23
1

ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

1

Page 2: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

2

ขอบเขตเนื้อหา

สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเก่ียวกับศาลยุติธรรม ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับศาลยุติธรรม 5 วิสัยทัศน 6 พันธกิจ 6 เปาประสงคหลัก 6 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และแกไขเพิ่มเติมถึง

ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 8 พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 22 ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมวาดวยการจัดประเภทตําแหนงและระดับ

ตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2552 69 ประมวลจริยธรรมขาราชการศาลยุติธรรมและลูกจาง 74 แนวขอสอบ พระราชบญัญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543

และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบบัที่ 2 พ.ศ.2551 77 แนวขอสอบ ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมวาดวยการจัดประเภท

ตําแหนงและระดับตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2552 82 แนวขอสอบ รัฐธรรมแหงราชอาราจกัรไทย 2550 85 แนวขอสอบ พระราชบญัญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 108

สวนที่ 2 ความรูเฉพาะตําแหนง มาตรฐานการจัดการงานธุรการ ศาลยุติธรรม 130 ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับงานธุรการ 152 งานธุรการ 152

บทบาทของเจาหนาที่ธุรการ 152 แผนการบริหารงานเอกสาร 153 การจัดทําบัญชีเอกสาร 156 ระบบการจดัเก็บเอกสาร 157 วิธีปฏิบัติในการจัดเก็บเอกสาร 158

Page 3: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

3

การจําแนกประเภทรายงาน 161 การบริหารงานพัสดุ 166 กลยุทธการบริหารงานพัสดุ 167 การจัดมาตรฐานพัสดุ 173 การจัดหา 178 การบริหารพัสดุคงเหลือ 188 การจัดการคลังพัสดุ 191 การขนสง 203 การบํารุงรักษา 210 การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี 216 การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ 219 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 231 การรางหนังสือราชการ 240 ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ 247 ระเบียบฯ วาดวยพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนกิส 318 ระเบียบฯ วาดวยการลาของพนักงานราชการ 327 ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ 339 แนวขอสอบระเบียบฯ วาดวยพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนกิส 350 แนวขอสอบระเบียบฯ วาดวยพัสดุ 360 แนวขอสอบ หลักการเขียนหนังสือราชการ 367 แนวขอสอบ ระเบียบงานสารบรรณ 372 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 388 แนวขอสอบคอมพิวเตอร 421 แนวขอสอบวาดวยพนักงานราชการ 445 แนวขอสอบงานธุรการ 457

Page 4: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

4

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับศาลยุติธรรม

ศาลยุติธรรมมีความเปนมายาวนานตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยมีการปกครองแบบพอปกครองลูกโดยมีพระ มหากษัตริยเปนประมุขเปนผูทรงพระราชอํานาจในการวินิจฉัยชี้ขาดคดีความใหแกราษฎรโดยยึดหลัก "คัมภีรพระธรรมศาสตร" ของอินเดีย ตอมาเมื่อพระองคมีราช กิจมากขึ้นไมสามารถวินิจฉัยชี้ขาดคดีความดวยพระองคเองไดจึงทรงมอบพระราชอํานาจ นี้ใหแกพราหมณปุโรหิตผูมีความรูชวยวินิจฉัยคดีตาง ๆ แทนพระองคในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกไดโปรดฯใหมีการตรวจชําระกฎหมายที่มีมาแตสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยนํามาปรับปรุง และบัญญัติข้ึนใหมเรียกวา "กฎหมายตราสามดวง"ศาลในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนมีอยูมากมายหลายศาลกระจายกันอยูตามกระทรวงกรมตาง ๆและมีหนาที่พิจารณาพิพากษาคดี ตางพระเนตรพระกรรณแทนพระมหากษัตริยตอมาเมื่อบานเมืองมีการเปล่ียนแปลงมากขึ้น มีการติดตอกับชาวตางชาติ ลัทธิชาวตะวันตกไดแผขยายเขามาทําใหระบบ การศาลไทยมีการเปล่ียนแปลงมิฉะนั้นอาจเปนเหตุที่กอใหเกิดความขัดแยงกับชาติตะวันตกได จึงมีการปฏิรูประบบการศาลไทยขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงมีบทบาทในการวางรากฐานระบบการศาลยุติธรรมโดยไดรวมศาลที่กระจัดกระจายอยูตามกระทรวงกรมตาง ๆ ใหมารวมไวในที่แหงเดียวกันเพื่อใหการพิจารณาพิพากษาคดีดําเนินไปดวยความรวดเร็ว ถูกตอง เหมาะสมไมทําใหราษฎรเดือดรอน และในโอกาสที่กรุงเทพมหานครมีอายุครบ 100 ปซึ่งตรงกับวันที่ 21 เมษายน 2425 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินทางขบวนพยุหยาตรามาวางศิลากอพระฤกษอาคารศาลสถิตยยุติธรรม และทรงโปรดฯ ใหจารึกพระราชปรารภในการจัดตั้งศาลยุติธรรมไวในแผนเงิน ซึ่งเรียกวา"หิรัญบัตร" มีความกวาง 9.5 ซ.ม. ยาว 37.2 ซ.ม. จํานวน 4 แผน ฝงอยูใตอาคารศาลสถิตยยุติธรรมบนแผนเงินจารึกดวยอักษรไทยที่สวยงามและทรงคุณคามาก แสดงใหเห็นถึงพระบรมราโชบายในการปกครองแผนดินวามีพระราชประสงคใหตั้งศาลข้ึนเพื่อทําหนาที่วินิจฉัยชี้ขาดอรรถคดี ทรงเล็งเห็นวาบานเมืองจะอยูดวยความสงบสุขรมเย็นตองอาศัยการศาลเปนสําคัญจึงทรงจัดระบบกฎหมายและระเบียบทางการศาลขึ้นใหมเพื่อใหเปนที่ยอมรับของชาติตะวันตก โดยมีกรมหลวงพิชิตปรีชากรและพระเจาบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์เปนกําลังสําคัญในการแกไขกฎหมายและปฏิรูประบบการศาลยุติธรรมใหเจริญรุงเรืองเปนที่ยอมรับของนานาอารยประะเทศ ศาลจึงเปนสถาบันที่ประสิทธิ์

Page 5: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

5

ประสาทความยุติธรรมใหแกประชาชนสืบมาตราบเทาทุกวันนี้ และในโอกาสที่กรุงเทพมหา นครครบรอบ 220 ป ซึ่งตรงกับศาลยุติธรรมครบรอบ120 ป ในป พ.ศ. 2545สํานักงานศาลยุติธรรมจึงรวมกันจัดตั้งพิพิธภัณฑศาลไทยและหอจดหมายเหตุข้ึนเพื่อเปนการนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและพระมหากษัตริยไทยทุกพระองคที่มีตอศาลยุติธรรม จึงถือเอาวันที่ 21 เมษายนของทุกปเปน "วันศาลยุติธรรม"

วิสัยทัศน ศาลยุติธรรมดํารงไวซึ่งความเปนธรรม

ภายใตหลักนิติธรรมเพือ่ประโยชนสุขของประชาชน ทั้งมุงสงเสริมบทบาทการศาลยุติธรรมไทย

ใหเปนที่ประจักษในระดับสากลภายในป พ.ศ. 2556

พันธกิจ พันธกิจที ่1 การอํานวยความยุติธรรม

- การพิจารณาพิพากษา - การไกลเกล่ียและระงับขอพิพาทดวยวิธีการอื่น - การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน

พันธกิจที ่2 การสนับสนุนการอํานวยความยุตธิรรม พันธกิจที ่3 การสนับสนุนและพัฒนาความรวมมือดานการยุติธรรมทั้งในและระหวาง

ประเทศเพื่อรองรับการดําเนินงานของกระบวนการยุติธรรมไทยและตางประเทศ พันธกิจที ่4 การใหบริการประชาชนและสังคมเพือ่การพัฒนาที่ย่ังยืน เพื่อรองรับ

หลักการบริหารกิจการบานเมืองทีดี่

เปาประสงคหลัก เปาประสงคยุทธศาสตรที่ 1 สังคมมีหลักประกันจากการอํานวยความยุติธรรมและคุมครองสิทธิเสรีภาพตามที่

กฎหมายบัญญัติ

Page 6: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

6

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ.ศ.2551

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2543

เปนปที่ 55 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการโปรด

เกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและ

ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ

ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนหกสิบวันนับแตวันประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 บรรดาอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ผูมีอํานาจจะใชหรือ

กระทําการใดใหเปนการกระทบกระเทือนอํานาจการพิจารณา พิพากษาคดีของผูพิพากษาในศาลยุติธรรมมิได

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม” หมายความวา ขาราชการฝายตุลา

การตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการ “ขาราชการตุลาการ” หมายความวา ขาราชการตุลาการตามกฎหมายวา

ดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการ “ขาราชการศาลยุติธรรม” หมายความวา ขาราชการธุรการตามกฎหมาย

วาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการ “ประธานศาลอุทธรณ” หมายความวา อธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณตาม

กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการ “กรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” หมายความวา กรรมการตุลาการตาม

กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการ

Page 7: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

7

“คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” หมายความวา คณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการ

“ก.บ.ศ.” หมายความวา คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม “ก.ศ.” หมายความวา คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม “สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน” หมายความวา สถานพินิจและ

คุมครองเด็กและเยาวชนกลาง สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนจังหวัด และสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนของศาลจังหวัดแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว

มาตรา 5 ใหมีสํานักงานศาลยุติธรรมเปนสวนราชการที่เปนหนวยงานอิสระมีฐานะเปนนิติบุคคล

การแบงสวนราชการภายในของสํานักงานศาลยุติธรรมและการกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการนั้น ใหทําเปนประกาศ ก.บ.ศ.

ประกาศตามวรรคสอง เมื่อไดรับความเห็นชอบจากประธานศาลฎีกาและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

มาตรา 6 สํานักงานศาลยุติธรรมมีอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม งานสงเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการ ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนและอํานวยความสะดวกใหแกศาลยุติธรรม รวมท้ังเสริมสรางใหการพิจารณาพิพากษาคดีเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

มาตรา 7 ใหสํานักงานศาลยุติธรรมจัดใหมีเจาหนาที่ประจําศาลยุติธรรมทุกแหงให เพียงพอท่ีจะรับผิดชอบงานธุรการ งานชวยคนควาทางวิชาการแกผูพิพากษา รวมตลอดทั้งการประสานงานกับสวนราชการตางๆ และงานอื่นใดตามที่ศาลยุติธรรมมอบหมาย

จํานวนและระดับของเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่ ก.ศ. กําหนดโดยความเห็นชอบของประธานศาลฎีกา

ใน กรณีที่ ก.บ.ศ. เห็นวา ศาลยุติธรรมแหงใดมีจํานวนเจาหนาที่ประจําศาลยุติธรรมที่เหมาะสมเพียงพอจะ จัดตั้งเปนหนวยงานประจําศาลยุติธรรม ให ก.บ.ศ. โดยความเห็นชอบของประธานศาลฎีกามีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดใหมี สํานักงานประจําศาลยุติธรรมแหงนั้น โดยมีหัวหนาสํานักงานเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบก็ได

มาตรา 8 ใหมีเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมเปนขาราชการศาลยุติธรรม ข้ึนตรงตอประธานศาลฎีกา มีหนาที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของสํานักงานศาลยุติธรรมใหเปนไปตาม กฎหมายและระเบียบของทางราชการ รวมทั้งระเบียบ ประกาศ และ

Page 8: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

8

ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของ

ขาราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2552 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (9) และมาตรา 24 แหงพระราชบัญญัติระเบียบ

บริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม จึงออกระเบียบการจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรมไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2552”

ขอ 2 ระเบียบนี้ใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เปนตนไป ขอ 3 ใหประธานกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ ขอ 4 การจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรม ให

เปนไปตามที่กําหนดในระเบียบนี้ ขอ 5 ตําแหนงประเภทบริหาร ไดแก ตําแหนงในฐานะผูบังคับบัญชาขาราชการ

ในสํานักงานศาลยุติธรรม หรือผูปฏิบัติงานตรวจและแนะนําการปฏิบัติราชการของสํานักงาน ศาลยุติธรรม มีหนาที่กําหนดนโยบาย พันธกิจ ยุทธศาสตร และทิศทางการดําเนินงาน ของสํานักงานศาลยุติธรรม รวมทั้ง กํากับ ควบคุม ใหคําแนะนํา ตัดสินใจ โดยทั่วไปซึ่งราชการของสํานักงานศาลยุติธรรมใหเปนไปตามกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ หรือตําแหนงอื่นที่ ก.ศ. กําหนดใหเปนตําแหนงประเภทบริหาร

ขอ 6 ตําแหนงประเภทบริหาร มี 2 ระดับ ดังตอไปนี้ (1) ตําแหนงประเภทบริหาร ระดับตน ไดแก (ก) ตําแหนงผูปฏิบัติงานตรวจและแนะนําการปฏิบัติราชการของสํานักงานศาล

ยุติธรรมรับผิดชอบงานตรวจราชการ มีความเปนอิสระในการปฏิบัติงานและเสนอความเห็น ชวยส่ังการปฏิบัติหนาที่ราชการของสวนราชการที่ไดรับมอบหมาย รวมท้ัง ชวยในการบริหารจัดการ กํากับ ดูแลกําหนดนโยบาย พันธกิจ ยุทธศาสตร และทิศทางการดําเนินงานของสํานักงานศาลยุติธรรม

(ข) ตําแหนงอื่นที่ ก.ศ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทบริหาร ระดับตน (2) ตําแหนงประเภทบริหาร ระดับสูง ไดแกตําแหนงดังตอไปนี้

Page 9: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

9

(ก) ผูบริหารสํานักงานศาลยุติธรรม มีฐานะเปนผูบังคับบัญชาสูงสุดของขาราชการ ศาลยุติธรรม ลูกจาง และพนักงานราชการศาลยุติธรรม มีอํานาจในการกําหนดนโยบาย พันธกิจยุทธศาสตร และทิศทางการดําเนินงานของสํานักงานศาลยุติธรรม

(ข) รองผูบริหารสํานักงานศาลยุติธรรม มีฐานะเปนรองผูบังคับบัญชาสูงสุดของ ขาราชการศาลยุติธรรม ลูกจาง และพนักงานราชการศาลยุติธรรม ชวยในการกําหนดหรือแปลงนโยบาย พันธกิจ ยุทธศาสตร และทิศทางการดําเนินงานของสํานักงานศาลยุติธรรม รวมทั้งส่ังการและบริหารงานทุกดานของสวนราชการที่ไดรับมอบหมาย

(ค) ตําแหนงอื่นที่ ก.ศ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทบริหาร ระดับสูง ขอ 7 ตําแหนงประเภทอํานวยการ ไดแก ตําแหนงหัวหนาหนวยงานในสํานักงาน

ศาลยุติธรรมซึ่งเปนหนวยงานที่กําหนดไวในประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการแบงสวนราชการและการกําหนดอํานาจหนาที่ของหนวยงานในสํานักงานศาลยุติธรรม

ขอ 8 ตําแหนงประเภทอํานวยการ มี 2 ระดับ ดังตอไปนี้ (1) ตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับตน ไดแก ตําแหนงที่มีหนาที่ความรับผิดชอบ

และคุณภาพของงานสูงมาก ดังตอไปนี้ (ก) ตําแหนงหัวหนาหนวยงานระดับกองหรือเทียบเทาในสํานักงานศาลยุติธรรม

เปนหนวยงานที่กําหนดไวในการแบงสวนราชการตามประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการแบงสวนราชการและการกําหนดอํานาจหนาที่ของหนวยงานในสํานักงานศาลยุติธรรม

(ข) ตําแหนงอื่นที่ ก.ศ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับตน (2) ตําแหนงประเภทอํา นวยการ ระดับสูง ไดแก ตําแหนงที่มีลักษณะหนาที่

ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงานสูงมากเปนพิเศษ ดังตอไปนี้ (ก) ตําแหนงหัวหนาหนวยงานระดับสํานักหรือเทียบเทาในสํานักงานศาลยุติธรรม

เปนหนวยงานที่กําหนดไวในการแบงสวนราชการตามประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการแบงสวนราชการและการกําหนดอํานาจหนาที่ของหนวยงานในสํานักงานศาลยุติธรรม

(ข) ตําแหนงอื่นที่ ก.ศ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับสูง ขอ 9 ตําแหนงประเภทวิชาการ ไดแก ตํา แหนงในฐานะผูปฏิบัติงานที่มีหนาที่ความ

รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห และพัฒนาระบบ หรือกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ

Page 10: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

10

ประมวลจริยธรรมขาราชการศาลยุติธรรมและลกูจาง

1. ซ่ือสัตยสุจริต 1.1 จักตองปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต กลายืนหยัดทําในส่ิงที่ถูกตอง และรับผิดชอบเมื่อเกิดขอบกพรอง หรือผิดพลาดในการปฏิบัติหนาที่ 1.2 จักตองละเวนการแสวงหาตําแหนง บําเหน็จความชอบโดยมิชอบ 1.3 จักตองละเวนการแอบอางหรือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ 1.4 จักตองไมยินยอมใหบุคคลในครอบครัว หรือบุคคลอื่นกาวกายการปฏิบัติหนาที่ หรือใชตําแหนงหนาที่ของตนแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ 2. บริสุทธิ์ยุติธรรม 2.1 จักตองปฏิบัติหนาที่ดวยความบริสุทธิ์ยุติธรรม ตรวจสอบได 2.2 จักตองรักษาความลับของทางราชการอยางเครงครัด 2.3 จักตองวางตัวเปนกลาง ละเวนการมีสวนรวมทั้งทางตรงและทางออมในกิจการอันอาจกอใหเกิดความเสียหายในการปฏิบัติหนาที่ 2.4 จักตองสนับสนุนใหกระบวนการพิจารณาคดีใหเปนไปดวยความรวดเร็ว มิใหเกิดความเสียหายหรือกระทบกระเทือนตอการดําเนินคดีของคูความ พยาน หรือบุคคลอื่นใด 3. รักศักดิ์ศรี 3.1 จักตองไมคบหาสมาคมหรือสนับสนุนผูประพฤติผิดกฎหมาย หรือผูมีความประพฤติในทางเสื่อมเสีย อันอาจกระทบกระเทือนตอความเชื่อถือศรัทธาของประชาชนในการปฏิบัติหนาที่ของตน 3.2 จักตองยึดมั่นในระบบคุณธรรมและปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณ โดยมีอุดมการณเพื่อประโยชนแกประเทศชาติ 3.3 จักตองไมประพฤติตนอันอาจกอใหเกิดความเสื่อมเสียตอเกียรติภูมิของศาลยุติธรรม 3.4 จักตองสงเสริมภาพลักษณ และศักด์ิศรีของศาลยุติธรรม 3.5 พึงปฏิบัติตนใหเปนที่เชื่อถือศรัทธาแกสาธารณชน

Page 11: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

11

แนวขอสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ.ศ.2551

1. ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม ฉบับที่ใชในปจจุบัน เปนฉบับแกไขเพิ่มถึงฉบบัใด

ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 ข. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553 ค. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551 ง. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551 ตอบ ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551

2. คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม มีอักษรยอวา ก. กบศ. ข. ก.บ.ศ. ค. คบศ. ง. ค.บ.ศ. ตอบ ข. ก.บ.ศ.

“ก.บ.ศ.” หมายความวา คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม 3.คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม มีอักษรยอวา ก. ก.ศ. ข. กศ. ค. คศ. ง. ค.ศ.

ตอบ ก. ก.ศ. “ก.ศ.” หมายความวา คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม

4. การแบงสวนราชการภายในของสํานักงานศาลยุติธรรมและการกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการนั้น ใหทําเปนประกาศของหนวยงานใด ก. ก.พ.ร. ข. ก.พ. ค. ก.บ.ศ. ง. ก.ตร. ตอบ ค. ก.บ.ศ.

การแบงสวนราชการภายในของสํานักงานศาลยุติธรรมและการกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการนั้น ใหทําเปนประกาศ ก.บ.ศ.

Page 12: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

12

5.สํานักงานศาลยุติธรรมมีอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวกับขอใด ก. งานธุรการของศาลยุติธรรม ข. งานสงเสริมงานตุลาการ ค. งานวิชาการ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ สํานักงานศาลยุติธรรมมีอํานาจหนาที่ที่เกี่ยวกับงานธุรการของศาลยุติธรรม งาน

สงเสริมงานตุลาการ และงานวิชาการ ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนและอํานวยความสะดวกใหแกศาลยุติธรรม รวมทั้งเสริมสรางใหการพิจารณาพิพากษาคดีเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 6. “ก.บ.ศ.” ประกอบดวยใครเปนประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ก. ประธานศาลอุทธรณ ข. ประธานศาลชั้นตน ค. ประธานศาลฎีกา ง. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ

ตอบ ค. ประธานศาลฎีกา

7. คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ในชั้นศาลฎีกา ใหเลือกจากขาราชการตุลาการท่ีดํารงตําแหนงในศาลฎีกาในตําแหนงที่ไมต่ํากวาผูพิพากษาศาลฎีกา จํานวนกี่คน ก. สองคน ข. สามคน ค. ส่ีคน ง. หาคน

ตอบ ค. สี่คน กรรมการบริหารศาลยุติธรรมซึ่งขาราชการตุลาการเวนแตผูดํารงตําแหนงผูชวย ผู

พิพากษาเปนผูเลือกจากขาราชการตุลาการในแตละชั้นศาล ดังนี้ ศาลฎีกา ใหเลือกจากขาราชการตุลาการที่ดํารงตําแหนงในศาลฎีกาในตําแหนงที่ไมต่ํากวาผูพิพากษาศาลฎีกา จํานวนสี่คน 8. คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ในชั้นศาลอุทธรณ ใหเลือกจากขาราชการตุลาการที่ดํารงตําแหนงในศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาคใน ตําแหนงที่ไมต่ํากวาผูพิพากษาศาลอุทธรณหรือผูพิพากษาศาลอุทธรณภาค จํานวนกี่คน ก. สองคน ข. สามคน ค. ส่ีคน ง. หาคน

ตอบ ค. สี่คน

Page 13: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

13

แนวขอสอบระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของ

ขาราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2552

1. ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรม ฉบับที่ใชเปนฉบับ พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2539 ข. พ.ศ. 2541 ค. พ.ศ. 2542 ง. พ.ศ. 2545

ตอบ ค. พ.ศ. 2542 2. ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรม มีผลใชบังคับตั้งแตเมื่อใด ก. วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 เปนตนไป ข. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เปนตนไป ค. วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2552 เปนตนไป ง. วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เปนตนไป ตอบ ข. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เปนตนไป

ระเบียบนี้ใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เปนตนไป 3. ระเบียบคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม วาดวยการจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนงของขาราชการศาลยุติธรรม ผูรักษาการคือใคร ก. ประธานกรรมการขาราชการศาลอาญา ข. ประธานกรรมการขาราชการศาลฎีกา ค. ประธานกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม ง. ประธานกรรมการขาราชการศาลรัฐธรรมนูญ

ตอบ ค. ประธานกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม ใหประธานกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้

Page 14: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

14

4. ผูบังคับบัญชาขาราชการในสํานักงานศาลยุติธรรม เปนตําแหนงประเภทใด ก. ประเภทบริหาร ข. ประเภทอํานวยการ ค. ประเภทปฏิบัติการ ง. ประเภทวิชาการ ตอบ ก. ประเภทบริหาร

ตําแหนงประเภทบริหาร ไดแก ตําแหนงในฐานะผูบังคับบัญชาขาราชการในสํานักงานศาลยุติธรรม หรือผูปฏิบัติงานตรวจและแนะนําการปฏิบัติราชการของสํานักงานศาลยุติธรรม มีหนาที่กําหนดนโยบาย พันธกิจ ยุทธศาสตร และทิศทางการดําเนินงาน ของสํานักงานศาลยุติธรรม รวมทั้ง กํากับ ควบคุม ใหคําแนะนํา ตัดสินใจ โดยทั่วไปซึ่งราชการของสํานักงานศาลยุติธรรมใหเปนไปตามกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ หรือตําแหนงอื่นที่ ก.ศ. กําหนดใหเปนตําแหนงประเภทบริหาร 5. ตําแหนงประเภทบริหารในสํานักงานศาลยุติธรรม มีกี่ระดับ ก. สองระดับ ข. สามระดับ ค. ส่ีระดับ ง. หาระดับ

ตอบ ก. สองระดับ ตําแหนงประเภทบริหาร มี 2 ระดับ ดังตอไปนี้ (1) ตําแหนงประเภทบริหาร ระดับตน (2) ตําแหนงประเภทบริหาร ระดับสูง

6. ตําแหนงหัวหนาหนวยงานในสํานักงานศาลยุติธรรม เปนตําแหนงประเภทใด ก. ประเภทบริหาร ข. ประเภทอํานวยการ ค. ประเภทปฏิบัติการ ง. ประเภทวิชาการ

ตอบ ข. ประเภทอํานวยการ ตําแหนงประเภทอํานวยการ ไดแก ตําแหนงหัวหนาหนวยงานในสํานักงานศาล

ยุติธรรมซึ่งเปนหนวยงานท่ีกําหนดไวในประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการแบงสวนราชการและการกําหนดอํานาจหนาที่ของหนวยงานในสํานักงานศาลยุติธรรม 7. ตําแหนงประเภทอํานวยการในสํานักงานศาลยุติธรรม มีกี่ระดับ ก. สองระดับ ข. สามระดับ ค. ส่ีระดับ ง. หาระดับ

Page 15: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

15

แนวขอสอบ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

9.ผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งองคมนตรีอ่ืนหรือใหองคมนตรีอ่ืนพนจากตําแหนง ก. ประธานองคมนตร ี ข. ประธานรฐัสภา ค. ประธานสภาผูแทนราษฎร ง. ศาลรัฐธรรมนูญ ตอบ ก. ประธานองคมนตร ี 10.บุคคลใดไมสามารถดํารงตําแหนงองคมนตรีได ก. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ข. พนักงานรัฐวิสาหกิจ ค. เจาหนาที่นักการเมือง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 11.กอนเขารับหนาที่ขององคมนตรีนั้นจะตองกระทําการสิ่งใด ก. กลาวรายงานตนตอพระมหากษัตริย ข. แถลงการณจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย ค. ถวายสัตยปฎิญาณตอพระมหากษัตริย ง. ทําหนังสือแสดงตน ตอบ ค. ถวายสัตยปฎิญาณตอพระมหากษัตริย 12.เม่ือองคพระมหากษัตริยไมไดประทับอยูในราชอาณาจักร จะไดทรงใหผูใดผูหนึ่งเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค และใหผูใดเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ก. ประธานองคมนตร ี ข. ประธานรฐัสภา ค. ประธานผูแทนราษฎร ง. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตอบ ข. ประธานรฐัสภา

Page 16: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

16

13.จากขอขางตน เม่ือไมมีผูสําเร็จราชการแทนพระองคใหผูใดเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคเปนการช่ัวคราว ก. ประธานองคมนตร ี ข. ประธานรฐัสภา ค. ประธานสภาผูแทนราษฎร ง. ประธานวฒุิสภา ตอบ ก. ประธานองคมนตร ี 14.การสืบราชสมบัติใหเปนไปตามกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2467 ข. พ.ศ. 2469 ค. พ.ศ. 2475 ง. พ.ศ. 2500 ตอบ ก. พ.ศ. 2467 15.ในกรณีที่ราชบัลลังกวางลง และเปนกรณีที่พระมหากษัตริยไดทรงแตงตั้งพระรัชทายาทไวตามกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พ.ศ. 2467 แลว คณะรัฐมนตรีตองแจงใหผูใดทราบ ก. ประธานรฐัสภา ข. ประธานสภาผูแทนราษฎร ค. ประธานองคมนตร ี ง. ประธานวฒุิสภา ตอบ ก. ประธานรฐัสภา 16."สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย" อยูในหมวดใดของ "รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย" พ.ศ. 2550 ก. หมวด 1 ข. หมวด 2 ค. หมวด 3 ง. หมวด 4 ตอบ ค. หมวด 3 17.การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกรตองคํานึงถึงสิ่งใด ก. ศักด์ิศรีความเปนมนษุย ข. สิทธิ ค. เสรีภาพ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

Page 17: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

17

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 4.ชื่อเต็มของ "ก.พ." คือขอใด ก. กรรมการขาราชการพลเรือน ข. คณะกรรมการขาราชการฝายพลเรือน ค. คณะกรรมการขาราชการพลเรือน ง. กรรมการขาราชการฝายพลเรือน ตอบ ค. คณะกรรมการขาราชการพลเรือน

ใหมีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.” (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6)

5.ผูใดเปนประธานในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ก. นายกรัฐมนตร ี ข. คณะรัฐมนตร ี ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี

“ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 6.ขอใดไมใชกรรมการโดยตําแหนงในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ก. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ข. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตร ี ตอบ ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

“ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6)

Page 18: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

18

7.กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลาแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒินั้น จะตองเปนบุคคลที่มีความสามารถในดานใด ก. ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ข. ดานการบริหารและการจัดการ ค. ดานกฎหมาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

กรรมการซึ่งทรงพระกรณุาโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 8.คณะกรรมการจากขอขางตนนั้น จะมตีําแหนงอยูในวาระคราวละกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ข. 3 ป

กรรมการซึ่งทรงพระกรณุาโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ใหอยูในตําแหนงไดคราวละสามป ถาตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดและยังมีกรรมการดังกลาวเหลืออยูอีกไมนอยกวาสามคน ใหกรรมการที่เหลือปฏิบัติหนาที่ตอไปได (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7) 9.เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงนั้น อาจจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีที่วาระของกรรมการเหลือไมถึงกี่วนั ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 180 วัน ตอบ ง. 180 วัน

เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทนภายในกําหนด สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวันจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ผูซึ่งไดรับแตงตัง้เปนกรรมการแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทากําหนดเวลาของผูซึ่งตนแทน (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7)

Page 19: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

19

10.ขอใดมิใชอํานาจหนาที่ของ กพ. ก. ใหความเห็นชอบ กรอบอําตรากาํลังของสวนราชการ ข. ออกกฎ ก.พ. ค. กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ง. พิจารณาการเกล่ียอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง ตอบ ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง

การพิจารณาการเกล่ียอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวงเปนอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ.กระทรวง (พรบ.ระเบยีบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551มาตรา 16) 11.อ.ก.พ. กระทรวง มีบคุคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด

อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดวยรัฐมนตรีเจาสังกัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง เปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เปนอนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 15) 12.อ.ก.พ. กรม มบีุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ง. อธิบดี

อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีทีอ่ธิบดีมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนกุรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 17) 13.อ.ก.พ. จังหวัด มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรเีจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี

Page 20: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

20

มาตรฐานการจัดการงานธุรการ ศาลยุติธรรม 1. คํานิยามศัพท

1.1 องคกร (Organization) หมายถึง กอง สํานักงาน สํานัก สถาบัน สํานักงานประจําศาล สํานักอํานวยการประจําศาล และสํานักศาลยุติธรรมประจําภาค

1.2 หนวยงาน (Unit) หมายถึง สวน ฝาย และกลุมงานในองคกรนั้น 1.3 คูมือระบบ (System Manual) หมายถึง เอกสารที่บงบอกส่ิงที่องคกรไดจัดทํา

รวมทั้งบงบอกวาองคกรไดจัดทําหรือไมจัดทําขอกําหนดใดบางตามมาตรฐานการจัดการงานธุรการศาลยุติธรรม

1.4 คูมือขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure Manual) หมายถึง เอกสารที่กําหนดรายละเอียดการทํางานของหนวยงานในองคกรอยางเปนกระบวนการ เปนข้ันตอนและมีความตอเนื่อง (ถาทําได) ในคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานจะตองระบุผูปฏิบัติ กระบวนการทํางาน และเอกสารที่เกี่ยวของในแตละขั้นตอนนั้น และอาจจะเปนกระบวนการทํางานอยางเปนลําดับของแผนกงานเดียว หรือหลายแผนกงานก็ได เชนคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานรับฟอง คูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานการเก็บสํานวนคดีดํา เปนตน

1.5 วิธีการทํางาน (Work Instruction) หมายถึง เอกสารที่กําหนดวิธีการทํางานเปนรายละเอียด ที่ไมเหมาะสมจะกําหนดไวในคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงาน เพราะจะทําใหคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานมีความยาว และมีรายละเอียดมากเกินไป โดยทั่วไปเอกสารวิธีการทํางานจะเปนการแสดงรายละเอียดการทํางานเฉพาะในแตละขั้นตอนของคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานที่จําเปนตองขยายความเพิ่มเติมของผูปฏิบัติงานเดียว เชน วิธีการทํางานการจัดทําสํานวน ที่เปนสวยยอยอยูในคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานรับฟองหรืองานหนาบัลลังก เปนตน

1.6 เอกสารสนับสนุน (Supporting Documents) หมายถึง เอกสารอื่นนอกเหนือจากเอกสารทั้ง 3 ประเภทที่กลาวขางตนที่หนวยงานจําเปนตองมีไวเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานใหมีคุณภาพตรงตามมาตรฐานนี้ และจะตองจัดเก็บ และควบคุมใหเปนระบบใหสามารถคนหาไดงาย เชนประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือคูมือตางๆ เปนตน

Page 21: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

21

1.7 บันทึก (Records) หมายถึง เอกสารหรือขอมูลทางอิเลคทรอนิกสที่ผูปฏิบัติงานจัดทําข้ึนเมื่อการปฏิบัติกิจกรรมเสร็จส้ินแลว เพื่อเปนหลักฐานในการปฏิบัติงานสําหรับกิจกรรมนั้นๆ

1.8 การปรับปรุงอยางตอเนื่อง (Continual improvement) หมายถึง กิจกรรมที่องคกรกําหนดและดําเนินการเพื่อปรับปรุงสมรรถนะของระบบการจัดการงานธุรการอยางตอเนื่อง การปรับปรุงนี้มักจัดทําเปนโครงการและมีข้ันตอนของกิจกรรมคลายคลึงกันโดยมีระยะเวลาแตละโครงการไมควรเกิน 5 เดือน

หมายเหตุ การคนหาและแกปญหาตางๆที่เกิดข้ึนในองคกรตามระบบ QCC ถือวาเปนกิจกรรมการปรับปรุงอยางตอเนื่องเชนกัน

1.9 ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง อัตราสวนระหวางผลของกิจกรรมที่ปฏิบัติกับทรัพยากรท่ีใช

1.10 ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง อัตราเปนรอยละของผลของกิจกรรมที่ปฏิบัติเมื่อเทียบกับแผนที่กําหนดไว

1.11 สภาพแวดลอมในการทํางาน (Working environment) หมายถึง สภาพแวดลอมตางๆท่ีองคกรตองจัดใหมีเพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปตามมาตรฐานการจัดการงานธุรการศาลยุติธรรมนี้สภาพแวดลอมในการทํางานอาจประกอบดวยปจจัยดานความเปนมนุษย (Human factor) และปจจัยทางกายภาพ (Physical factor)

1.12 ผูรับบริการ (Customer) หมายถึง บุคคล กลุมบุคคลหรือองคกรที่ไดรับผลิตผลและการบริการจากองคกรโดยตรง

1.13 ผูมีสวนไดเสีย (Interested party) หมายถึง บุคคล กลุมบุคคล หรือองคกรที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติงานขององคกรที่จัดทําระบบการจัดการงานธุรการตามมาตรฐานนี้

1.14 การช้ีบง (Identification) หมายถึง ส่ิงที่องคกรจัดทําข้ึนเพื่อใหผูเกี่ยวของทราบสถานะของสิ่งของหรือกิจกรรมท่ีองคกรจัดทําตามมาตรฐานการจัดการงานธุรการศาลยุติธรรมนี้ การชี้บงอาจเปนแผนปายหรือส่ิงที่คลายกันก็ได

1.15 การตรวจยอนกลับได (Traceability) หมายถึง ความสามารถขององคกรที่จะสอบกลับจากผลของกิจกรรมที่ปฏิบัติไมวาจะอยูในขั้นตอนใดของระบบไปจนถึงตนทางที่เปนจุดเริ่มตนของกิจกรรมในระบบ

1.16 สิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนด (Non-conformity) หมายถึง ผลของกิจกรรมที่องคกรปฏิบัติซึ่งไมสอดคลองกับขอกําหนดในมาตรฐานการจัดการงานธุรการศาลยุติธรรมนี้

Page 22: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

22

1.17 การปฏิบัติการแกไข (Corrective action) หมายถึง กิจกรรมที่องคกรปฏิบัติเพื่อกําจัดสาเหตุหรือตนตอของสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนดที่เกิดข้ึน การปฏิบัติการแกไขใหรวมถึงการปฏิบัติเพื่อปองกันไมใหส่ิงที่ไมเปนไปตามขอกําหนดเกิดข้ึนซ้ําดวย

1.18 การปฏิบัติการปองกัน (Preventive action) หมายถึง กิจกรรมท่ีองคกรปฏิบัติเพื่อกําจัดสาเหตุหรือตนตอของสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนดท่ีอาจเกิดข้ึนหรือมีแนวโนมวาจะเกิดข้ึน

หมายเหตุ การปฏิบัติการปองกันตามขอ 1.18 เปนการปฏิบัติการปองกันสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนดที่ยังไมเคยเกิดข้ึนมากอน สวนการปองกันไมใหเกิดข้ึนซ้ําถือเปนกิจกรรมสวนหนึ่งของขอ 1.17

1.19 การตรวจติดตามภายใน (Internal audit) หมายถึง กิจกรรมที่องคกรปฏิบัติเพื่อตรวจดูวาระบบท่ีจัดทําข้ึนสอดคลองกับมาตรฐานการจัดการงานธุรการศาลยุติธรรมหรือไม เพื่อดูวาระบบที่จัดทําข้ึนไดรับการนําไปปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลหรือไม และเพื่อเปนการเตรียมพรอมกอนที่ผูตรวจประเมินภายนอกจะมาทําการตรวจประเมินระบบเพื่อใหการรับรอง การตรวจติดตามภายในจะตองดําเนินการโดยบุคลากรภายในขององคกรเอง และผูตรวจติดตามภายในจะตองเปนผูที่ผานการฝกอบรมการตรวจติดตามภายในและประเมินผลผานแลวเทานั้น

1.20 หลักฐานที่เปนรูปธรรม (Objective evidence) หมายถึง หลักฐานของสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนดที่พบจากการตรวจติดตามภายในหรือการตรวจประเมินระบบท่ีสามารถสัมผัสได (Tangible) และเปนหลักฐานสนับสนุนที่ทําใหสามารถตรวจสอบซ้ําไดในกรณีที่เกิดขอโตแยงในการตรวจประเมิน 2. ขอกําหนดทั่วไปและระบบเอกสาร (General requirements and documentation)

2.1 ขอกําหนดทั่วไป (General requirements) 2.1.1 องคกรตองสรางระบบการจัดการงานธุรการใหเปนไปตามมาตรฐานนี้ 2.1.2 องคกรตองจัดทําระบบการจัดการงานธุรการไวเปนเอกสาร 2.1.3 ในการจัดทําเอกสารของระบบการจัดการงานธุรการ องคกรตองกําหนด

รูปแบบของการทํางานตางๆเปนกระบวนการ 2.1.4 องคกรตองแสดงลําดับกอนหลัง และการประสานซึ่งกันและกันของ

กระบวนการเหลานั้น

Page 23: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/259.pdfสร ประเบ ยบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก ไขเพ มเต

23

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740