30
งานกลุ2 ครั้งที2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประยุกตใชทางการศึกษา Flickr และ LiveJournal สมาชิกในกลุนางสาวกัญณภัทร นิธิศวราภากุล 5217650532 นายนันทนธร บรรจงปรุ 5217650591 นายเฉลิมเกียรติ กฤษณะจันทร 5217650559 นางสาวสกุณา นอยมณีวรรณ 5217650648 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา16266 -2552 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน เสนอตอ รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ และ ผศ.ดร.แมนมาศ ลีลสัตยกุล

งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

งานกลุม 2 ครั้งที่ 2 เร่ือง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประยุกตใชทางการศึกษา

Flickr และ LiveJournal

สมาชิกในกลุม

นางสาวกญัณภทัร นิธิศวราภากุล

5217650532

นายนนัทนธร บรรจงปร ุ

5217650591

นายเฉลิมเกยีรติ กฤษณะจนัทร

5217650559

นางสาวสกณุา นอยมณวีรรณ

5217650648 รายงานนี้เปนสวนหนึง่ของรายวิชา16266 -2552

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลกัสูตรและการสอน เสนอตอ

รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ และ ผศ.ดร.แมนมาศ ลีลสัตยกุล

Page 2: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

สารบญั

เนื้อหา หนา Web 2.0 ความหมายของ Web 2.0 1 การแบงระดับและลักษณะของ Web 2.0 3 แนวโนมของการนํา Web 2.0 เขามาในระบบการศึกษา 5 Flickr ความเปนมาของ Flickr 8 การใหบริการหลักของ flickr 10 บทบาทของ Flickr ท่ีมีตอการศึกษาในปจจุบัน 17 ตัวอยางเว็บ ที่นําFlickr มาใชในระบบการศึกษา 19 LiveJournal LiveJournal เกิดขึน้มาไดอยางไร? ใครเปนผูดูแลและบริหารจัดการ ? 20 นวัตกรรมและความโดดเดนของ LiveJournal เปนอยางไร? 21 คุณลักษณะของ LiveLournal เปนอยางไร? 21 LiveJournal ใหบริการใดแกผูใชงาน? 22 กลุมประชากรของ Livejournal 25ขอเสนอแนะและขอคิดเห็นสาํหรับ Web 2.0 26 บรรณานกุรม 27

-1-

Page 3: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

Web 2.0

ความหมายของ Web 2.0

Web 2.0 คือการใหความหมายของสิ่งที่เปลี่ยนไปของเทคโนโลยีเว็บไซต และการออกแบบเว็บไซต ที่มีลักษณะสงเสริมใหเกิดการแบงปนขอมูล การพัฒนาในดานแนวความคิดและการออกแบบ รวมถึงการรวมสรางขอมูลในโลกของอินเทอรเน็ต แนวคิดเหลานี้นําไปสูการพัฒนาและการปฏิวัติรูปแบบเทคโนโลยีที่นําไปสูเวบ็เซอรวสิหลายอยาง เชน บล็อก เครือขายสังคมออนไลน วิกิ บลอก คําวา "เว็บ 2.0" เริ่มเปนที่รูจักในวงกวาง หลังจากงานประชุมโอไรลลียมีเดีย เว็บ 2.0 ที่จัดขึ้นในป 2547

คําวา Web 2.0 เปนคําที่ใชเรียกลักษณะของ World Wide Webในปจจุบัน ตามลักษณะของผูใชงาน โปรแกรมเมอรและ ผูใหบริการ ซึ่งตัวของเว็บ 2.0 ไมไดกลาวถึงการพัฒนาทางดานเทคนิคแตอยางใด ทิม เบอรเนิรสลี ผูคิดคนWorld Wide Web ไดต้ังขอสังเกตวา ลักษณะทางเทคนิคของ Web 2.0 นั้นเกิดขึ้นมานานกวาการกําหนดคําวา Web 2.0 จะถูกนํามากําหนดเปนคําเรียกชื่อ

Tim O’Reilly ไดกลาวถึง Web 2.0 ไวในบทความเรื่อง “What Is Web 2.0” วา Web 2.0 เริ่มเปนที่รูจักกันมากขึ้นหลังจากการประชุม “Web 2.0 Conference” ของบริษัท O’Reilly Media ท่ีจัดขึ้นในป 2004 โดยมองคําวา Web 2.0 น้ัน เปนเพียงคํากลาวเรียกแทนลักษณะของ WWW ในปจจุบัน ตามลักษณะของผูใชงาน โปรแกรมเมอรและผูใหบริการเพื่อใหส่ือสารกันไดเขาใจมากขึ้น Tim O’Reilly ยังไดสรุปคําจํากัดความไววา Web 2.0 เปรียบเสมือนธุรกิจ ซ่ึงเว็บไซตกําลังกลายเปน platform หนึ่งที่อยูเหนือการใชงานของซอฟตแวร โดยไมยึดติดกับตัวซอฟตแวรเหมือนระบบคอมพิวเตอรที่ผานมาและมีขอมูลที่เกิดจากผูใชหลายคนเปนตัวผลักดันใหเกิดความสําเร็จของเว็บไซตอีกทางหนึ่ง ซ่ึงเว็บไซตที่ใชในงานปจจุบันมีลักษณะการสรางโดยผูใชที่อิสระและแยกจากกันภายใตซอฟตแวรเดียวกันเพื่อสนับสนุนใหเกิดการสรางสรรคระบบที่กอใหเกิดประโยชนแกองครวมมากที่สุดขึ้น นอกจากนี้ ในมุมมองของ Tim Berners-Lee ผูคิดคน WWW (World Wide Web) ท่ีใชงานกันในปจจุบันไดกลาววา ตัว Web 2.0 เองยังไมไดมีการกลาวถึงการพัฒนาทางดานเทคนิคแตอยางใด และหากตั้งขอสังเกตใหดีจะพบวา ลักษณะทางเทคนิคของ Web 2.0 นั้น เกิดขึ้นมานานกอนคําดังกลาวจะถูกนํามาใชเสียอีก

เร่ิมตนจากยุค Web 1.0 เปนการผลิตเนื้อหาตางๆ จะมาจากเจาของเว็บไซตเทานั้น ผูตองการขอมูลก็เขาไปอานจากเว็บไซตหรือคนหาผาน search engine เปนสวนใหญ ดวยเหตุน้ีเองทําใหการติดตอส่ือสารระหวางผูอานกับเจาของเว็บไซตหรือผูพัฒนาเนื้อหาเปนไปในลักษณะทางเดียว ไมสามารถโตตอบหรือแสดงความคิดเห็น

Page 4: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-2-

ได สาเหตุสวนหนึ่งมาจาก Web 1.0 ยังเปนยุคแรกๆ ที่คนสวนใหญเพิ่งเริ่มรูจักอินเทอรเน็ตทําใหการใชงานยังไมหลากหลายมากนัก ดังนั้นการใชงานสวนใหญจะเปนในลักษณะของการรับสงขาวสารผานอีเมล การพูดคุยโตตอบแบบออนไลนผานโปรแกรมตางๆ การดาวนโหลดเพลงและภาพตางๆ จากเว็บไซตที่ใหบริการ แตก็ยังมแีนวโนมการพัฒนารูปแบบบริการใหกับผูใชงานไดติดตอส่ือสารกันมากขึ้น ดังจะเห็นไดจากความพยายามที่จะสรางชุมชนออนไลนเพื่อใหเกิดการติดตอส่ือสารระหวางเจาของเว็บไซตและผูเขาชมมากขึ้น โดยจะเห็นไดจากหลายเว็บไซตเร่ิมมีการนํากระดานขาว (webboard) มาใหผูอานหรือผูเขาชมเว็บไซตไดแสดงความคิดเห็นตางๆ และแลกเปลี่ยนขอมูลซ่ึงกันและกัน แตระบบของกระดานขาวอาจจะยังไมเอ้ือในเรื่องของการเก็บขอมูลท่ีเปนประโยชนไวเพื่อใหผูใชคนอื่นสามารถกลับเขามาอานไดอีก หรือบางครั้งการจัดเก็บขอมูลยังไมมีการจัดเปนหมวดหมูอยางเปนระบบเพ่ือใหงายตอการสืบคน รวมถึงผูใชงานเปนผูอานไดเพียงฝายเดียว ยังไมสามารถเพิ่มเนื้อหาหรือโตตอบกันไดมากนัก นับไดวาเปนขอจํากัดที่พบในการใชงานเว็บไซตยุค Web 1.0 ที่สงผลใหมีพัฒนาคิดคนเว็บไซตใหอํานวยความสะดวกตอผูใชงานไดมากขึ้นจึงกลายมาเปนเว็บไซตยคุ Web 2.0 ในเวลาตอมา

เมื่อโลกเปลี่ยนแปลงสูยุค Web 2.0: การเปลี่ยนแปลงดังกลาวหลายคนมองวา Web 2.0 มีแนวโนมที่จะเติบโตอยางรวดเร็วตามเทคโนโลยีตางๆ ที่สนับสนนุใหเกิดการติดตอส่ือสารเปนไปไดมากขึน้ ประกอบกับความพยายามของกลุมผูพัฒนาเว็บไซตที่จะสรางสังคมออนไลน (online community) ใหเกิดขึ้น จึงสงผลใหเว็บไซตที่เรียกไดวาเปนเว็บไซตในยุค Web 2.0 จะแตกตางไปจากยุค Web 1.0 มาก โดยจะเนนสนับสนนุใหมีการแบงปนความรู ความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนประสบการณซึ่งกนัและกนัมากกวาจะเปนเพียงการเสนอเนื้อหาผานเว็บไซต ซ่ึงเจาของเว็บไซตในปจจุบนัอาจเปนเพียงใครก็ไดที่ตองการเขามาเปดเว็บไซตไวแลวเชิญชวนใหคนทัว่ไปเขามามีสวนรวมในการสรางเนื้อหาและนําเสนอขอมูลผานเว็บไซตของตนเอง รวมถึงการเปนศูนยกลางในการแลกเปลีย่นไฟลในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนรูปภาพ วิดีโอ เพลง ผานเครือขายออนไลนตลอด 24 ช่ัวโมง และเพื่อใหขาใจและเห็นภาพการเปลี่ยนแปลงจากยุค Web 1.0 ไปเปนยุค Web 2.0 ไดชัดเจนมากขึ้น จึงขอนําขอมลูสวนหนึ่งที่ Tim O’Reilly ไดยกตัวอยางเว็บไซตเพื่อเปรียบเทียบใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของเว็บไซตในยุค Web 1.0 ไปเปน Web 2.0 ซ่ึงสามารถอธิบายไดคอนขางชัดเจน ดังรายละเอียดตอไปนี ้

Page 5: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-3-

Web 1.0 Web 2.0 DoubleClick --> Google AdSense

Ofoto --> Flickr Akamai --> BitTorrent

mp3.com --> Napster Britannica Online --> Wikipedia personal websites --> blogging

evite --> upcoming.org and EVDB domain name speculation --> search engine optimization

page views --> cost per click screen scraping --> web services

publishing --> participation content management systems --> wikis

directories (taxonomy) --> tagging ("folksonomy") stickiness --> syndication

การแบงระดับและลกัษณะของ Web 2.0 Tim O’Reilly ไดแบงระดับของ Web 2.0 ออกเปน 4 ระดับดวยกนัคือ

• ระดับ 3 เปนระดับการใชงานจากผูทั่วไปในเครือขายอินเทอรเน็ต ซ่ึงเปนลักษณะของการสื่อสารระหวางมนุษยดวยกันภายใตเว็บไซตเดียวกัน เชน Wikipedia, eBay, Skype, AdSense เปนตน

• ระดับ 2 เปนระดับการจัดการทั่วไป ซึ่งจริงๆ แลวเปนระดับที่สามารถใชงานไดโดยไมจําเปนตองผานอินเทอรเน็ต แตเมื่อนํามาใชงานออนไลนนั้นกลับมีประโยชนมากขึ้นจากการเชื่อมโยงผูใชงานเขาดวยกัน เชนเว็บไซต Flickr.com ซึ่งถามองการใชงานโดยทั่วไปก็คือระบบการจัดการไฟลที่พัฒนาขึ้นเพื่อเปนคลังเก็บภาพดิจิทัลที่ใชงานอยูทั่วไปนั่นเอง แตเม่ือมาอยูในรูปของเว็บไซตท่ีสามารถ upload ภาพที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวางภาพ และระหวางผูใชงานไดแลวยิ่งไดรับประโยชนมากขึ้นทีเดียว

Page 6: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-4-

• ระดับ 1 เปนระดับการจัดการทั่วไปอีกกลุมหนึ่งที่สามารถใชงานไดโดยไมจําเปนตองผานอินเทอรเน็ต แตจะมีความสามารถเพิ่มขึ้นเมื่อนํามาใชงานออนไลน เชน Writely (ปจจุบันคือ Google Docs และ Spreadsheets) และ iTunes

• ระดับ 0 เปนระดับที่สามารถใชงานไดดีทั้งออนไลนและออฟไลน เชน MapQuest, Yahoo! Local และ Google Maps

นอกจากนี้ Tim O’Reilly ยังไดกลาวถึงบาง application ท่ีใชในการติดตอส่ือสารและไมไดจัดอยูในลักษณะของ Web 2.0 เชน อีเมล Messenger เปนตน สวนภาพดานลางจะเปน Mind Map ที่ไดจากที่ประชุม Web 2.0 Conference ภายใตช่ือ “Web 2.0 Meme Map” ที่เขียนภาพออกมาคอนขางชัดเจนใหเห็นถึงไอเดียหลากหลายที่แตกออกไปจากการนําหลักการของ Web 2.0 ไปใชในการพัฒนาเว็บไซตในรูปแบบตางๆ มากมาย

ภาพแสดง Web 2.0 Meme Map

Page 7: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-5-

สําหรับลักษณะเดนของเว็บไซตท่ีเรียกไดวาเขายุค Web 2.0 แลวนัน้ สามารถสรุปลักษณะสําคัญไดดังตอไปนี้

• เปนเว็บไซตที่เนนบริการที่หลากหลายรูปแบบและตรงตามความตองการของผูใชงานมากขึ้น โดยมีการโตตอบระหวางเจาของเว็บไซตและผูใชงาน ซ่ึงผูใชงานหรือสมาชิกที่เปนบุคคลทั่วไปสามารถเขามามีสวนในการจัดการและแบงปนเนื้อหาดังกลาวใหกับกลุมคนในสังคมออนไลนสงผลใหเกิดการติดตอส่ือสารกันและมีกิจกรรมรวมกัน

• เปนเว็บไซตที่พัฒนาใหผูใชสามารถสรางเนื้อหาไดอยางรวดเร็ว โดยผูใชไมตองมีความรูในเชิงเทคนิค รวมถึงการแบงปนขอมูลไปยังเครือขายออนไลนท่ีงายขึ้น ดังจะเห็นไดจากการใชงานผาน Blog และเว็บไซตที่บริการให upload ภาพตางๆ ในปจจุบัน

• เปนเว็บไซตท่ีเนนหนักในดานขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนมากกวาแตเดิมท่ีเนนในดานเทคนิคเปนสวนใหญ

• เนื้อหาสวนใหญจะมีการจัดเรียง จัดกลุมเขาหมวดหมูและเปนระบบมากกวาเดิม

แนวโนมของการนํา Web 2.0 เขามาในระบบการศกึษา

ปจจุบันรูปแบบการสื่อสารและการเรียนรู เปลี่ยนไปจากการเรียนรูเพียงในหองเรียนเปลี่ยนเปนการเรียนรูนอกหองเรียนเรียนรูจากสิ่งใกลตัวเปนสิ่งแวดลอมไกลตัวและกลายเปนการเรียนรูตลอดชีวิต นอกจากนั้น การเรียนรูจากการฟงการบรรยายจากผูสอนเพียงอยางเดียว ก็เปลี่ยนเปนการเสนอความคิดเห็นระหวางผูสอนและผูเรียน ซึ่งวิวัฒนาการและเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีสวนสําคัญอยางยิ่งตอระบบการศึกษาทั้งนี้เนื่องจากความตองการในการเรียนรูของผูเรียนมีเพ่ิมมากขึ้นและแตกตางกัน รวมถึงการเตรียมตัวเพื่อแสวงหาขอมูลเพ่ือเปนประโยชนตออาชีพและ ความสนใจสวนบุคคล ซึ่งปจจุบันมีนักโปรแกรมเมอรที่มีความสามารถเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหวิวัฒนาการดานการพัฒนาเครื่องมือการสื่อสารเปนไปอยางรวดเร็ว

นักการศึกษาไดนําเทคโนโลยี Web 2.0 ไดเขามาใชเพ่ือประโยชนทางดานการศึกษาทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการทั้งนี้เพ่ือใชเทคโนโลยีมาสรางสื่อท่ีทันสมัยสําหรับการเรียนรู เพื่อรองรับการวิวัฒนาการสื่อตางๆในรูปแบบ โดย Steve Hargadon ไดกลาวถึงแนวโนมที่นาสนใจของโอกาสที่นาจะนํา Web 2.0 เขามาสรางสื่อการเรียนรูในไวอนาคตดังนี้

Page 8: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-6-

1. สรางโอกาสใหเกิดการปฏิวัติส่ือส่ิงพิมพรูปแบบใหม จากอดีตที่ผานมาระบบการสื่อสารในอินเตอรเน็ตทางเว็บไซด เปนการสื่อสารทางเดียว ที่ปนเพียงผูอานและรับรูขอมูลขาวสารตางๆ ตามหนาเว็บเทานั้น แตในยคุของ Web 2.0 น้ี การสื่อสารทางเว็บไดเปลี่ยนไปเปนการส่ือสารสองทาง การสรางเนื้อหาบนเว็บนัน้เกิดจากการไดรับการสนันสนุนและชวยเหลือกนัของผูใชเพ่ือทําใหขอมูลที่มีอยูบนเว็บนั้นมีความชัดเจนและถกูตองมากที่สุด เว็บไซดตางๆ เปดโอกาสใหคนทั่วไปสามารถที่จะสรางเนื้อหาบนหนาเว็บไดอยางงายดาย 2. เปดโอกาสใหมขีอมูลขาวสารหรือเนื้อหาตางเพิ่มขึน้อยางมหาศาลและรวดเร็ว การปฎิวัติรูปแบบของการสรางเนื้อหาบนหนาเว็บโดยใหผูใชมีสวนรวมและเขาถึงมากขึ้นนี้ สงผลใหปริมาณเนื้อหาหรือขอมูลบนหนาเว็บเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผูใชไดเขาไปสรางเนื้อหาบนหนาเว็บทุกวัน จะเห็นไดจากจํานวนของเว็บบล็อกที่เพิ่มมากขึ้นกวา 100,000 บล็อกในแตละวัน ซ่ึงหมายถึงผูใชหรือผูคนหาขอมูลจากเว็บไซดมีแหลงขอมูลเพิ่มมากขึ้นแตในขณะเดียวกันความหลากหลากหลายทําใหผูคนหาตองใชเวลาคอนขางมากในการพิจารณาและกลั่นกรองขอมูลที่จะนําไปใชใหรอบคอบ 3. เกิดการมีสวมรวมโดยเฉพาะอยางยิ่งทางการคา Steve Hargadon ได ยกตัวอยางของการซื้อ-ขายสินคาจากเว็บ http://www.amazon.com ซึ่งเปนเว็บที่ขายหนังสือผานทางระบบออนไลน โดยในเว็บจะนาํเสนอหนงัสือแตละเลมและเปดโอกาสใหบุคคลทั่วไปที่อานหนังสือเลมนั้นๆ สามารถเขาไปมีสวนรวมในการแสดงขอคิดเห็นและบทวิจารณหนังสือ อีกทั้งยังสามารถจัดลําดับความนาสนใจของเนื้อหาหนังสือหรือความนาสนใจเพื่อซ้ือไวเปนเจาของไดดวย และผูสนใจอ่ืนๆที่เขามาเลือกดูเว็บหนงัสือเลมนี้ก็จะสามารถอานขอคิดเห็นและบทวิจารณของหนังสือเลมนั้นได 4. การผลิตสินคามาตอบสนองตรงตอความคิดเหน็และความตองการของผูบริโภค ในปจจุบัน บริษทัจาํนวนมากที่ผลิตสินคาตามความคิดเห็นของลูกคาโดย มีการจัดทาํการสาํรวจความความคิดเห็นของลูกคาดานคุณสมบัติและคุณภาพสินคาเพ่ือนําไปปรับปรุงการผลิตสินคาใหตรงตามความตองการของกลุมลูกคามากยิ่งขึน้

Page 9: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-7-

5. ยุคแหงความรวมมือหรอืปฏิสัมพนัธทางสังคมบนเวบ็ไซต อาจกลาวไดวา เราไมสามารถที่จะอยูบนโลกนีไ้ดโดยลําพังในยุคปจจุบัน จึงตองมีการเรียนรู การแลกเปลี่ยนขอมูลของแตละบุคคล ซ่ึงเปนลักษณะที่ตองชวยเหลือและใหความรวมมอืกัน เนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้ง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม อีกทั้งการติดตอส่ือสารที่ไรพรมแดนทําใหการรวมมือกันของคนทุกมุมโลกเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งเพ่ือใหปรับตัวเขากับทุกสรรพสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไป 6. การเกิดนวัตกรรมใหมๆ เพิ่มมากขึน้ การติดตอส่ือสารที่รวดเร็วกอใหเกิดการประสานกนัระหวางความรูเฉพาะทีน่ําเสนอมาจากแหลงขอมูลหลากหลายทัว่โลกกับการใหความรวมมอืประสานงานกันของแตละแหลงขอมูล ซ่ึงนําไปสูการผลิตคิดคนนวัตกรรมขึ้นเปนจาํนวนมาก 7. เกิดความเทาเทียมกนัทางการศึกษา ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยกีอใหเกดิการเรียนรูที่เทาเทียมกัน โอกาสทางการศึกษาที่เปดใหทกุคนเรียนรูดวยเนื้อหาเดียวกนัทั่วโลกแมจะอยูตางที่ตางเวลา ซ่ึงทําใหชองวางหรือความเหลื่อมลํ้าทางดานการศึกษาลดลง 8. การเรียนรูจากสิ่งที่มีอยูจริงในสังคม การเรียนรูในปจจุบันควรเปลี่ยนไปในแงของการเรียนรูดวยการแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนมมุมองและมองวาทกุความคิดเห็นมีความสาํคัญตอการเรียนรูทั้งสิ้น กระบวนการเรียนรูควรจะเปลี่ยนจาก “การเรียนรูเกี่ยวกับเร่ืองอะไร” เปน “การเรียนรูเพื่อใหเปนอยางไร” ซ่ึงเทากับวากระบวนการคิดที่ผานจากสมองของทุกคนจะถูกนาํมาแลกเปลี่ยนและถายทอดซึ่งกันและกันอยางรวดเร็วและนําไปใชใหเกิดประโยชนไดรวดเร็วขึน้ 9. โอกาสและความสะดวกในการเขาถึงขอมูลตางๆ งายขึน้ วิวฒันาการดานเทคโนโลยท่ีีเปนไปอยางรวดเร็วทําใหการเขาถึงขอมลูเปนไปอยางงายดาย เพียงแตผูใชเชื่อมตอระบบอินเตอรเน็ตก็สามารถคนหาขอมูลที่สนใจทั้งเนื้อหาทั่วไปและเนื้อหาเชิงลึกและเมื่อเกิดการเรียนรูมากขึ้นจะกลายเปนความสามารถเฉพาะดาน ก็สามารถแสดงความเห็นและแบงปนความรูทีไ่ดรับคืนกลับสูผูอ่ืนดวยระบบนีไ้ดเชนกัน

Page 10: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-8- 10. เครือขายสังคมทางอินเทอรเน็ต จากการที่เว็บไซดตางๆ เปดโอกาสใหผูใชท่ัวไปสามารถที่เขาไปมีสวนรวมในการสรางเนื้อหาบนหนาเว็บ เชน เว็บ Blogs และ Wikis ทําใหเกิดการนําเสนอขอมูลกันอยางเสรี โดยไดมาจากประสบการณและความรูเฉพาะบุคคล ซึ่งบางครั้งขอมูลที่นาํเสนอน้ันอาจมีขอบกพรอง ผูใชอ่ืนๆสามารถแกไขขอมูลสวนที่ผิดพลาดได ดังนั้นการติดตอในลักษณะนี้ อาจเรียกไดวาเปน การปฏิสัมพันธกนัผานทางระบบเครือขาย และเปนการเรียนรูทางสังคมผานอินเทอรเน็ต เมื่อเขาสูยุคเทคโนโลยี Web 2.0 ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอสังคมและวิถีการดําเนินชีวิตของผูคนมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง นักการศึกษา ที่ตองใหความสนใจในการนําเทคโนโลยี Web 2.0 มาใชเพื่อใหเกิดการพัฒนาการศึกษาและเตรียมพรอมสําหรับผูเรียนใหรับรูถึงการเปลี่ยนแปลงการแสวงหาขอมูลในโลกยุคปจจุบัน และดวยการพัฒนาที่ตอเนื่องและรวดเร็วจึงทําใหเกิด เว็บตางๆที่สรางขึ้นจาก Web 2.0 ซึ่งในที่นี้ จึงขอนําเสนอตัวอยาง 2 แบบ คือ Flickr และ LiveJournal

Flickr

Flickr เปนเว็บไซตที่ใหบริการพื้นที่ในการจัดเก็บภาพถายสวนตัวและวีดีโอเพื่อแบงปนหรือเผยแพรใหผูอื่นทั้งบุคคลในครอบครัว เพื่อนฝูงหรือสาธารณชนไดรับชม ซ่ึงไดรับความนิยมและใชกันอยางแพรหลายในปจจุบนั อีกทั้งเมื่อเดือนมิถุนายน ป 2009 ท่ีผานมานี้ Flickr ไดเพิ่มพ้ืนที่ใหสมาชิกสามารถจัดเก็บรูปภาพไดถึง 3.6 พันลานภาพถาย ความเปนมาของ Flickr

Flickr ไดรับการพัฒนาโดย บริษัท Ludicorp เริ่มเปดตัวในเดือนกุมภาพันธ 2004 ซ่ึงในชวงเริ่มตน Flickr เนนที่ หองสนทนา เพื่อใหมีผูใชบริการจํานวนมาก เรียก FlickrLive ซ่ึงมีความสามารถในการแลกเปลี่ยนภาพถาย แบบเรียลไทม นอกจากนั้นยังสามารถรวบรวมหรือสะสมภาพที่พบในเว็บตางๆไดนอกเหนือจากรูปภาพของผูใชเอง การวิวัฒนาการที่ตอเนื่อง เกี่ยวกับการอัปโหลดและการเก็บขอมูลหลังการใชงานสําหรับผูใชแตละรายและหองสนทนาถูกบันทึกในเว็บไซต

บริษทันี้เปนบริษทัทีท่ําเกมออนไลน (Game Neverending) ที่เปนมช่ืีอเสียงมากอนใน Version แรกของ Flickr นั้นทางบริษทัฯ จะมุงเนนไปที่หองสนทนาซึ่งเรียกวา FlickrLive ที่ผูใชงานสามารถแชรรูปภาพใหกับผูอ่ืนใน

Page 11: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-9-

เวลาเดียวกัน นอกจากนี้ Flickr ยังเนนการบริการไปทีก่ารจัดเก็บรวบรวมรูปภาพตาง ๆ ที่คนพบมาจากเว็บไซตทั่วๆ ไป อยางเปนหมวดหมูมากกวาการนาํภาพถายมาจากผูใชงานเอง ตอมาก็มีการพฒันาใหสามารถ upload ภาพ ตกแตงพื้นหลงั ใหเปนแบบฉบับเฉพาะตัวผูใชงานได และหองสนทนาก็ถูกยกเลิกไป ในที่สุดนี้ดวยกระแสความนยิม Flickr ของผูใชบริการจึงทําใหบริษทัลมเลิกการผลิตเกมสออนไลน ในเดือนมีนาคมของป 2004 Yahoo ไดเขามาครอบครอง บริษัทLudicorp และ Flickr จึงมีผลใหต้ังแต วันที่ 28 มิถุนายน 2005 เปนตนมา Flickr ตองเปลี่ยนจากการใชเซิรฟเวอรในประเทศแคนาดามาเปนเซิรฟเวอรในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2006 Flickr ไดปรับปรุงและพัฒนาการบริการ ดวยการปรับเปล่ียน design และโครงสรางตางๆ จาก beta ไปสู gamma ซ่ึงในระบบของเว็บไซต โดยทัว่ไปนั้น คําวา gamma มักจะไมคอยถูกนํามาใชในการพัฒนาระบบซอรฟแวร จึงแสดงใหเห็นวาการบริการของ Flickr นั้นจะถูกทดสอบโดยผูใชงานและจะนําไปสูการพัฒนาปรับปรุงอยางสม่ําเสมอ โดยอีกนัยหนึ่งก็คือ จะมีรูปภาพและการแสดงรูปภาพที่มีลักษณะเฉพาะหรือมีความโดดเดนมากยิ่งขึน้ ทั้งนี้เนื่องมาจากการตรวจสอบของ gamma เพ่ือที่จะตอบสนองตอทุกๆ ความมุงหมายและเจตนารมยเพื่อใหการบริการเปนไปอยางมัน่คงและถาวร ในเดือนธันวาคม ป 2006 Flickr ไดเพิ่มปริมาณการ upload รูปภาพใหแกผูใชงานแบบ Free Accounts ขึ้นซึ่งจากเดิม upload ไดเพียง 20 MB เปน 100 MB ตอเดือน และเพิ่มใหสมาชิกแบบ Pro Accounts ซึ่งจากเดิม upload รูปภาพได 2GB ตอเดือนเปน upload ไดแบบไมจํากัดปริมาณ ในเดือนมกราคม ป 2007 Flickr ประกาศใหสมาชกิประเภท “Old Skool” หรือผูที่ใชงาน webmail ของ yahoo สามารถ นํา yahoo ID มาใชงานกบั Flickr ไดทนัทีโดยไมตองสมัครสมาชิกใหม จึงทํามีปริมาณผูใชงาน Flickr ไดเพิ่มจํานวนขึน้อยางรวดเร็ว ต้ังแตวนัที่ 15 มีนาคม เปนตนมา วันที่ 9 เมษายน 2008 Flickr เริ่มเปดบริการใหสมาชิกประเภทที่จายคาบริการ สามารถ upload video ได แตจํากัดเวลาไวที่ 90 นาที ขนาด 150 MB ในวนัที่ 2 มีนาคม 2009 Flickr ไดเพ่ิมขีดการบริการของFlickr ใหกับการ upload ในสวนวีดีโอความละเอียดสูง เชื่อวาจะมีการตัง้กลุม Flickr HD Video ขึ้นมาเพื่อรวบรวมภาพวีดีโอเอชดีเขาดวยกนั

ดังไดกลาวมาแลววา Flickr ในตอนแรกนั้นทางบริษัทจะเนนไปที่หองแชตที่สามารถแชรรูปใหกับผูอ่ืน แตตอมาไดรับความนิยมอยางสูง จนกลายเปนเว็บไซตเพื่อการแชรรูปที่มีคนใชอยางมาก จนทําให Yahoo หันมาสนใจธุรกิจน้ีและนําเอากิจการของ Flickr มาปรับใหมีขนาดใหญและรองรับสมาชิกของYahoo เองดวย ผูใชงาน

Page 12: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-10-

Webmail ของ Yahoo ก็สามารถใช Username และ Password ที่ใชกบัเมลมาใชกับ Flickr ไดทนัทีโดยไมตองสมัครใหม ทําใหผูใชงาน Flickr ไดเพ่ิมจํานวนอยางรวดเร็ว การใชงานของ Flickr นั้นทําไดอยางงายดาย โดยการอัพโหลดรูปนั้นทําไดโดยเลือกรูปในคอลัม นอกจากนี้ผูใชยังสามารถโหลดโปรแกรม Upload ท่ีเปน Application สําหรับการใชงานบน Windows เพ่ือชวยในการอัพโหลดภาพใหงายมากขึ้น เหมาะกับการอัพโหลดคราวละมากๆ ปจจุบันนี้ Flickr รองรับ การสงรูปจากโทรศัพทมือถือและดูรูปบน Flickr ผานมือถือไดดวย Flickr ใหความสะดวกสบายกับเราในเรื่องของรูปภาพ สามารถติดตอและแชรเรื่องราวทีน่าประทบัใจ และมีความสามารถในจัดเก็บรูปภาพมีมากขึ้น ตัวอยางเชน

1. Flickr มีคุณลักษณะที่คลายกับเวปอืน่ๆตรงที่ถายโอนขอมูลรูปภาพได 2. สามารถจัดเก็บรูปภาพตามหมวดหมู ดวยแผนที่ทีท่นัสมัย เพิ่มเติมใหทราบถึงแหลงที่มา 3. แชรรูปภาพกับเพื่อนหรือครอบครัว หรืออาจแชรขอมลูสูที่สาธารณะได 4. ใหสิทธิในการจัดการมากขึ้น สามารถอนุญาตใหเพื่อน หรือคนในครอบครัวของเจาของหนาเว็บเขามาจัดตกแตงได ตามที่ใหสิทธ ิเขามารวม(ภายใตการควบคุมของเจาของหนา web)

5 flickr มีบลอกอีกดวย และสามารถตกแตงรูปภาพได 6 ถายโอนภาพของเราจากที่อ่ืน เขาอัลบัม flickr เพื่อรวบรวมไวที่เดียวเสียเลย ก็ยังไดอีก

การใหบรกิารหลักของ flickr เนื่องจาก Flickr – เปนเว็บไซตที่ใหบริการในการจัดการภาพถาย ใหพ้ืนที่จัดเก็บและแชรภาพถายที่ดีสุดในปจจุบัน ซ่ึงการใหบริการหลกัของ flickr มี 2 ประการคือ ใหบริการในเรื่องของการจัดเก็บรูปภาพ วีดีโอ ซ่ึงผูใชสามารถติดตอและแชรเรื่องราวทีน่าประทบัใจที่เกิดขึ้นในแตละวนัไปยังเพ่ือนสมาชิกดวยกนัหรือสูสาธารณะ และอีกประการหนึง่ก็คือ ใหพ้ืนที่ในการจัดเก็บรูปภาพมากขึน้และสะดวกรวดเร็วกวา blog ทั่วๆ ไป นอกจากนี้ผูใชยังสามารถถายโอนภาพจากทีอ่ื่น/ หรือแหลงขอมูลอ่ืนเขามาจัดเก็บไวใน flickr อยางเปนระบบ นอกจากนี้ Flickr ยังมีบริการ Flickr Blog อีกดวย ซ่ึงเสนหหรือจุดเดนของFlickr คือ การบริการใหผูใชไดมีพื้นที่ในการจัดเก็บ จัดการภาพถาย รวมไปถึงวิดีโอ เพ่ือบันทกึเปนความทรงจําและแบงปนใหผูอ่ืนไดรับชม

Flickr เปนสุดยอดแหงเว็บท่ีมีระบบการจัดการกับรูปภาพที่ดีเยี่ยมและมีการเผยแพรขอมูลใหผูใชไดทัว่โลก ซ่ึงคุณสมบัติที่นาสนใจของ Flickr มีดังนี้

Page 13: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-11-

1. การอัปโหลด มีทั้งหมด 5 วิธีในการอัปโหลดรูปภาพและ VDO

• Flickr Upload (available for both PC and Mac) • iPhoto, Aperture, or Windows XP plugins • our upload web page • email • via various free third-party desktop programs

การอปัโหลด(Upload)

เมื่ออัปโหลดแลวผูใชสามารถแกไขหรือเปล่ียนแปลงสีของรูปภาพและตกแตงภาพเพิ่มเติมได ดังตัวอยาง

การแกไข(Edit)

Page 14: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-12-

2. ระบบการจัดการ สามารถจัดเก็บรูปภาพไดเปนหมวดหมู กลุม ตามความตองการของผูใช

กลุม(sets) เปนการจัดกลุมรูปภาพและ VDO ซ่ึงผูใชกําหนดรูปแบบไว ตัวอยางเชน การเดินทางไปฮาวาย หรือเก็บรูปภาพ แมวที่บานทุกอิริยาบท เปนตน

จัดเก็บรูปภาพเปนกลุม (Set)

การจัดหมวดหมู (Collections) เปนหมวดหมูท่ีแยกมาจากกลุม โดยเราสามารถแยกออกมาไดวาเลือกเฉพาะหมวดคน หมวดสถานที่ หมวดอาหาร เปนตน

จัดเกบ็รูปภาพเปนหมวดหมู (Collection)

Page 15: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-13-

การจัดการ(Organize) เปนการนําทั้งกลุมและหมวดหมูมาจัดใหเปนระบบ ซึ่งขึ้นอยูกับผูใชจะเลือกตามความตองการและความสะดวกในการจัดเก็บและงายตอการคนหา

การจัดการ(Organize)

3. การแบงปนขอมูล สามารถกําหนดจํานวนผูรวมแบงปนขอมูลเปนลักษณะแบบกลุมหรือเปนสวนบุคคลได

คนบางกลุมอาจมีความสนใจในสิ่งเดียวกัน มีรูปภาพในสถานการณแตกตางกัน ดังนั้นจึงเปนเร่ืองที่งายดายในการแลกเปลี่ยนรูปภาพ วีดีโอ ขอมูลระหวางกันพรอมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อใหการเก็บงานที่สะสมอยูเพ่ิมจํานวนและ มีความสมบรูณมากยิ่งขึ้น

การแบงปนขอมูลลักษณะแบบกลุม( Group Sharing)

Page 16: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-14-

ความเปนสวนบุคคล (Privacy) มักกําหนดไวบนเว็บท่ัวไป แตสําหรับ Flickr แลวเปนเร่ืองที่งายมากทีจ่ะกําหนดการแบงปนรูปภาพและวีดีโอสําหรับบุคคลอื่น โดยผูใชสามารถกําหนด

• ระดับความเปนสวนบุคคล ที่สามารถกาํหนดวาใครที่สามารถเหน็ภาพได • การใชใบอนญุาตการเขาใช ที่ผูใชสามารถปองกันเรื่องลิขสิทธิไ์ด • การกําหนดชนิดของเนื้อความ สามารถปองกันการแกไขเปลี่ยนแปลงรูปภาพ วีดีโอและภาพ

อ่ืนๆๆได • ระดับความปลอดภัย สามารถกําหนดเนื้อความที่สามารถใหเขาไปดไูดอยางมขีอบเขตจํากัด

การแบงปนขอมูลลักษณะแบบสวนบุคคล (Privacy)

4. แผนที่ สามารถแสดงสถานที่ตั้งของผูใชและรวมถึงสถานที่ใกลเคียงได

Flickr สามารถสรางและแสดงภาพ วีดีโอ จากสถานที่หรือตําแหนงที่คนหาได ดังตัวอยาง

แผนที่ สามารถแสดงสถานที่ตัง้และรูปภาพ

Page 17: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-15-

5. การคิดเชิงสรางสรรค สามารถทํา กรอบที่สวยงาม การดที่นาสนใจได การตกแตงรูปภาพและการทําปฎิทิน เปนตน

Blurb Photo Books

ImageKind Prints

MOO Cards

QOOP Photo Books and Calendars

Page 18: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-16-

Tiny Prints: Custom Photo Holiday Cards

6. การจํากัดเฉพาะคนพิเศษ สามารถอัปเดทขอมูลจากคนในครอบครัวและเพื่อนสนิทได

เพื่อนสนทิ บคุคลในครอบครวัและเพือ่นที่ติดตอสม่ําเสมอ

เมื่อมีการติดตอกับบุคคลอื่น ผูใชสามารถเลือกกลุมใหผูท่ีติดตออยูในกลุมเพ่ือน กลุมครอบครัวหรือทั้งสองเลยก็ได ดังตัวอยางดานลาง

การเพิ่มรายชื่อผูติดตอ การเลือกจัดกลุมผูติดตอ

การเลือกจัดกลุมผูติดตอเฉพาะคนพิเศษ

Page 19: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-17-

บทบาทของ Flickr ที่มตีอการศกึษาในปจจุบัน เทคโนโลยี 2.0 อยาง Flickr เขามามีบทบาทสาํคญัตอการศึกษาอยางไร? บทบาทของ Flickr ที่มีตอการศึกษาในปจจุบัน คือ ถือเปน media sharing ---เว็บไซตท่ีเปนเสมือนศูนยรวมหรือแหลงรวมในการแบงปนหรือแชรรูปภาพ ใหกับนักเรียน นักศึกษาและนักการศึกษาไดคนควาหารูปภาพไปใชในการนําเสนอ เปนสื่อในการเรียนรู หรือในรายวิชาตางๆ ที่เรียน รูปภาพที่ถูกนํามา upload ไวเปน จํานวนมากบน Flickr นั้นจะถูกสรางใหมีการอนุญาตใหใชกันไดโดยทั่วไป, ถูกสรางขึ้นมาอยางเฉพาะเจาะจงเพื่อความเหมาะสมตอการนําไปใชในการศึกษา และการ tag รูปภาพ สามารถทําไดงายขึ้นเพื่อที่จะคนหารูปภาพใหตรงกับเนื้อหา หัวขอหรือหมวดหมูที่ตองการ ในกลุมของนักเรียนนักศึกษาเองยังสามารถสราง Flies ภาพดิจิตอลของตนเอง และเผยแพรภาพเหลาไปสูผูอื่นไดอยางกวางขวาง เมื่อพิจารณาดูแลว Flickr ถือเปน Blog ชนิดหนึ่ง ที่มี Function ใหผูคนเขามา comment หรือสะทอนความคิดเห็นได นอกจากนี้ Function ที่คนทั่วไปไมคอยทราบนักเกี่ยวกับ Flickr คือ ผูใชงาน Flickr สามารถเพิ่มคําบรรยายหรือคําอธิบายตาง ๆ ลงบนภาพได ซ่ึงนับเปนอีกเคร่ืองมือหนึ่งประกอบการเรียนรูทีมีศักยภาพ ดังที่ Beth Harris ผูอํานวยการศูนยการเรียนรูผานระบบทางไกลของสถาบันการเรียนรูเทคโนโลยีแฟชั่นที่มหาวิทยาลัยแหงรัฐนิวยอรก (State University of New York) ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดนําการใชงานใน Function นี้ ไปใชกับนักศึกษาของตนเพื่อเปดโอกาสใหผูเรียนและผูสอนไดอธิบายประกอบภาพและอภิปราย พูดคุย ในแตละเร่ืองราวหรือซีร่ียของภาพวาดในสวนของรายวิชาประศาสตรศิลปะ ดังตัวอยาง

Page 20: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-18-

ภาพตัวอยาง คําอธบิายประกอบภาพและอภปิราย พูดคุยของภาพบน Flickr

นอกจากนี้ หากผูใชเขาไปชมตามเว็บไซดตางๆ จะพบวา Flickr ไดถูกนํามาใชประโยชนในการแบงปนขอมูลมากมาย ในเว็บสาธารณะ โดยเฉพาะอยาง ขอมูลที่เปนประโยชนทางการศึกษา วิชาสังคมศึกษาและ วิทยาศาสตร ที่ตองอาศัยรูปภาพเพื่อชวยทาํความเขาใจ ทั้งนี้เนื่องจากในวิชาสังคมศึกษาจะเกี่ยวของกับประชากร ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ภูมิศาสตร ของทั้งโลกใบนีซ่ึ้งมีทั้งความเหมือนและแตกตางกัน ดังนั้นการเห็นรูปภาพจะชวยใหผูเรียนเขาใจไดอยางรวดเร็วกวาการอานจากตัวอักษรเพียงอยางเดียว ดังนั้น เพื่อใหเขาใจถึงการนํา Flickr มาใชในระบบการศึกษา จึงใครขอ ยกตัวอยางเว็บตางๆ ดังนี้

Page 21: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-19-

ตัวอยางเวบ็ ที่นําFlickr มาใชในระบบการศึกษา

เว็บ http://www.flickr.com/photos/social_geographic/ เปนตัวอยางหนึ่งที่ไดนํา Flickr มาใชในระบบการศึกษา โดยไดรวบรวมและแบงปนความรูดาน สังคมและภูมิศาสตรโลก หากเขาไปศึกษาจะพบวารูปภาพที่นําเสนอสามารถสื่อไดสอดคลองกับขอความที่บรรยายไดเปนอยางดี บางรูปภาพเปนภาพเด็กที่ผอมโซและสวมเสื้อผาที่ขาดรุงริ่ง สายตาทีท่อแทและไรจุดหมายและเมื่ออานบทความใตภาพจะแสดงถึงที่มาของสงครามและผลกระทบที่เกิดกับประชาชน โดยเฉพาะเด็กกับสตรีที่ไมสามารถกําหนดชะตาชีวติของตนเองแตอยางใด พรอมกันนั้นผูอานยังสามารถแสดงความเหน็ในการตอตานการเกิดสงครามได

เว็บ http://www.flickr.com/photos/tropicaliving/2437805955/ เปนตัวอยางที่เปนเสือ Leopard - Panthera pardus โดยจัดเนื้อหาประเภทนีอ้ยูในวชิาวทิยาศาสตร ซ่ึงถาใชเมาทลากไปบนรูปเสือ จะปรากฎกรอบส่ีเหลี่ยมและมี comments แสดงใหเห็นดวย สวนใตภาพจะบรรยายเกี่ยวกับคุณลกัษณะและการใชชีวิตของเสืออยางนาสนใจ ซ่ึงในการจัดการเรียนการสอน ครูผูสอนอาจแนะนาํใหนกัเรียนมาคนควาจากขอมูลเหลานี้ได หรือสามารถนําวิธกีารสรางงานในลักษณะนีไ้ปสรางเปนสื่อการเรียนการสอนภายในโรงเรียนของตนเอง

เว็บ http://www.flickr.com/photos/stevewall/1095860966/ ก็เปนอีกตัวอยางหนึ่งของการสอนวชิาถายภาพ โดยใช Flickr เขามาประกอบการบรรยายดวยตัวอักษร โดยในเว็บนี้มีภาพถายภาพจริงแสดงไว พรอมทั้งบรรยายขัน้ตอนของการถายภาพรวมถึงองคประกอบในการจัดภาพ แสง มุม เงา ระยะหางและเทคนิคอ่ืนๆที่จําเปนตอการไดมาซึง่ภาพที่สวยงามตามที่ตองการ

อยางไรก็ตาม การเลือกใชขอมูล ผูใชตองเลือกสรรและเปรียบเทียบหลายแหลงขอมูล ทั้งนี้เพราะเว็บเหลานี้เปนเว็บเสรี ยังไมไดผานการตรวจสอบขอมลูจากผูเชี่ยวชาญ ดังนั้นหากตองใชขอมูลเพื่อเปดเผยตอสาธารณะชน ควรมีการอางอิงเว็บไซดทุกครั้ง เพราะหากมีผูเชี่ยวชาญพบขอบกพรอง จะไดชวยเหลือแบงปนดวยการแจงแกไขขอบกพรองไปยังเจาของหนาเว็บนั้น

อาจกลาวไดวา Flickr เปนการสื่อสารโดยจะเนนสนับสนุนใหมีการแบงปนความรู ความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนประสบการณซ่ึงกันและกนัมากกวาจะเปนเพียงการเสนอเนื้อหาผานเวบ็ไซต ซ่ึงเจาของเว็บไซตในปจจุบันอาจเปนเพียงใครก็ไดที่ตองการเขามาเปดเว็บไซตไวแลวเชิญชวนใหคนทั่วไปเขามามีสวนรวมในการสรางเนื้อหาและนาํเสนอขอมูลผานเว็บไซตของตนเอง รวมถึงการเปนศูนยกลางในการแลกเปลี่ยนไฟลในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนรูปภาพ วิดีโอ ผานเครือขายออนไลน มีจัดระเบียบรูปภาพโดยใช แทก็ (แบบฟอรมของ เมตาดาตา) ซ่ึงอนุญาตใหผูคนหาสามารถคนหารูปภาพโดยพิมพ สถานที่ช่ือ หรือหัวขอก็สามารถคนหาขอมูลท่ีตองการได

Page 22: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-20-

นอกจากนัน้ Flickr ยังเปนเว็บไซตแรกๆ ทีม่ีการปรับใช tag clouds เพ่ือใหเขาถึงรูปภาพโดยใช tag ในการเลือกจากกลุมคําหลักที่เปนทีน่ิยมของผูใชงาน อีกทั้ง ยังชวยใหผูใชสามารถจัดระเบียบรูปภาพเปน "ชุด" หรือกลุมของรูปภาพที่อยูภายใตหวัขอเดียวกนั อยางไรก็ตาม แบบชดุมีความหยืดหยุนกวาแบบโฟลเดอรด้ังเดิม Flickr แบบ "ชุด" แสดงรูปแบบแนชัด มกีารจัดเก็บเปนกลุมและสามารถเก็บเพิ่มเติมลงไปไดเรื่อยๆ

LiveJournal

LiveJournal (มักใชคํายอวา LJ) เปน เสมือนชุมชนที่ผูใช อินเตอรเน็ต สามารถเกบ็ บล็อก นิตสาร หรือ ไดอารี่ไวได LiveJournal ยังมีช่ือเรียกอีกอยางวา เปนแหลง ซอฟตแวรท่ีเปดฟรีดานแหลงขอมูลตางๆ ทีไ่ดรับการออกแบบเพ่ือชุมชนของผูใช LiveJournal ความแตกตางของ LiveJournal จากเว็บไซตอ่ืนๆ คือ มีคุณลักษณะเฉพาะสําหรับชุมชนของตนเองแตมีบางสวนที่คลายเว็บไซตอ่ืนๆ คือ เปนเครือขายแบบสังคม

LiveJournal เกิดขึ้นมาไดอยางไร? ใครเปนผูดแูลและบรหิารจัดการ ?

LiveJournal เปนหนึ่งในเว็บไซต Blog, และเปนลักษณะของสังคมออนไลนที่มีจํานวนผูใชบริการกวางขวางที่สุดลําดับแรกของโลก และผูใชบริการสามารถเผยแพร ถายทอดบทความ ของตนเองใหผูอ่ืนไดอานอยางตอเนื่อง ซึ่งถูกสรางขึ้นโดยผูเชี่ยวชาญทางดานคอมพิวเตอร Brad Fitzpatrick และเริ่มใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนมีนาคม ป 1999 ซ่ึงมีผูสมัครใชบริการชวงเริ่มแรกถึง 19 ลาน accounts และตั้งแตนั้นเปนตนมา ก็มีผูเขามาใชบริการกันอยางกวางขวางและแพรหลายทั่วโลก ซ่ึงในแตละเดือนจะมีสมาชิกรายใหมมาสมัครถึง 300,000 accounts ตอเดือน

LiveJournal’s parent company หรือบริษทัหลัก คือ บริษทั Danga Interactive ตอมาบรษิัท Six apart ผูผลิต Blogging Software ไดเขามาบริหารกิจการและดูแล ต้ังแตเดือนมกราคม ป 2005 และในสวนของ LiveJournal Inc. ไดถกูบรษิทั SUP ซ่ึงเปนบริษัททีท่ําธรุกิจเกี่ยวกับส่ือออนไลนระหวางประเทศ ที่มีสํานกังานใหญอยูในเมืองมอสโก ประเทศรัสเซีย มาครองครองกิจการเมื่อเดือนธันวาคม ป 2007 แตบริษทัหรือสํานักงานของ LiveJournal ปจจุบันตั้งอยูในเมืองซานฟรานซิสโก, CA ประเทศสหรัฐอเมริกา

Page 23: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-21-

นวัตกรรมและความโดดเดนของ LiveJournal เปนอยางไร?

นวัตกรรมและความโดดเดนของ LiveJournal มี ลักษณะดังตอไปนี ้

1. Friend pages ที่ปรากฏใน Live Journal สามารถทําใหผูใชงาน อานบทความใหมจากเพ่ือนของตนเอง และผูอ่ืนได

2. สมาชิกผูใชบริการสามารถสรางใหหนาเวบ็มีสไตลที่เปนแบบฉบับของตนเอง 3. สมาชิกผูใชบริการสามารถควบคุมมิใหบุคคลที่ไมพึงประสงคเขามารวมเปนหนึ่งในกลุมเพ่ือนของตน

ได 4. ในสวนของสมาชิกผูใชงานทีเ่สียคาบริการก็จะไดรับบริการเสริมอ่ืน ๆ อีกมากมาย เชน สามารถ

upload รูปภาพได สามารถเขาใชงานไดดวยชองทางที่สะดวกและรวดเร็ว และสามารถ post บทความตางๆ ไดโดยผานทาง email หรือ ผานทางโทรศัพทได

5. สมาชิกผูใชบริการสามารถสรางบันทึกหรือไดอารี่สวนตัวได 6. สมาชิกผูใชบริการสามารถรับและ post comments หรือขอความตาง ๆ ไปยังผูอ่ืนได 7. ในหลาย ๆ ประเทศ หรือบุคคลกลุมตาง ๆ ในสังคม นํา Live Journal มาเปนเคร่ืองมือในการ

ติดตอส่ือสารและแลกเปลี่ยนเรียนรูเร่ืองในหวัขอท่ีแตละกลุมมีความสนใจเดียวกัน

คุณลักษณะของ LiveLournal เปนอยางไร?

• ในแตละ Journal ที่ผูเปนเจาของ web page แสดงการบันทกึขอมูลลงไปนั้น ใน web page ดังกลาว ผูใชอ่ืนสามารถแสดงความคิดเห็นลงไปได และในขณะเดียวกันเจาของ web page ก็สามารถดู web page ของผูแสดงความคิดเห็นไดดวยเชนกนั

• คุณลักษณะที่โดดเดนที่สุดของ LiveJournal เปน “friends list” ซ่ึงทําใหเว็บไซตกลายเปนสังคมขนาดใหญ ที่มีรายชื่อเพื่อนใหติดตออยางมากมาย ผูใชแตละรายจะม ีfriends page ที่อับเดทอยูเสมอ

• LiveJournal ชวยใหผูใชสามารถปรับแตง web ไดหลายวิธี โดยใช S2 Programming Language หรือ ผูใชอาจอัพโหลดกราฟกจาก Avatars หรือ Userpics

• ผูใชแตละรายจะมี User Info Page ซ่ึงมีขอมูลที่หลากหลาย รวมถึงขอมูลที่ติดตอเปนชีวประวัติ ภาพ (เชื่อมโยงจากเว็บไซตจากแหลงขอมูลอ่ืนๆ) รายชื่อเพื่อน ส่ิงที่ชุมชนใหความสนใจ

Page 24: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-22-

LiveJournal ใหบริการใดแกผูใชงาน?

ดังที่ไดกลาวขางตนวา LiveJournal เปน ชุมชนออนไลนที่ผูคนจากทั่วโลกแบงปนเรื่องราวสนทนาในหัวขอตางๆ และติดตอกับเพื่อนๆ เปนบริการฟรีที่ผูใชบริการสามารถใชสําหรับการพบปะผูคนและสรางความสัมพันธผานการเขียนและแบงปนความรูและความคิดเห็น โดย LiveJournal ไดแบงการใหบริการดังนี้

1. แหลงชุมนุมของกลุมคนที่มีความสนใจเรื่องเดียวกัน (True Community)

บริการในสวนนี้จะเปนแหลงรวมของกลุมคนที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ซ่ึงสามารถสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนใหม โดยผูใชอาจเปนคนเริ่มตั้งประเด็นกอนหรือเขาไปรวมกับชุมชนที่มีอยูแลวก็ได ดังตัวอยางดานลางของกลุมคนที่มีความสนใจในดานงานศิลปะเหมือนกัน

ชุมชนของกลุมคนที่มีความสนใจในดานงานศิลปะ

2. สามารถอัพเดทขอมูลทีใ่สใจ (Content You Care About)

เปนหนาเวบ็ที่ผูใชจะไดอานส่ิงที่เพื่อนๆเขียนขอความที่อัพเดทอยูเสมอ อีกทั้งยังสามารถสงขอมูลจากเวบ็ไซดอืน่ๆทีน่าสนใจใหเพ่ือนๆได โดยที่อาจจะเปนเวบ็ที่มีปรากฏใน LiveJournal หรือถาผูใชตองการมากกวานัน้ก็สามารถเพิ่มเติมเขามาได

Page 25: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-23-

Add Syndicated Feed to Friend Page

3. สามารถติดตอกันไดเหมือนอยูใกลกนั(Stay in Touch)

LiveJoournal สามารถใชงานไดงายดายและสรางความสนุกสนานใหคุณในการทีจ่ะติดตอเพื่อนๆ โดยสามารถเกบ็บทสนทนาทีผ่านการโพสตเสียงได ขอความที่สามรถสงไดแบบทนัทแีละการสงขอความแบบแจงเตือน

การเลือกวธิสีงขอความ

Page 26: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-24-

4. กําหนดพืน้ทีค่วามเปนสวนบุคคล (Your Personal Journal)

ผูใชสามารถจํากัดบุคคลทีจ่ะติดตอและอนญุาตใหเหน็ขอความหรือเนื้อความไดเทาที่ตองการ ดวยการสรางระบบความปลอดภัยในการเขาถึงขอมูลในแตละระดบั

การกาํหนดความเปนสวนบุคคล

5. สามารถออกแบบหนาเวบ็ตามตองการ(Full Custom Design)

ผูใชสามารถออกแบบหนาเวบ็ไดตามรูปแบบที่ตองการ โดยมีรูปแบบที่เปนเคาโครงไวใหเลือกมากวา 100 แบบ โดยอาจนําสวนประกอบตกแตงมาจากแหลงอ่ืนเขามาตกแตงหนาเวบ็เพิ่มเติมไดตามความตองการ

Page 27: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-25-

การออกแบบทีก่ําหนดเองโดยใช Templating System

6. สนุกกบัมัลติมีเดียหลายรูปแบบ (Fun Multimedia)

ผูใชสามารถแทรก รปูภาพ วิดีโอ ตางๆได โดยนาํมาจากเวบ็ไซดที่ไดรับความนิยม เชน YouTube, Photo bucket, and Slide

การนาํรปูภาพจากแหลงอื่นมาไวในหนาเวบ็

Page 28: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-26-

กลุมประชากรของ Livejournal

จากการสํารวจเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. พบวามีผูใชบริการตามจํานวนที่มีการแจงวันเดือนปเกิด ทั้งหมด 19,128,882 หมายเลขสมาชิก ซึ่งประชากรสวนใหญเปนกลุมบุคคลที่มีอายุระหวาง 17-25 ป และสองในสามของสมาชิกทั้งหมดเปนผูหญิง สมาชิกของ LiveJornalใชภาษาอังกฤษเปนภาษาที่ใชส่ือสารมากที่สุดและประเทศที่มีผูใชบริการมากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา

จากการสํารวจจากการใช website ของ LiveJournal พบวา สวนที่นาจะไดรับความนิยมมากที่สุด คือ แหลงชุมนุมของกลุมคนที่มีความสนใจเรื่องเดียวกัน (True Community) เพราะความหลากหลายดานความสนใจของกลุมคนคอนขางมีหลายกลุมและในแตละกลุมมีสมาชิกคอนขางมากและสงผานขอมูลกันสม่ําเสมอ อีกทั้งแนวโนมของการเพิ่มสมาชิกในชุมชนคอนขางเปนไปอยางงตอเนื่อง อยางไรก็ตาม เนื่องจากเปนชุมชนที่เปดกวาง การรับขาวสารจึงพึงระมัดระวังเปนอยางยิ่งเนื่องจากการเขียนเปนการแสดงความคิดเห็นเปนสวนใหญ เกี่ยวของกับความรูสึก ทัศนคติสวนตัว ดังนั้น การเลือกรับขอมูลตองตัดในสวนเหลานี้ใหเหลือเพียงขอมูลจริง หรือขอมูลบางอยางที่ผูรับตองการมุมมองของบุคคลอื่นมาอางอิงหรือสนับสนุนความคิดของตน

Page 29: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-27-

ขอเสนอแนะและขอคิดเห็นสาํหรับ Web 2.0

การวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศอยางรวดเร็วทําใหทุกคนที่เกี่ยวของหรือผูที่ตองอาศัยเทคโนโลยีในการทํางานตองปรับตัวตามใหทันการเปลี่ยนแปลงดวยเชนกัน หากมองในแงขอดีของการพัฒนาระบบ ก็จะพบวาเราสามารถนําความทันสมัยมาปรับใชดานการสรางขอมูลการเรียนรู ฐานการเรียนรู แหลงขอมูลที่เพิ่มขึ้นเร่ือยๆและศักยภาพดานการติดตอส่ือสารเปนไปอยางรวดเร็วและกระจายไปทั่วโลกที่ระบบอินเตอรเน็ตไปถึง การแลกเปลี่ยนขอมูล การเคลื่อนไหว ดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยี ถูกถายทอดไปบนระบบเว็บเสรีอยางมากมาย ส่ิงสําคัญซึ่งถือวาเปนขอดีอีกประการหนึ่งคือผูใชไมตองเสียคาใชจายในการสมัครเปนสมาชิก ผูใชสามารถมีหนาเว็บเปนของตนเอง อีกทั้งยังสามารถแสดงความคิดเห็นในเรื่องนั้นๆไดตามความสนใจ ทําใหความนาสนใจของเว็บเพ่ิมมากขึ้นเรื่อยๆ อยางไรก็ตาม ขอพึงระวังของผูใชเว็บเสรีคือควรกลั่นกรองและเลือกสรรขอมูลดวยความระมัดระวัง ทั้งนี้เนื่องจากขอมูลตางๆที่นํามาเผยแพรนั้นไมไดผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญและชื่อหรือแหลงผูใหขอมูลก็อาจใชนามแฝงจึงทําใหความนาเชื่อถือคอนขางนอยกวาเม่ือเทียบกับหนังสือที่สามารถตรวจสอบแหลงที่อยูของสํานักพิมพและชื่อผูแตงไดแนนอน นอกจากนั้นในธุรกิจที่แฝงเขามาในเว็บเสรีคือ การซ้ือเครื่องมือบางอยางเพ่ิมเติมนอกเหนือจากที่สรางขึ้นใหใชบริการโดยไมมีคาใชจาย รวมถึงโฆษณาสินคาตางๆมากมายที่ปรากฏอยูในหนาเว็บของผูใชดวยอาจกลาวไดวา ปจจุบันเว็บเสรีไดเขามาเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมในชีวิตประจําของคนยุคนี้ ดังนั้นการเรียนรูและปรับตัวเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งที่พึงตระหนักอยูเสมอ

Page 30: งานกลุ ม 2 ครั้งที่ 2 เรื่อง เทคโนโลยี Web 2.0 กับการประย ...pirun.ku.ac.th/~g521765063/report2g2.pdf ·

-28-

บรรณานุกรม http://en.wikipedia.org/wiki/Flickr http://www.flickr.com/photos/stevewall/1095860966/ http://www.flickr.com/photos/social_geographic/ http://www.flickr.com/photos/tropicaliving/2437805955/ http://www.flickr.com/about/ http://www.readwriteweb.com/archives/e-learning_20.php http://www.flickr.com/tour/ http://en.wikipedia.org/wiki/Web_2.0 http://en.wikipedia.org/wiki/Web_1.0 http://www.oreillynet.com/lpt/a/6228 http://www.oreillynet.com/lpt/a/6228 http://www.oknation.net/blog/weblog/2008/09/24/entry-9 http://www.stevehargadon.com/2008/03/web-20-is-future-of-education.html http://www.readwriteweb.com/archives/e-learning_20.php http://en.wikipedia.org/wiki/Flickr http://www.livejournal.com/support/faqbrowse.bml?faqid=4&view=full http://www.sup.com/en/livejournal.html http://www.sup.com/en/company.html http://www.theinquirer.net/inquirer/news/1016099/live-journal-does-a-u-turn-on-online-book-burning http://www.livejournalinc.com/aboutus.php http://www.livejournal.com/ http://en.wikipedia.org/wiki/LiveJournal