับเตาหลอมขนาดใหญ

2) เคร่ืองจักรผลิต

เปนเครื่องจักรอัตโนมัติขนาดใหญเชนเดียวกันเครื่องจักรที่ใชในอุตสาหกรรมหนักอื่นๆ สวนการจํ าหนายเครื่องจักรนั้น เปนการจํ าหนายมาพรอม know-how ในการผลิตแกวและกระจก โดยเครื่องจักรสํ าหรับการผลิตขนาดใหญมีราคาตั้งแต 400 – 500 ลานบาทขึ้นไป จนถึงกวาพันลานบาท ประเทศไทยยังไมสามารถผลิตเครื่อง-จักรสํ าหรับอุตสาหกรรมหนักเชนนี้ใชไดเองภายในประเทศ เครื่องจักรผลิตแกวและกระจกที่ใชอยูในปจจุบันนํ าเขาจากประเทศอุตสาหกรรมชั้นนํ า อาทิเชน ญี่ปุน เยอรมัน สหรัฐอเมริกา และ อิตาลี เปนตน ช้ินสวนเครื่องจักรดังกลาว ยังไมมีการผลิตหรือวิจัยพัฒนาหาโลหะผสมเพื่อนํ ามาผลิตในประเทศเชนกัน

Page 37: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 239

8.3 สาธารณูปโภค

8.3.1 สาธารณูปโภคในอุตสาหกรรมเซรามิก

อุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย โดยสวนใหญเปนอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมและไมจัดเปนอุตสาหกรรมหนัก เนื่องจากไมมีการใชเครื่องจักรขนาดใหญที่ตองการพลังงานมหาศาลในการเดินเครื่องจักร แมในอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดใหญจะมีการใชเตาหมุนแบบตอเนื่องขนาดใหญและเครื่องจักรอัตโนมัติขนาดใหญหลายๆ ชนิด แตเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมหนัก เชน อุตสาหกรรมยานยนตและอุตสาหกรรมเหล็กกลาแลว ยังถือไดวา เครื่องจักรสํ าหรับกระบวนการผลิตทุกขั้นตอนในอุตสาหกรรมเซรามิกไมตองการเชื้อเพลิงมากนัก โดยที่ตนทุนพลังงานอยูที่เพียงประมาณรอยละ 12.608

ปจจุบันเชื้อเพลิงหลักที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกขนาดกลางและเล็ก ไดแก กาซเหลว (Liquid Petrolium Gas: LPG) และสํ าหรับอุตสาหกรรมขนาดใหญ มีการนํ ากาซธรรมชาติ (Natural Gas: NG) มาใชรวมดวย ราคาของเชื้อเพลิงทั้งสองชนิดนั้น ขึ้นลงตามราคานํ้ ามันโลก ภาวะการขาดแคลนหรือขึ้นลงของราคาเชื้อเพลิงจึงขึ้นอยูกับกระแสเศรษฐกิจของโลก ดังนั้น แมอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยไมมีขอไดเปรียบดานพลังงานแตก็ไมเสียเปรียบประเทศอื่นๆ เทาใดนัก ยกเวนเพียงบางประเทศที่มีแหลงนํ้ ามันสํ ารองอาทิเชน อินโดนีเซีย เปนตน สํ าหรับ เช้ือเพลิงประเภทอื่นๆ นั้น มีการใชนํ้ ามันเตาในการเผาชิ้นงานบิสกิตในบางโรงงานที่มีอายุมากกวา 20 ปมาแลว นอกจากนี้ยังมีการนํ าเอาฟนในการเผาเซรามิกประเภท กระถาง อิฐกอสราง อางบัว โองมังกรและภาชนะดินเผาซึ่งพบไดทั่วไปในเขตจังหวัดราชบุรี นนทบุรี อยุธยา อางทอง และ นครราชสีมา เปนตน ซึ่งใชไมเบญจพรรณจากไรที่มีอยูทั่วบริเวณ และไมประสบปญหาขาดแคลนแตอยางใด

ตารางที่ 8.32 เปรียบเทียบตนทุนพลังงานในสี่ประเทศอาเชียน

เชื้อเพลิง ไทย ฟลิปปนส มาเลเซีย อินโดนีเซียกาซธรรมชาติ (เหรียญ สรอ. ตอเมตริกบีทียู) 3.56 - 3.22 2.11กาซเหลว (เหรียญ สรอ. ตอกิโลกรัม) 0.26 0.41 0.33 -ไฟฟา (เหรียญ สรอ. ตอกิโลวัตต-ช่ัวโมง) 0.05 0.11 0.06 0.016ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รายงานโครงการศึกษาอุตสาหกรรมเซรามิก พ.ศ. 2542 หนา 13หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท = 0.0240 เหรียญ สรอ.

สํ าหรับ นํ้ า นั้นนอกจากจะถูกนํ ามาใชในการลางดิน ยังถูกนํ ามาใชเปนสวนผสมของดินปนและนํ้ าเคลือบ แตก็ใชในปริมาณไมมาก จึงไมมีนัยมากนักในอุตสาหกรรมนี้หากเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมที่มีนํ้ าเปนองค-ประกอบสํ าคัญในกระบวนการผลิต อาทิเชน อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมอาหาร เปนตน นํ้ าที่ใชในอุตสาหกรรม

8 กระทรวงอุตสาหกรรม : ตนทุนพลังงานในอุตสาหกรรมการผลิตกระเบื้อง สุขภัณฑ เคร่ืองใชบนโตะอาหาร ของชํ ารวยและเครื่องประดับ และ ลูกถวยไฟฟา

Page 38: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

240 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

เซรามิกมีทั้งนํ้ าประปาและนํ้ าบาดาล ขึ้นอยูกับแหลงที่ต้ังโรงงาน ความสะดวกของผูประกอบการและความคุมทุน ทั้งนี้ตนทุนคาไฟฟาและสาธารณูปโภคในอุตสาหกรรมเซรามิกมีอัตราประมาณรอยละ 5.239

จึงอาจกลาวโดยสรุปไดวา สาธารณูปโภค มีความสํ าคัญในอุตสาหกรรมเซรามิกในระดับหนึ่งเทานั้น แตไมถือเปนปจจัยสํ าคัญช้ีขาดตอการพัฒนาหรือลมเลิกอุตสาหกรรมเซรามิกแตอยางใด

8.3.2 สาธารณูปโภคในอุตสาหกรรมแกวและกระจก

เนื่องจากกระบวนการผลิตแกวและกระจกใชเครื่องมือเครื่องจักรแบบอุตสาหกรรมหนัก จึงมีการใชพลังงานเปนสัดสวนที่สูงถึงประมาณรอยละ 30 ของตนทุนการผลิต โดยใชทั้งพลังงานไฟฟา กาซเหลว และกาซธรรมชาติ โดยการขึ้นลงของราคาเชื้อเพลิงประเภทไฟฟานั้น ขึ้นอยูกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศ และราคากาซขึ้นอยูกับภาวะนํ้ ามันดิบของโลก โรงงานสวนใหญใชพลังงานจากไฟฟาใหเครื่องจักรผลิต และกาซธรรมชาติในเตา-หลอม แตมีบางแหงที่ไมมีทอกาซธรรมชาติตอไปถึง มีการใชกาซเหลวแทน สวนการใชนํ้ าในโรงงานงานแกวและกระจก โดยมากใชนํ้ าบาดาลในกระบวนการผลิต และนํ้ าประปาในการอุปโภคบริโภคของแรงงาน แตนํ้ าไมเปนปจจัยการผลิตที่สํ าคัญเทาพลังงาน จึงอาจสรุปไดวาตนทุนดานพลังงานมีนัยสํ าคัญตออุตสาหกรรมแกวและกระจกเปนอยางยิ่ง ซึ่งเห็นไดจากการแขงขันจากประเทศที่มีแหลงนํ้ ามันดิบอุดมสมบูรณซึ่งไดแก อินโดนีเซีย ที่สามารถผลิตแกวและกระจกไดในราคาตํ่ ากวาของไทยและมีความไดเปรียบในตลาดโลก

8.4 บทสรุป ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวประเทศไทยเปนประเทศที่มีศักยภาพดานวัตถุดิบสํ าหรับผลิตเซรามิกและแกวในระดับสูง ในอุต-

สาหกรรมเซรามิก วัตถุดิบที่สํ าคัญในการเตรียมเนื้อดินเซรามิกไดแก ดินขาว ดินดํ า และเฟลดสปาร แหลงวัตถุดิบในประเทศไทยมีปริมาณสํ ารองของวัตถุดิบทั้ง 3 ชนิดอยางอุดมสมบูรณ สงผลใหอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยมีขอไดเปรียบหลายๆประเทศในดานวัตถุดิบ อยางไรก็ตาม เนื่องจากแหลงวัตถุดิบหลายแหลงยังอยูในเขตชุมชน แหลงทองเที่ยว และเขตปาสงวน จึงจํ าเปนจะตองมีการวางแผนใชประโยชนรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของกับผูประกอบการเหมืองแร นอกจากนั้น คุณภาพวัตถุดิบเซรามิกในปจจุบันยังไมสูงพอเนื่องจากมีความไมสมํ่ าเสมอซึ่งสงผลใหตนทุนในการปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบของผูประกอบการเซรามิกเพิ่มสูงขึ้น และจํ าเปนตองนํ าเขาวัตถุดิบ คุณภาพสูงบางชนิดเขาจากตางประเทศโดยเสียภาษีนํ าเขาในอัตราสูง การปรับปรุงแกไขกระบวนการผลิตวัตถุดิบจึงนับเปนมาตรการเรงดวน โดยจะตองเริ่มตั้งแตขั้นตอนการทํ าเหมือง การพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ จนไปถึงการเตรียมเนื้อดิน สวนวัตถุดิบในการผสมนํ้ าเคลือบตลอดจนสีและสารเคมีตางๆ โดยสวนใหญจะนํ าเขาจากตางประเทศเนื่องจากอุตสาหกรรมเคมีภัณฑของประเทศไทยยังไมมีศักยภาพและความคุมทุนเพียงพอที่จะผลิตเอง อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาถึงโครงสรางวัตถุดิบแลวพบวา เซรามิกประกอบดวยวัตถุดิบเนื้อดินประมาณรอยละ 90 โดยปริมาตร และ สีและนํ้ าเคลือบอีกรอยละ 10 โดยปริมาตร แตหากพิจารณาตามมูลคาแลว พบวามูลคาวัตถุดิบในการเคลือบสีและลงลายมีมูลคาสูงกวาวัตถุดิบเนื้อดินถึงประมาณ 10 เทาหากปริมาตรเทากัน การสงเสริมใหอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ

9 สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ : คํ านวณจากอุตสาหกรรมกระเบื้อง/สุขภัณฑ (5.43%) ของใชบนโตะอาหาร (4.71%) และ ของชํ ารวยและเครื่องประดับ (5.43%)

Page 39: บทที่ 8 ป จจัยการผล ิตในอุตสาหกรรมเซราม ิกและแก วlibrary.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.8.pdf ·

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 241

ตระหนักถึงความสํ าคัญของสีและสารเคมีที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกยอมเปนมาตรการหนึ่งที่จะชวยพัฒนาอุตสา-หกรรมเซรามิกใหยั่งยืนตอไปได

สํ าหรับอุตสาหกรรมแกวและกระจกนั้นใชวัตถุดิบ 5 ชนิดหนักไดแก ทรายแกว หินปูน โดโลไมต หินฟนมา และโซดาแอซ นอกนั้นจะเปนสารเคมีที่ใชเพิ่มคุณสมบัติพิเศษใหกับแกวและกระจก ประเทศไทยมีปริมาณสํ ารองของ ทรายแกว หินปูน โดโลไมต และหินฟนมา อยางอุดมสมบูรณ แตโซดาแอซนั้น ตองนํ าเขาจากประเทศจีนเปนหลัก สวนวัตถุดิบหมวดเคมีภัณฑ ประเทศไทยยังไมมีศักยภาพพอเพียงที่จะผลิตวัตถุดิบสวนใหญในกลุมนี้ได อยางไรก็ตาม ทรายแกวซึ่งเปนวัตถุดิบหลักที่สํ าคัญที่สุดมีแหลงวัตถุดิบหลายแหลงอยูในเขตพื้นที่ชุมชน แหลงทองเที่ยวและเขตพื้นที่ปาสงวน จึงจํ าเปนจะตองมีการวางแผนใชประโยชนจากที่ดินรวมกันระหวางผูประกอบ-การเหมืองและหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของตลอดจนการสงเสริมใหมีการนํ าเขาทรายแกวคุณภาพสูงแตราคาตํ่ ากวาของไทยเชน ทรายแกวจากประเทศกัมพูชา เปนตน

แมวาประเทศไทยจะมีศักยภาพดานวัตถุดิบอยางสูง แตยังไมมีศักยภาพดานเทคโนโลยีในการผลิตเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวใหมีประสิทธิภาพเทียบเทาระดับสากล เครื่อง-มือเครื่องใชตางๆจึงตองนํ าเขาจากตางประเทศ แตผูประกอบการสวนใหญกลับขาดศักยภาพในการออกแบบและเลือกเครื่องมือเครื่องใชตางๆใหเหมาะสมกับลักษณะและขนาดของการผลิตได ในอุตสาหกรรมเซรามิก เครื่องมือเครื่องใชที่สํ าคัญไดแก เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณตางๆที่ใชในกระบวนการแตงแร เตรียมดิน ขึ้นรูป ตกแตงและเคลือบ แมพิมพ เตาเผาและอุปกรณที่ใชกับเตาเผา และวัสดุอุปกรณในการบรรจุหีบหอ ซึ่งแมจะมีผลิตเครื่องมือเครื่องใชเหลานี้ในประเทศ แตก็ยังคุณภาพตํ่ าและยังอาศัยวัสดุจากตางประเทศเปนสวนใหญ สวนในอุตสาหกรรมแกวและกระจก ไดแก เตาหลอมซึ่งตองใชวัสดุนํ าเขาจาก ฝรั่งเศส เยอรมัน อเมริกา และญี่ปุนเปนตน และ เครื่องจักรผลิตซึ่งเปน Know-how ของญี่ปุน ไตหวัน เยอรมัน สหรัฐฯ และ อิตาลี เปนตน แมวาประเทศไทยจะมีปริมาณวัตถุ-ดิบสํ ารองอยางเพียงพอ แตหากยังขาดศักยภาพดานเครื่องมือเครื่องใชแลว การจะพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวใหไดในระดับสากลยอมเปนไปดวยความลํ าบาก

ปจจัยการผลิตที่สํ าคัญอีกประการหนึ่งไดแก สาธารณูปโภค ซึ่งนับวามีความสํ าคัญแตกตางกันระหวางอุตสาหกรรมเซรามิกกับอุตสาหกรรมแกวและกระจก โดยในอุตสาหกรรมเซรามิกนั้น สาธารณูปโภคมีความสํ าคัญในระดับหนึ่งเทานั้นแตไมถือเปนปจจัยที่มีผลช้ีขาดตอการพัฒนาอุตสาหกรรม แตในอุตสาหกรรมแกวและกระจกซึ่งเปนจัดเปนอุตสาหกรรมหนักและมีตนทุนพลังงานในอัตราสูงถึงประมาณรอยละ 30 ของตนทุนการผลิตทั้งหมด สาธารณูปโภคดานพลังงานจึงมีความสํ าคัญตอศักยภาพในการแขงขันของอุตสาหกรรมแกวและกระจกเปนอยางยิ่ง