89
พระราชบัญญัติ การเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช 2456 _______ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว ใหประกาศจงทราบทั่วกันวา ไดทรงพระราชดําริ เห็นวาพระราชบัญญัติวาดวยการเดินเรือในนานน้ําไทยที่ไดตราขึ้นไวเมื่อวันที25 มิถุนายน รัตนโกสินทร ศก 124 นั้น ยังมีบกพรองอยูหลายประการ สมควร จะเปลี่ยนแกใหสมกับกาลสมัย เพราะฉะนั้นจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ใหตรา พระราชบัญญัติขึ้นไวดังตอไปนีความเบื้องตน และอธิบายบางคําที่ใชในพระราชบัญญัตินี_________ มาตรา 1* พระราชบัญญัตินีใหเรียกวา พระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช 2456 *[พระราชบัญญัตินี้เดิมเรียกวา "พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ํา สยาม พระพุทธศักราช 2456" ตอมารัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมวาดวยนามประเทศ พุทธศักราช 2482 มาตรา 3 บัญญัติวา นามประเทศนี้ใหเรียกวา ประเทศไทย และบทแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่นใด ซึ่งใชคําวา สยาม ใหใชคําวา ไทย แทนจึงไดแกไขคําวา "สยาม" เปน "ไทย" [รก.2482/-/980]] มาตรา 2 ใหใชพระราชบัญญัตินี้เปนกฎหมายตั้งแตวันที1 กันยายน พระพุทธศักราช 2456 เปนตนไป *[รก.2456/-/64/5 สิงหาคม 2456] มาตรา 3* ในพระราชบัญญัตินี"เรือ" หมายความวา ยานพาหนะทางน้ําทุกชนิด ไมวาจะใชเพื่อ บรรทุกลําเลียง โดยสาร ลาก จูง ดัน ยก ขุดหรือลอก รวมทั้งยานพาหนะ อยางอื่นที่สามารถใชในน้ําได ทํานองเดียวกัน "เรือกําป" หมายความวา เรือที่เดินดวยเครื่องจักรกลหรือดวยใบ และไมไดใชกรรเชียง แจวหรือพาย

พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

พระราชบัญญตัิ การเดินเรือในนานน้าํไทย พระพทุธศักราช 2456

_______ มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฏเกลาเจาอยูหวั ใหประกาศจงทราบทั่วกันวา ไดทรงพระราชดําริ เห็นวาพระราชบัญญัติวาดวยการเดินเรอืในนานน้ําไทยที่ไดตราขึ้นไวเมื่อวนัที ่ 25 มิถุนายน รัตนโกสนิทร ศก 124 นัน้ ยังมีบกพรองอยูหลายประการ สมควร จะเปลี่ยนแกใหสมกับกาลสมัย เพราะฉะนัน้จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตรา พระราชบัญญัติข้ึนไวดังตอไปนี้

ความเบื้องตน และอธิบายบางคําที่ใชในพระราชบัญญัตินี ้

_________ มาตรา 1* พระราชบญัญัตินี้ ใหเรียกวา พระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้ําไทย พระพทุธศักราช 2456 *[พระราชบัญญัตินี้เดิมเรียกวา "พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ สยาม พระพทุธศักราช 2456" ตอมารัฐธรรมนญูแกไขเพิ่มเติมวาดวยนามประเทศ พุทธศกัราช 2482 มาตรา 3 บัญญัติวา นามประเทศนีใ้หเรียกวา ประเทศไทย และบทแหงรัฐธรรมนูญหรอืกฎหมายอื่นใด ซึ่งใชคําวา สยาม ใหใชคําวา ไทย แทนจงึไดแกไขคําวา "สยาม" เปน "ไทย" [รก.2482/-/980]] มาตรา 2 ใหใชพระราชบัญญัตินี้เปนกฎหมายตัง้แตวันที ่1 กนัยายน พระพทุธศักราช 2456 เปนตนไป *[รก.2456/-/64/5 สิงหาคม 2456] มาตรา 3* ในพระราชบัญญัตินี้ "เรือ" หมายความวา ยานพาหนะทางน้ําทุกชนิด ไมวาจะใชเพือ่ บรรทุกลําเลยีง โดยสาร ลาก จูง ดัน ยก ขุดหรือลอก รวมทัง้ยานพาหนะ อยางอืน่ที่สามารถใชในน้ําได ทํานองเดียวกัน "เรือกําปน" หมายความวา เรือที่เดนิดวยเครื่องจกัรกลหรือดวยใบ และไมไดใชกรรเชียง แจวหรือพาย

Page 2: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

"เรือกําปนไฟ" หรือ "เรือกลไฟ" หมายความวา เรือที่เดินดวย เครื่องจักรจะใชใบดวยหรือไมก็ตาม และใหหมายความรวมตลอดถงึเรือ กําปนยนตดวย "เรือกําปนยนต" หรือ "เรือยนต" หมายความวา เรือที่เดินดวย เครื่องยนตจะใชกําลงัอื่นดวยหรือไมก็ตาม "เรือกําปนใบ" หรือ "เรือใบ" หมายความวา เรือที่เดนิดวยใบ และไมใชเครื่องจักรกล "เรือกล" หมายความวา เรือที่เดินดวยเครื่องจักรกล และใชกําลัง อ่ืนดวยหรือไมก็ตาม "เรือกลไฟเล็ก" หมายความวา เรือทีม่ีขนาดต่ํากวาสามสิบตันกรอสส ที่เดินดวยเครื่องจักร "เรือเดินทะเล" หรือ "เรือทะเล" หมายความวา เรือที่มีลักษณะ สําหรับใชในทะเล ตามกฎขอบังคับสําหรบัการตรวจเรือ "เรือเล็ก" หมายความวา เรือที่เดินดวยกรรเชียง แจวหรือพาย "เรือโปะ" หรือ "เรือโปะจาย" หมายความวา เรือทะเลที่มีรูปราง แบบยุโรปและเครื่องเสาเพลาใบอยางแบบจีน หรือแบบประเทศใด ๆ ในเอเซีย "เรือเปดทะเลและอื่น ๆ" หรือ "เรือเปดทะเลและเรืออ่ืน ๆ" หมายความวา เรือที่ใชใบในเวลาเดินทะเล และใชใบหรือกรรเชียงหรือแจว ในเวลาเดินในลําแมน้ํา และใหหมายความรวมตลอดถึงเรือฉลอมทะเล เรือ เทงฉลอมทายญวน หรือเรือสามกาวดวย "เรือสําเภา" หมายความวา เรือเดินทะเลตออยางแบบจีน หรือ แบบประเทศใด ๆ ในเอเซีย "เรือบรรทุกสินคา" หมายความวา เรือที่ไมมีดาดฟาหรือมีไมตลอดลํา เดินดวยกรรเชียง แจว หรือพาย หรือบางทีใชใบ และใชสําหรับบรรทุกสินคา "เรือลําเลียง" หมายความวา เรือที่มิใชเรือกล และใชสําหรับ ลําเลียง หรือขนถายสินคาจากเรือกาํปน หรือบรรทุกสินคาสงเรือกาํปน "เรือลําเลียงทหาร" หมายความวา เรือที่ใชในการลําเลียงทหาร ทั้งนี้ไมวาจะเปนเรือของทางราชการทหารหรือไมก็ตาม "เรือโดยสาร" หมายความวา เรือทีบ่รรทุกคนโดยสารเกินสิบสองคน "เรือสินคา" หมายความวา เรือที่มิใชเรือโดยสาร "เรือประมง" หมายความวา เรือที่ใชสําหรับการจบัสัตวน้ํา หรือ

Page 3: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ทรัพยากรทีม่ีชีวิตอื่น ๆ ที่อยูในทะเล "เรือสําราญและกีฬา" หมายความวา เรือที่ใชสําหรับหาความสําราญ หรือเรือที่ใชเพื่อการเลนกฬีาโดยเฉพาะ และไมไดใชเพื่อการคา การทหาร หรือ การคนควาทางวิทยาศาสตร "เรือไมที่ตอแบบโบราณ" หมายความวา เรือใบเสาเดียว เรือสําเภา หรือเรือไม ทีต่อตามแบบเรือที่ใชอยูในสมยัโบราณ "แพ" หมายความรวมตลอดถึงโปะ อูลอย และส่ิงลอยน้ําอืน่ที่มลัีกษณะ คลายคลึงกนั "แพคนอยู" หมายความวา เรือนทีป่ลูกอยูบนแพ และลอยอยูในลําแมน้ํา หรือลําคลอง "ตันกรอสส" หมายความวา ขนาดของเรือที่คํานวณไดตามกฎขอบังคับ สําหรับการตรวจเรือตามมาตรา 163 "นานน้าํไทย" หมายความวา บรรดานานน้าํที่อยูภายใตอํานาจอธิปไตย ของราชอาณาจักรไทย และในกรณีตามมาตรา 17 มาตรา 119 มาตรา 119 ทว ิ มาตรา 120 มาตรา 121 มาตรา 133 มาตรา 204 และมาตรา 220 แหง พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พระพทุธศักราช 2456 ใหหมายความ รวมถึงนานน้าํที่อยูในเขตตอเนื่องของราชอาณาจักรไทยดวย *[แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํไทย (ฉบับที่ 15) พ.ศ. 2540] "เมืองทา" หมายความวา ทําเล หรือถิ่นที่จอดเรือเพื่อขนถาย คนโดยสารหรือของ "นายเรอื" หมายความวา ผูควบคุมเรือกําปน หรือเรืออ่ืน ๆ แตไมรวมถึงผูนํารอง "คนประจําเรือ" หมายความวา คนที่มีหนาทีท่ําการประจําอยูในเรือ "ลูกเรือ" หมายความวา คนประจาํเรือนอกจากนายเรือ "คนโดยสาร" หมายความวา คนทีอ่ยูในเรือ เวนแต (1) คนประจําเรือ หรือผูอ่ืนที่รับจางทาํงานในเรือนั้น (2) เด็กที่มีอายุต่ํากวาหนึง่ป "เจาทา" หมายความวา อธิบดีกรมเจาทา หรือผูซึง่อธิบดีกรมเจาทา มอบหมาย "เจาพนกังานออกใบอนุญาต" หมายความวา อธิบดีกรมเจาทา หรือ

Page 4: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ผูซึ่งอธิบดีกรมเจาทามอบหมายใหทําการออกใบอนญุาต "เจาพนกังานตรวจเรือ" หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง คมนาคมแตงตั้งใหมีหนาทีต่รวจเรือตามพระราชบัญญตัินี้ *[มาตรา 3 แกไขโดยพระราชบัญญตัิการเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525] มาตรา 4 ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 5 ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 6 ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 7 ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 8* ในพระราชบัญญัตินี้แหงใดมีบัญญัติวาดวยการออกอนุญาต อยางใด ๆ ตามซึ่งเจาทาเหน็จําเปนจะตองออกเปนหนังสือ ใหเจาทามีอํานาจ เรียกคาธรรมเนียมสาํหรับใบอนุญาตเชนนั้นตามอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง แตไมเกินหนึง่รอยบาท *[มาตรา 8 แกไขโดยพระราชบัญญตัิฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 9* พระราชบญัญัติวาดวยการเดินเรือในนานน้าํไทย รัตนโกสินทรศก 124 ประกาศลงวนัที ่17 กรกฎาคม รัตนโกสนิทรศก 125 วาดวยการตัง้ศาลทะเล ประกาศลงวนัที ่19 มีนาคม รัตนโกสนิทรศก 125 วาดวยการออกใบอนุญาตสําหรับเรือบรรทุกสินคาและเรือเล็ก และประกาศ ลงวนัที ่22 เมษายน รัตนโกสินทรศก 129 วาดวยเรือกลไฟที่ใชสําหรบั รับจางนัน้ ทานใหยกเลกิเสีย แตการที่ยกเลิกนี้ทานวามิไดเกี่ยวแกการอยางใด ที่ไดมีผูกระทาํไวแตกอนหรือแกความผิดอยางใดซึง่ไดกระทาํไวแตกอนเวลา ประกาศใหใชพระราชบัญญัตินี้ *[มาตรา 9 แกไขโดยประกาศแกไขพระราชบัญญตัิการเดินเรือใน นานน้าํไทย พ.ศ. 2456 ลงวันที ่5 กันยายน พ.ศ. 2456]

Page 5: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 10 กฎสําหรบัปองกนัมิใหเรือโดนกัน พระพุทธศักราช 2456 นั้น ทานวามใิชสําหรับแตเรือกําปนไทยฝายเดียว ใหใชไดตลอดถึงเรือกําปน ทั้งหลายที่เดนิในบรรดาเขตทาและเขตทีท่อดจอดเรือของพระราชอาณาจักรไทย แตอยาใหขัดกับพระราชบญัญัตินี้ เมื่อจะตองเปนการขัดเชนนัน้ไซร ตองใหถือเอา ขอบังคับในพระราชบัญญตัินี้เปนใหญ ดังไดวาไวในขอ 30 แหงกฎนัน้ และทานวา ผูเปนเจาของและเปนนายเรือทุกลํา ตองถือและกระทาํตามกฎนัน้จงทุกประการ มาตรา 11 การลงโทษจําคุกหรือปรับนั้น ถาจาํเลยเปนคนในบังคับ ตางประเทศซึ่งมีกงสุลผูแทน ที่มีอํานาจฝายตุลาการสาํหรับประเทศนั้นตัง้อยูใน พระราชอาณาจักรไทย ทานวาตองเปนหนาที่ของศาลกงสุลนัน้บงัคับใหเปนไป ตามโทษานโุทษ มาตรา 11 วรรคสอง [ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2479 (ฉบับที ่5)] ภาค 1 ขอบังคบัทั่วไป ______ หมวดที่ 1 การเดินเรือ เขตทาเรือ และเขตจอดเรือ ______ มาตรา 12* รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมมอํีานาจออก กฎกระทรวงดังตอไปนี้ (1) กําหนดแนวแมน้าํลําคลองหรือทะเลอาณาเขตแหงใดเปนเขต ทาเรือ และเขตจอดเรือ (2) กําหนดทางเดินเรือทั่วไปและทางเดนิเรือในเขตทาเรือ นอกจากทางเดินเรือในเขตทาเรือกรงุเทพฯ *[มาตรา 12 แกไขโดยพระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2510] มาตรา 13* ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510]

Page 6: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 14* ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 15* ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 16* ยกเลิกแลว [โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] หมวดที่ 2* หนาทีน่ายเรือเมื่อเวลาเรือเขามาหรือออกจากนานน้าํไทย ______ มาตรา 17* เรือกําปนตามประเภทที่เจาทาประกาศกําหนดลาํใด เมื่อเขามาในนานน้าํไทยตองปฏิบัติดังนี ้ (1) แจงตอเจาทา (2) ชักธงสําหรับเรือนั้นขึน้ใหปรากฏ (3) ติดตั้งและเปดใชโคมไฟตั้งแตเวลาพระอาทิตยตกถึงเวลา พระอาทิตยข้ึน การปฏบิัติตาม (1) (2) และ (3) ใหเปนไปตามหลกัเกณฑและ วิธีการที่เจาทาประกาศกาํหนด *[มาตรา 17 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่15) พ.ศ. 2540] มาตรา 18* เรือกลที่เปนเรือเดินทะเล และเปนเรือไทยขนาด ตั้งแตหกสิบตันกรอสสข้ึนไป และเรือกําปนตางประเทศ เมื่อเขามาในเขตทาเรือ ใด ๆ ในนานน้ําไทย นายเรอืตองรายงานการเขามาถงึตอเจาทาตามแบบพิมพ ของกรมเจาทาภายในเวลายี่สิบส่ีชัว่โมง นับแตเวลาทีจ่อดเรือเรียบรอย *[มาตรา 18 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 19* เรือกลที่เปนเรือเดินทะเลและเปนเรือไทยขนาดตั้งแต หกสิบตันกรอสสข้ึนไป และเรือกําปนตางประเทศที่เตรยีมจะออกไปจากเขต ทาเรือใด ๆ ในนานน้ําไทย นายเรือตองชกัธงลา (คือธงที่เรียกวา บลูปเตอร) ถาเรือกําหนดออกในเวลาบายใหชกัธงขึ้นในเวลาเชา ถาเรือกาํหนดออกใน เวลาเชาใหชกัธงขึน้ในเวลาบายของวนักอน *[มาตรา 19 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525]

Page 7: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 20* เรือกําปนตางประเทศ เมื่อเขามาในเมืองทาของ ประเทศไทย ซึ่งมิไดกําหนดเปนเขตทาเรือ นายเรือตองรายงานการเขา มาหรือออกไปตอเจาทาภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมงนับแตเรือเขามาหรือกอน เรือออกไปและตองปฏิบัติตามคําสั่งเจาทา *[มาตรา 20 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 21* เรือกลที่เปนเรือเดินทะเลและเปนเรือไทยขนาด ตั้งแตหกสิบตันกรอสสข้ึนไป เมื่อจะออกจากเขตทาเรือใด ๆ ในนานน้าํไทย นายเรือตองแจงกําหนดออกเรือตอเจาทากอนออกเรอืเปนเวลาไมนอยกวา หกชั่วโมง เพือ่ใหเจาทาตรวจสอบวาปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายหรือไมเสียกอน เมื่อเหน็วาถกูตองแลวจงึอนุญาตใหออกเรือได *[มาตรา 21 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 22* เรือกําปนที่ใชเดนิทะเลระหวางประเทศลําใดที่ตองม ี ใบสําคัญตามที่กาํหนดในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือตามมาตรา 163 เมื่อจะออกจากเขตทาเรือใด ๆ ในนานน้าํไทย นายเรือตองแจงกาํหนดออก เรือตอเจาทากอนออกเรือเปนเวลาไมนอยกวาหกชั่วโมง เพื่อใหเจาทาตรวจ ใบอนุญาตใชเรือ และใบสําคัญดังกลาว ตลอดจนอุปกรณและเครื่องมือเครื่องใช ใหถูกตองและใชการได *[มาตรา 22 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 23* เรือกลที่เปนเรือเดินทะเลและเปนเรือไทย และเรือ กําปนตางประเทศที่ตองมีใบสําคัญตามที่กําหนดในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ ตามมาตรา 163 เมื่อจะออกจากเขตทาเรอืใด ๆ ในนานน้ําไทยยงัเมืองทาตาง ประเทศ นายเรือจะตองไดรับใบอนุญาตเรือออกจากทาจากเจาทาเสียกอน *[มาตรา 23 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 24* ผูใดฝาฝนมาตรา 17 มาตรา 18 มาตรา 19 มาตรา 20 มาตรา 21 มาตรา 22 หรือมาตรา 23 ตองระวางโทษปรับ ตั้งแตหารอยบาทถึงหาพันบาท *[มาตรา 24 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

Page 8: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 25 นายเรือกาํปนลาํใดที่เขามาถึงแลว เมื่อกอนจะเปด ระวางเอาสนิคาขึ้นจากเรือ ตองทาํรายงานบัญชีสินคาที่มีมาในเรือลํานัน้ โดยถี่ถวนยืน่ตอกรมศุลกากร และนายเรือกําปนลําใดที่จะออกไปตองทํารายงานบัญชีสินคาในเรือ โดยถี่ถวน ยื่นตอกรมศุลกากรภายในหกวันกอนเวลาทีไ่ป และตองยืน่รายงาน บอกแจงจํานวนเพศ และชาติของคนโดยสารในเรือนัน้ ตอเจาพนักงานศุลกากร ที่เมืองสมุทรปราการดวย เรือกําปนลําใดทีเ่ขามาในเขตทา ถานายเรือยังไมทราบพระราช บัญญัตินี้ ก็ใหเจาพนักงานจัดหาใหไวเลมหนึง่และคิดราคาสองบาท มาตรา 26 เรือกําปนเดินทะเลลําใดที่เตรียมจะไปจากเขตทาตอง ชักธงลา (คือธงทีเ่รียกวา บลูปเตอร) ข้ึนบนเสาหนาและตองชักไวจนกระทั่ง เรือออกเดิน ถาเปนเรือที่กาํหนดจะออกเวลาบาย ตองชักธงลาขึ้นไวเสียตั้งแต เวลาเชา ถากําหนดจะออกเวลาเชา ตองชักธงลาขึน้ไวใหปรากฏเสียตั้งแตตอน บายวนักอน มาตรา 27* เรือกําปนไฟลําใดกาํลงัปลอยถอยหลังใหลองตามน้ํา ลงมาในเขตทากรงุเทพฯ ตองชักธงสัญญาณที่เรียกวาธง L.U. ตามแบบขอบังคับ ธงระหวางนานาประเทศไวขางตอนหนาเรือ ในที่แลเหน็ไดโดยงาย และถาม ี เรือกําปนไฟลําอื่นกาํลังแลนตามน้ําลงมาดวย ใหเรือกําปนลาํที่ปลอยถอยหลังนั้น ออกกลางน้าํ และใหใกลทีสุ่ดที่จะเปนไดกับพวกเรือที่จอดทอดสมออยูกลางลําน้ํา และคอยอยูที่นัน้จนกวาเรอืลําที่แลนตามน้ําลงมาจะแลนพนไป ถาเรือที่กําลงั ปลอยถอยหลังใหลองตามน้ําลงมานัน้เปนเรือโปะ หรือโปะจาย หรือเรือสําเภา ตองชักเครื่องสัญญาณเปนรูปลูกตะกรอสีดํากวางไมต่ํากวาหาสิบเซนติเมตร ไวใน ที่แลเหน็ไดโดยงาย *[มาตรา 27 แกไขโดยประกาศแกไขพระราชบัญญัติการเดินเรอื ในนานน้ําไทย พ.ศ. 2456 ลงวนัที ่5 กันยายน พ.ศ. 2456 และอักษรโรมัน L.U. แกไขโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํไทย แกไข เพิ่มเติม พุทธศักราช 2477] มาตรา 28 นายเรือคนใดกระทาํความละเมิดตอบัญญัติในมาตรา 22

Page 9: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

23, 24, 25, 26 และ 27 แหงพระราชบญัญัตินี้ ทานวาตองระวางโทษปรับ เปนเงนิไมเกนิสี่รอยบาท หมวดที ่3 วาดวยทําเลทอดจอดเรือ _______ มาตรา 29 ภายในเขตทากรงุเทพฯ ถาเรือกาํปนลําใดที่มิไดผูกจอด เทียบเทาเรือหรือทําโรงพกัสินคา เรือกําปนลํานั้นตองทอดสมอจอดอยูกลางลําน้ํา ดวยสมอสองตัว มีสายโซใหพอทั้งสองตวัเพื่อกนัมิใหเรือเกาสมอเคลื่อนจากทีน่ั้นได มาตรา 30 เรือเก็บสินคา เรือทองแบน และเรือใด ๆ ที่ทอดจอด ประจําอยูนัน้ ตองผูกจอดอยูกับสมอทุนอยางมั่นคงสมกับกาํลังของสายโซที่ทอดอยูนัน้ มาตรา 31 หามมิใหเรือกําปน เรือเก็บสินคา เรือทองแบนอยางใด ๆ ทอดสมอ หรือผูกจอดอยูในทางเรือเดนิในลําแมน้ําเปนอันขาด มาตรา 32 หามมิใหเรือกําปนลาํใดที่ผูกจอดเทียบทาเรือ ทาพกัสินคา หรือเทียบฝงนั้น ทอดสมอลงไปในแมน้าํหางจากหวัเรอืเกินกวาสามสิบเมตร มาตรา 33 เรือลําใดที่เจาทาไมยอมออกใบอนุญาตให หรือเรียกคืน หรือยึดใบอนุญาตไว โดยเรือนั้นมีความไมสมประกอบสําหรับเดนิทะเลนั้น ตองให ผูกจอดทอดไวในที่ใดที่หนึง่ซึ่งเจาทาจะกําหนดให มาตรา 34 เรือโปะหรือเรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือสําเภา เรือบรรทุกสินคา เรือเปดทะเล และเรืออ่ืน ๆ ตองจอดทอดสมอกลางแมน้าํ และถาไมเปนการขัดขวาง ก็ใหทอดจอดคอนขางฝงตะวันตก แตตองไวชองทาง เรือเดินไมนอยกวารอยเมตร ในระหวางเรอืกับฝงตะวนัตก หรือกับบรรดาเรือที่ จอดเทียบฝงตะวันตก หรือกับแพคนอยูทีผู่กเทยีบอยูกบัฝงตะวนัตก มาตรา 35 บรรดาเรือโปะ หรือเรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือสําเภา เรือบรรทุกสินคา เรือเปดทะเล และเรืออ่ืน ๆ ที่ไมไดใชการนั้น ตองใหถอยไปอยูทีท่ําเลสาํหรับทอดจอดเรือแหงใดแหงหนึง่ในเขตทาตามที่เจาทา เห็นสมควรจะกําหนดตามครั้งคราว และประกาศใหทราบทัว่กนัในหนงัสือราชกิจจา

Page 10: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

นุเบกษา และในหนงัสือพมิพจดหมายเหตุในทองที่ตั้งแตสองรายขึน้ไป มาตรา 36 หามมิใหเรือกําปนเดนิทะเลลําใดจอดทอดสมอตาม ลําแมน้ํา ในระหวางคลองสะพานหันกับคลองบางลาํภบูน เวนไวแตมีเหตุจําเปน เพราะในระหวางสองตําบลนั้นเปนที่ทอดจอดเรือรบไทย และบรรดาเรือกําปน เดินทะเลหรอืเรือรบตางประเทศจะแลน หรือมีเรืออ่ืนจูงผานคลองสะพานหัน ข้ึนไปตามลําแมน้ํานั้น ใหถอืเปนการมิชอบดวยกฎหมาย เวนไวแตจะไดรับอนุญาต พิเศษจากเจาทา และโดยอาศัยขอบังคบักํากับอนุญาตนั้นอยูดวยตามซึ่งเจาทา จะเหน็สมควร มาตรา 37* ถาไมมีเหตุฉุกเฉนิอันจําเปนที่จะตองทาํเชนนัน้ หามมิให เรือกําปนลาํใด จอดทอดสมอในลําแมน้าํ ระหวางวัดบุคคโล กับ ในระยะทาง 200 เมตร ใตปากคลองบางปะแกว และระหวางปากคลองผดุงกับคลองสําเพง็ เพราะในระหวางตําบลเหลานี้เปนทําเลยกเวนไวสําหรบัทางใหเรือเดนิขึ้นลอง *[มาตรา 37 แกไขโดยประกาศแกไขพระราชบัญญัติการเดินเรอื ในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2456] มาตรา 38* เรือกําปนทกุลําที่บรรทุกคนโดยสารหรือของจากเมืองทา หรือตําบลใด ๆ ในตางประเทศเขามาในแมน้ําเจาพระยา หรือเรือใด ๆ ที่เขามา ในแมน้ําเจาพระยาโดยขนถายคนโดยสารหรือของจากเรือกําปนมาจากตางประเทศ เมื่อผานดานสมุทรปราการแลว ถาจะสงคนโดยสารหรือของที่บรรทุกมานัน้ขึ้นบก ตองจอด ณ ที่จอดเรือ หรือเทียบทาเทียบเรือของการทาเรือแหงประเทศไทย เวนไวแตเมื่อที่จอดเรือ หรือทาเทียบเรือไมวางพอจะจอดหรือเทียบได หรือ เพราะเหตุจําเปนอยางอืน่ ซึ่งถาตรงตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการกําหนดไว และอธิบดีกรมเจาทาลงนามอนุญาตแลว จึงจะเขาจอดหรือเทียบในทีท่ี่ไดรับ อนุญาตได คณะกรรมการดังกลาวในวรรคหนึง่ใหมีจาํนวนหาคน ประกอบดวย อธิบดีกรมเจาทาเปนประธานกรรมการ อธิบดีกรมศุลกากร และผูอํานวยการการ ทาเรือแหงประเทศไทยเปนกรรมการโดยตําแหนง และบุคคลอื่นอีกสองคนซึง่ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมแตงตั้ง *[มาตรา 38 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510]

Page 11: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 38 ทวิ* การประชุมของคณะกรรมการเพือ่ปฏิบัติการตาม ความในมาตรา 38 ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึง่จํานวนกรรมการ ทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม ในกรณทีี่ประธานกรรมการไมสามารถมาประชุม ใหที่ประชุมเลอืก กรรมการคนหนึง่เปนประธาน การลงมติวินิจฉัยของคณะกรรมการใหถือเสียงขางมากเปนประมาณ ถามีคะแนนเสียงเทากัน ใหผูนั่งเปนประธานออกเสยีงอกีเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด *[มาตรา 38 ทว ิเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่9) พ.ศ. 2493] มาตรา 38 ตรี* ภายใตบังคับมาตรา 38 ใหเจาทามีอํานาจที่จะ กําหนดทีท่อดจอดเรือสําหรับเรือกําปนและเรือเล็กทกุลํา และนายเรือตอง เอาเรือไปทอดจอดตามที่เจาทาจะชี้ให และหามมิใหเอาเรือไปจากทีน่ั้น หรือ ยายไปทอดจอดที่อ่ืนโดยมิไดรับอนุญาตจากเจาทา เวนแตเมื่อมีเหตุจําเปน ซึ่งเจาทาจะพิเคราะหเหน็สมควร เมื่อเรือกําปนลําใดกาํลังเขามา นายเรือจะตองยอมใหเจาทาขึ้นไป บนเรือ และถาจําเปนจะหยุดเรือรอรับก็ตองหยุด *[มาตรา 38 ตรี เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่9) พ.ศ. 2493] มาตรา 38 จัตวา* นายเรือหรือผูที่ควบคุมเรือลําใดไมปฏิบัติตาม มาตรา 38 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 38 ตรี ตองระวางโทษปรับต้ังแตสามพนับาท ถึงสามหมืน่บาท และปรับเปนรายวนัวนัละหนึ่งพันบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง *[มาตรา 38 จัตวา เพิม่เติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2493] มาตรา 39 เรือกําปนลําใดเมื่อเขามาถึงในเขตทาแลว มิได กระทําการถายสินคา หรือขนสินคาขึน้เรอือยางหนึง่อยางใด นับต้ังแต 10 วัน ข้ึนไปก็ดี ทานวาถาจะตองการเอาที่ซึ่งเรือลํานัน้จอดอยูใหเรืออ่ืนที่ใชในการ คาขายทอดจอด ก็ใหถอยเรือที่ไมไดทําการเชนวานัน้ ไปทอดจอดในที่อ่ืนภายใน เขตทาตามทีเ่จาทาจะกําหนดให มาตรา 40* เรือกําปนลําใดตองการจะเปลี่ยนทีท่อดจอด หรือ เรือกําปนลาํใดที่เทียบทาเรือ หรือทาสนิคา ตองการจะหาทีท่อดจอดในลําแมน้าํ ก็ใหชักธงสญัญาณอักษร B.A.Z. ตามแบบขอบังคับระหวางนานาประเทศสําหรับ

Page 12: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

การใชธงสัญญาณ แลวเจาทาจะไดข้ึนไปบนเรือลํานั้นและชี้ใหทอดจอด *[มาตรา 40 แกไขโดยพระราชบัญญตัิฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศักราช 2477] มาตรา 41* เรือกําปนลําใดตองการใหกองตระเวนมาชวย ก็ให ชักธงสัญญาณหมายอักษร S.T. ตามแบบขอบังคับระหวางนานาประเทศสําหรับ การใชธงสัญญาณ ถามีเหตุสําคัญขัดขืนตอการบังคับบัญชาเกิดขึ้นในเรือฉะนัน้แลว ใหชักธงสัญญาณหมายอกัษร R.X. *[มาตรา 41 แกไขโดยพระราชบัญญตัิฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศักราช 2477] มาตรา 42 กอนทีเ่รือกําปนไฟหรือเรือกําปนใบเดนิทะเลลําใด จอดทอดหรือผูกจอดเปนปกตินั้น หามมิใหเรืออ่ืนเขาไปเทียบขาง ใหเขาเทียบได แตเฉพาะเรือไฟเล็กและเรือเล็กของกรมเจาทา เรือของเจาพนักงานแพทยสุขา หรือของกรมศุลกากร หรือของผูนํารองหรือเรือของกระทรวงทหารเรือ ซึ่งจะ มีหนาทีพ่ิเศษ ในเวลาที่เรือกําปนลําใดที่กําลงัแลนขึ้นหรือลองในลําแมน้าํนัน้หาม เปนอันขาดมใิหเรือจาง เรือบรรทุกสินคาหรือเรือเล็กหรอืเรืออยางใด ๆ เขาไปเกี่ยวพวงขาง เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนพิเศษของนายเรือลํานั้น มาตรา 43 เมื่อจะทอดจอดเรือกําปนลําใด นายเรือหรือผูนํารอง ตองทอดจอดเรือนั้น โดยใหกนิเนื้อที่อยางนอยที่สุดทีจ่ะเปนไปได และความบงัคบั ขอนี้ เจาทาตองระวังเปนธุระอยูเสมอใหมีผูปฏิบัติตามโดยถูกตอง มาตรา 44 ตามลําแมน้ําเล็กและในคลองตาง ๆ นั้นอนุญาตให จอดเรือตาง ๆ ทั้งสองฟาก แตอยาใหเปนที่กีดแกทางเรือข้ึนลองทีก่ลางลาํน้าํ และหามไมใหจอดซอนลาํหรือจอดขวางหรือตรงกลางลําน้าํ ลําคลอง เปนอันขาด มาตรา 45 เรือกําปน เรือเล็ก และแพตาง ๆ ที่จอดเทียบฝง แมน้ํา หรือเทียบทาสนิคา หรือทาเรือนั้น หามมิใหจอดขวางลาํน้าํ ตองจอดให หัวเรือทายเรอื หัวแพทายแพ หันตามยาวของทางน้าํ มาตรา 46 ตามทาขนสินคาและทาขึ้นทัง้สองฟากแมน้ําเจาพระยา หรือตามสองขางเรือกําปนก็ดี หามมิใหเรือบรรทุกสินคา เรือไฟเล็ก เรือเปดทะเล

Page 13: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

และเรืออ่ืน ๆ จอดหรือผูกเทียบซอนกนัเกินกวาสองลํา ถาเปนแพคนอยู หามมิใหจอดเทียบหนาแพเกนิกวาลาํหนึ่ง มาตรา 46 ทวิ* ใหเจาทามีอํานาจสั่งหามใช และใหแกไขทา รับสงคนโดยสาร ทารับสงสินคา ทาเทยีบเรือ และแพในแมน้าํ ลําคลอง บึง อางเก็บน้าํ ทะเลสาบ อันเปนทางสัญจรของประชาชน หรือที่ประชาชนใช ประโยชนรวมกัน หรือทะเลภายในนานน้ําไทย ซึ่งมีสภาพไมปลอดภัยในการใช หรืออาจเกิดอันตรายแกประชาชน หรือแกการเดนิเรือ โดยแจงใหเจาของหรือ ผูครอบครองทราบเปนหนงัสือ ในกรณีทีไ่มปรากฏตัวเจาของหรือผูครอบครอง ใหปดคําสั่งไว ณ ทารับสงคนโดยสาร ทารับสงสินคา ทาเทียบเรือ หรือแพนั้น และใหถือวาเจาของหรือผูครอบครองไดรับคําส่ังนัน้แลว เจาของหรือผูครอบครองซึ่งไดรับคําสั่งจากเจาทาตามความใน วรรคหนึ่ง มีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมภายในสิบหาวนันับแต วันที่ไดรับคําสั่ง คําชี้ขาดของรัฐมนตรีเปนที่สุด แตในระหวางที่รัฐมนตรียังมิได ชี้ขาด คําสั่งหามใชนัน้มีผลบังคับได ในกรณีไมมีอุทธรณคําสั่ง หรือมีอุทธรณ แตรัฐมนตรีส่ังใหยกอุทธรณ และเจาของหรือผูครอบครองไมปฏิบัติตามคําสั่ง ภายในเวลาที่เจาทากําหนด หรือภายในสิบหาวันนับแตวันไดรับทราบคําวินจิฉัย อุทธรณใหเจาทามีอํานาจจดัการแกไขใหเปนไปตามคําสั่งโดยคิดคาใชจายจาก เจาของหรือผูครอบครอง เมื่อเจาของหรือผูครอบครองไดแกไขเสร็จเรียบรอยตามคําสัง่แลว ใหเจาทาเพกิถอนคาํสั่งหามใช ในกรณีที่เจาทาจัดการแกไขเอง จะรอการ เพิกถอนคําสัง่หามใชไวจนกวาเจาของหรอืผูครอบครองจะชําระคาใชจายให เจาทาก็ได *เจาของหรือผูครอบครองคนใดใชเอง หรือยินยอมใหผูอ่ืนใชทารบัสง คนโดยสาร ทารับสงสนิคา ทาเทียบเรือ หรือแพ ซึ่งเจาทา มคีําสั่งหามใช และ ยังไมไดเพิกถอนคําสัง่นัน้ ตองระวางโทษปรับต้ังแตสามพนับาทถงึสามหมื่นบาท และปรับเปนรายวนัวนัละหนึ่งพันบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง *[มาตรา 46 ทว ิเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 50 ลงวนัที ่18 มกราคม พ.ศ. 2515 และความในวรรคสี่ แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535] มาตรา 47 หามมิใหแพไมซุงทีก่วางกวายี่สิบตันซุงจอดผูกเทียบ ขางเรือกําปน หรือเทียบทาขนสินคา หรือทาขึ้น และหามมิใหเรือโปะจาย

Page 14: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

เรือลําเลียงหรือเรือสําเภาผูกจอดผูกเทยีบขางเรือกาํปนมากกวาขางละหนึ่งลาํ และหามมิใหเรือเชนวามานี้จอดผูกเทียบทาขนสินคา หรือทาขึน้มากกวาสองลาํ มาตรา 48 หามมิใหเรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือสําเภา เรือบรรทุกสินคา เรือกลไฟเล็ก และเรือและแพไมตาง ๆ จอดผูกกับฝงแมน้าํ มากลํา หรือโดยอยางที่ใหลํ้าออกมาในทางเรือเดิน หรือจนเปนที่กีดขวาง แกการเดินเรอื มาตรา 49 เรือกําปนหรือเรือเล็กทีจ่อดมากกวาสองลํา ในแมน้ํา นอกแนวเรืออ่ืน ๆ หรือนอกแนวแพคนอยู ซึ่งจอดอยูในทองที่เดยีวกนันัน้ ทานให ถือวาเรือกาํปนหรือเรือเลก็นัน้ เทากับจอดล้ําออกมาในทางเรือเดนิ มาตรา 50 ขอหามตาง ๆ ที่วามาแลวในมาตรา 46 และ 47 นั้น เจาทาจะเหน็สมควรลดหยอนโดยใหอนุญาตพิเศษก็ได มาตรา 51* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือหรือแพผูใดฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามมาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 31 มาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 มาตรา 39 มาตรา 42 มาตรา 44 มาตรา 45 มาตรา 46 มาตรา 47 มาตรา 48 หรือมาตรา 49 ถาเปนเรือกําปน ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถึงหนึง่หมื่นบาท และปรับ เปนรายวันวนัละหารอยบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตองถาเปนเรือเล็กหรือแพ ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึ่งรอยบาทถึงหนึง่พนับาท และปรับเปนรายวนัวนัละ หาสิบบาท จนกวาจะปฏิบตัิใหถูกตอง *[มาตรา 51 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] หมวดที่ 4 วาดวยทางเดนิเรือในลําแมน้ํา ______ มาตรา 52 ในเขตทากรุงเทพฯ นั้น ใหมีทางเดินเรอืสองสาย ดังนี ้คือ (1) สายตะวนัออก เรียกวาสายใหญ สายนี้มีเขตโดยกวางตัง้แต เรือกําปนที่ทอดอยูกลางแมน้ํา จนถึงฝงตะวันออก หรือถึงแคมเรือกาํปน หรือแพ คนอยูที่จอดเทียบฝงตะวนัออก

Page 15: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

(2) สายตะวนัตก สายนี้มีเขตโดยกวาง ตั้งแตเรือกําปนทีท่อดอยู กลางแมน้ํา จนถงึฝงตะวันตก หรือถึงแคมเรือกําปน หรือแพคนอยูทีจ่อดเทียบฝง ตะวันตก มาตรา 52 ทวิ* เมื่อมเีหตุจําเปนเพือ่ความปลอดภัยแกการเดินเรือ ใหเจาทามีอํานาจประกาศกําหนดทางเดนิเรือและควบคุมการเดินเรอืในเขต ทากรงุเทพฯ และในแมน้าํลาํคลองเปนการเฉพาะคราวได *นายเรอืหรือผูที่ควบคุมเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามประกาศ กําหนดทางเดินเรือหรือประกาศควบคุมการเดินเรือตามวรรคหนึง่ ตอง ระวางโทษปรับต้ังแตหารอยบาทถึงหาพนับาท และใหเจาทามีอํานาจสั่งยึด ประกาศนยีบัตรควบคุมเรือมีกําหนดไมเกินหกเดือน *นายเรอืหรือผูที่ควบคุมเรือที่ถูกยึดประกาศนยีบตัรควบคุมเรือตาม วรรคสองมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมภายในหนึง่เดือน นับแตวันที่ไดทราบคําสัง่คําชี้ขาดของรัฐมนตรีเปนทีสุ่ด แตในระหวางที่รัฐมนตรี ยังมิไดชี้ขาด คําสั่งนัน้มีผลบังคับได *[มาตรา 52 ทว ิเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่11) พ.ศ. 2520 และความในวรรคสองและวรรคสาม แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535] มาตรา 52 ตรี* นายเรือหรือผูที่ควบคุมเรือซึ่งถูกยึดประกาศนียบัตร ควบคุมเรือผูใดปฏิบัติหนาที่ในระหวางทีป่ระกาศนยีบตัรควบคุมเรือถูกยึดตาม มาตรา 52 ทวิ วรรคสอง ตองระวางโทษปรับต้ังแตสองพันบาทถึงสองหมืน่บาท *[มาตรา 52 ตรี แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535] มาตรา 53 แนวลําแมน้ําทัง้สองฟากภายในระยะสามสิบเมตร หางจากฝงหรือจากแคมเรือกําปนที่จอดผูกเทยีบฝงหรือจากแพคนอยูที่จอด ผูกเทยีบฝงนัน้ ใหหวงหามไวสําหรับเปนทางเดินเรือเลก็ หามมิใหเรือกําปนใชแนวนัน้เปนอนัขาด นอกจากเปนเวลาจาํเปน เพื่อปองกนัมิใหเรือโดนกนั หรือเพื่อกลบัหรือเคลื่อนเรือจากที่จอด มาตรา 54* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดฝาฝนมาตรา 53 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหารอยบาทถงึหาพนับาท

Page 16: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

*[มาตรา 54 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ก) วาดวยทางเรือเดนิสายตะวนัออกหรือสายใหญ มาตรา 55 เรือกําปนไฟทุกขนาด(นอกจากที่วาไวในมาตรา 58) และเรือกําปนใบทกุ ๆ อยางที่มีขนาดเกนิกวาหาสิบตัน เมื่อข้ึนลองในลําแมน้ํา ตองเดินในทางเรือเดินสายตะวันออก เวนไวแตเมื่อมีเหตุจําเปน เรือเพื่อจะ เขาจอดหรือออกจากทาหรอืฝง จึงเดินนอกสายนั้นได และบรรดาเรือที่วามานี ้ตองเดินโดยชาที่สุดทีพ่อสมควรแกการเดินเรือ อยางระวัง และเพื่อปองกันอันตรายแกเรอื และอันตรายที่อาจเกิดจากละลอกคลื่น ของเรือนั้น มาตรา 56* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 55 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหารอยบาทถงึหาพนับาท *[มาตรา 56 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ข) วาดวยทางเรือเดนิสายตะวนัตก มาตรา 57 บรรดาเรือใบขนาดต่ํากวาหาสบิตัน และเรือทุกอยาง นอกจากไดกลาวไวในมาตรา 55 นั้น ตองเดินในทางเดนิเรือสายตะวนัตก มาตรา 58* บรรดาเรือกําปนไฟที่จงูเรืออ่ืนที่มีขนาดต่ํากวา สามสิบหาตนัเกนิกวาลาํหนึ่งขึน้ไป ตองเดนิในทางเดนิเรือสายตะวนัตก หามมิใหเรือกําปนไฟลําใดจูงเรือกําปนหรือเรืออยางอืน่ในเขตทา กรุงเทพฯ มากลําจนเกนิกวากําลงัของเรือกําปนไฟลํานัน้จะจงูไปไดระยะทาง ชั่วโมงละสองไมลเปนอยางนอย และหามมิใหเรือกาํปนไฟลําใดที่จูงเรืออยูนั้น เดินไปโดยระยะทางเกินกวาชั่วโมงละหกไมลในเวลาทวนน้ํา หรือเดินเร็วกวา ชั่วโมงละสี่ไมลในเวลาตามน้ํา หามเปนอันขาดมิใหจูงเรือเล็กเกินกวาคราวละสามสิบสองลาํเปน อยางมาก และหามมิใหเรือที่ถูกจงูนั้นผกูเทยีบซอนลาํกันเกินกวาตับละส่ีลํา *[มาตรา 58 แกไขโดยประกาศแกไขพระราชบัญญัติการเดินเรอื ในนานน้ําไทย พ.ศ. 2456 ลงวนัที ่5 กันยายน พ.ศ. 2456]

Page 17: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 59 ในเวลาทีก่ําลังจะโยงหรือผูกเรือบรรทุกเขากับ สายโยงนัน้ หามมิใหเรือไฟลาก หรือเรือไฟเล็กทีเ่ปนเรอืจูงนัน้แลนรออยูใน สายทางเรือเดินเปนอนัขาด ถาจะใชสายทางเรือเดินในการจงู เรือจูง เหลานั้นตองแลนอยูเสมอใหไดระยะทางไมนอยกวาชัว่โมงละสองไมล มาตรา 60* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิ ตามมาตรา 57 มาตรา 58 หรือมาตรา 59 ตองระวางโทษปรับต้ังแต หารอยบาทถึงหาพันบาท *[มาตรา 60 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ค) วาดวยสวนของทางเรือเดินทั้งสองสายทีห่วงไวสําหรับใหเรือเล็กเดิน มาตรา 61 เรือเล็กทัง้หลาย เดินในทางเรือเดินไดทั้งสองสาย มาตรา 62 นอกจากมีเหตุจําเปน หรือเพื่อจะขามฟากไปจอดที่ทา หรือที่ฝง บรรดาเรอืเล็กตองเดินอยูในแนวน้าํ ในระหวางระยะสามสิบเมตร จากฝง หรือจากเรือกาํปนที่จอดเทยีบฝงหรือจากแพคนอยูที่ผูกจอดกับฝงแมน้ํา มาตรา 63 เรือบรรทุกขาวตองเดินไดแตในแนวน้าํที่กาํหนดไว สําหรับเปนทางเดนิของเรือเล็กในทางเรือเดินสายตะวนัตก และหามมใิหไป เดินในทางเรือเดินสายตะวนัออก ในตอนหนึง่ตอนใดเปนอันขาด มาตรา 64 เมื่อมีเหตจุาํเปน หรือเพือ่จะขามฟากไปจอดที่ทาหรอื ที่ฝง และเรือบรรทุกเขาหรือเรือเล็กจะตองทาํนอกเหนอืที่บังคับไวในมาตรา 62 และ 63 ฉะนั้น ก็ใหทาํโดยความระวังทกุอยางที่จะมิใหเปนการกีดขวาง แกการเดินเรอืได มาตรา 65 หามมิใหเรือบรรทุกเขาหรือเรือเล็กผานหนาเรือ กําปนไฟทีก่าํลังแลนขึน้หรอืลองในลําแมน้ํานั้นใกลกวาระยะรอยเมตร และถาจะ ขามฟากไปยงัทาหรือโรงสหีามมิใหตัดขามเหนือแหงทีจ่ะไปนั้นเกนิกวาที่ควร

Page 18: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 66 บรรดาเรือยนตทีย่าวไมเกินกวาหกเมตรนั้น ยอมให เดินไดในแนวลําแมน้ําทั้งสองสายที่กาํหนดไวสําหรับใหเรือเล็กเดนิ แตถาจะ เดินหางจากฝงภายในระยะสามสิบเมตร ตองเดินโดยชาที่สุดพอสมควรแกการ ควรระวังเหตใุนการเดนิเรือ และการควรระวังมิใหเปนเหตุอันตรายแก เรือเล็กที่ใชกรรเชียงหรือแจวพาย มาตรา 67* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิ ตามมาตรา 62 มาตรา 63 มาตรา 64 มาตรา 65 หรือมาตรา 66 ตอง ระวางโทษปรับต้ังแตหารอยบาทถึงหาพนับาท *[มาตรา 67 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ฆ) วาดวยทางคลองตาง ๆ มาตรา 68* ในแมน้ําลําคลองตาง ๆ นอกเขตทา บรรดาเรือที่เดิน ตามน้าํใหเดนิกลางแมน้ําหรือลําคลอง เรือที่เดินทวนน้าํใหเดนิแอบฝง ถาไม สามารถจะทาํอยางหนึง่อยางใดดังวามานี ้ใหเดินกลางรองน้ําและใหปฏิบัติตาม ขอบังคับการเดินเรือแหงทองถิ่น ซึ่งตั้งขึน้เพื่อควบคุมการเดินเรือในลําแมน้าํหรือ คลองนั้น ๆ ดวย ใหเจาทาหรือขาหลวงประจําจงัหวดัในทองถิ่นที่ไมมีเจาทา มีอํานาจ ออกขอบังคับควบคุมการเดินเรือในแมน้าํและลําคลองใด ๆ ซึ่งอยูในเขตทองถิน่ ของตนได ขอบังคับนัน้เมือ่ไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรเีจาหนาที ่และไดประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได *[มาตรา 68 แกไขโดยพระราชบัญญตัิฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศักราช 2477] มาตรา 69* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิตาม มาตรา 68 หรือขอบังคับที่ออกตามมาตรา 68 ตองระวางโทษปรับต้ังแต หารอยบาทถึงหาพันบาท *[มาตรา 69 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] หมวด 5 วาดวยแพไม แพคนอยู ฯลฯ _______

Page 19: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

(ก) แพไม มาตรา 70 แพไมตาง ๆ ตองมีคนประจําใหพอแกการที่จะควบคุม รักษาแพโดยเรียบรอย และคนประจําแพตองระวังอยางที่สุดที่จะเปนไดเพื่อไมให แพกีดขวางแกการเดนิเรือหรือโดนกับแพคนอยู หรือเรือที่ทอดจอดอยูในลําแมน้ํา แพไมทุก ๆ แพตองชักธงเครื่องหมายของเจาของแพ และธงสําหรับเชนนี้ตอง จดทะเบียนที่กรมเจาทา แพใดมีซุงกี่ตนและกาํหนดจะมาถึงเขตทากรุงเทพฯได เมื่อใดนั้น เจาของแพตองทาํหนังสือแจงความลวงหนาใหเจาทาทราบ มาตรา 71 หามมิใหแพไมจอดผูกติดกับเรือกําปนหรือหลักหรอืแพ คนอยู โดยไมไดรับอนุญาตจากนายเรือหรือเจาของหลัก เจาของแพนัน้ ๆ มาตรา 72 ภายในเขตทากรงุเทพฯ แพไมตาง ๆ ที่จะลองหรือ จูงลงมานัน้ ตองเดินในทางเดินเรือสายตะวันตก ถาจะเดินในสายตะวนัออก ตองเดินไดแตแพไมที่มีเรือจูง แพไมแพหนึ่งตองมีซุงไมเกินกวาสองรอยตน หรือกวางเกนิกวายี่สิบเมตร มาตรา 73 หามมิใหลองแพไมข้ึนลงในลําแมน้าํในระหวางเวลา ตั้งแตพระอาทิตยตกจนถงึพระอาทิตยข้ึน มาตรา 74* ในคลอง หามไมใหลองแพไมที่มีซงุผกูเทยีบกนัเกนิกวา ส่ีตนและที่ผูกติดตอกันยาวเกนิกวาสองชั่วซุง และสวนแพไมไผนัน้ไมใหยาว เกินกวาสิบหกเมตรและกวางเกินกวาทีพ่อจะใหแพนั้นเดินในคลองไดโดยไมกีด แกการเดินเรอื แตถาขาหลวงประจาํจังหวัดไดพิจารณาเหน็วา ในคลองใด หรือใน คลองตอนใดซึ่งใชเรือกลไฟ หรือเรือยนตลากจงูแพเกนิกวาที่ไดกําหนดไวใน วรรคกอนโดยไมเปนภัยแกการจราจรทางน้าํ ก็อาจผอนผันใหผูกติดตอกันได ไมเกิน 30 เมตร เมื่อขาหลวงประจําจงัหวัดไดผอนผันใหตามวรรคกอนแลว ภายหลัง ปรากฏวาเปนภัยแกการจราจรทางน้ํา จะถอนเสียก็ได *[มาตรา 74 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ แกไขเพิม่เติม พุทธศกัราช 2477 (ฉบับที ่3)]

Page 20: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 75* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิตามมาตรา 70 มาตรา 71 มาตรา 72 มาตรา 73 หรือมาตรา 74 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึง่รอยบาท ถึงหนึง่พนับาท *[มาตรา 75 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ข) แพคนอยู มาตรา 76 หามมิใหจอดแพคนอยูในลําแมน้ําหางจากฝงเกินกวา พอดีสําหรับมิใหแพนั้นคางแหงในเวลาน้ําลงงวด มาตรา 77 เสาหลกัสําหรับผูกแพคนอยูนัน้ หามมิใหปกพนแนวหนาแพ ออกไปมากกวาหนึ่งเมตรครึ่ง มาตรา 78 หามมิใหปลูกเรือนทีป่กเสาลงเลนตามฝงแมน้ําหางออก มาจากฝงจนเกินกวาพอดีสําหรับไมใหมีน้าํคางอยูใตเรือนเมื่อเวลาน้ําลงงวด มาตรา 79 ภายใตเขตทากรงุเทพฯ หามมิใหแพคนอยูแพใดมีขนาด กวางหรือยาวเกนิกวาสิบหกเมตร นับรวมทั้งชานและแพเล็กทีเ่ปนสวนติดตอกับแพ นั้นดวย มาตรา 80 ตามลําคลอง หามมิใหแพคนอยูแพใดมีขนาดกวางเกินกวา สิบสองเมตร และหามมิใหแพใดที่ผูกจอดกับฝงยืน่ล้ําออกมาจนอาจเปนที่กีดขวางแก การเดินเรือ มาตรา 81 หามมิใหจูงแพคนอยูข้ึนลองในตอนใตหลักเขตเหนอืของ ทากรงุเทพฯ ในระหวางตั้งแตพระอาทิตยตกจนถึงพระอาทิตยข้ึน มาตรา 82 แพคนอยูที่จะจงูขึ้นลองในลําแมน้ํานัน้ ตองเดินในทางเดิน เรือสายตะวนัตก ตอเมื่อมเีหตุอันจาํเปนจึงใหเดนิในทางเดนิสายตะวันออกได มาตรา 83 หามมิใหจอดผูกแพคนอยูแพใดกับฝงแมน้าํเจาพระยา

Page 21: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ภายในเขตทากรุงเทพฯ โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาทา มาตรา 84 ภายในเขตทากรงุเทพฯ ถาแพคนอยูแพใดยื่นออกมา ในลําแมน้าํ จนอาจเปนเหตุนากลวัอันตรายแกการเดินเรือในเวลากลางคืนได ใหเจาทามีอํานาจบังคับใหแพนัน้จุดโคมไฟสีขาวไวในที่เดนแลเห็นไดงายใน ระหวางเวลาตั้งแตพระอาทติยตกจนถงึพระอาทิตยข้ึน เพื่อปองกนัมิใหเรือใหญ เล็กแลนมาโดนแพนัน้ มาตรา 85 ตั้งแตวันที่ใหใชพระราชบัญญัตินี้เปนกฎหมาย ถาจะ จอดแพคนอยูหรือปลูกเรือนมีเสาปกเลนตามฝงแมน้ําภายในเขตทากรุงเทพฯ ก็ดีหรือตามลําคลองในแขวงกรงุเทพฯ ก็ดี ตองไดรับอนุญาตจากเจาทากอน จึงทาํได มาตรา 86 คําขออนุญาตนั้นตองเปนหนังสือและมีแผนที่ฝงน้าํแพคนอยู หรือเรือนปกเสาลงเลนที่ขางเคียง และทาํเลที่จะจอดแพและปกหลักผูกแพนัน้ดวย มาตรา 87 เมื่อรับคําขออนุญาตแลว เจาทาตองตรวจภายในเวลา เดือนหนึ่ง และถาเหน็วาเปนการปฏิบัติถูกตองตามขอบังคับในมาตรา 85 และ 86 ทุกอยางแลว ก็ใหออกอนุญาตใหตามที่ขอ มาตรา 88 หามมิใหลงมือทาํการปลูกสรางกอนทีจ่ะไดรับอนุญาต ตามที่รองขอนั้นเปนอนัขาด มาตรา 89 ภายในเขตทากรงุเทพฯ ใหเจาทามีอํานาจ และ ภายนอกเขตนั้น ใหเจาพนกังานทองที่มอํีานาจที่จะบังคับใหร้ือถอนแพคนอยูหรือ หลักผูกแพหรือเรือนที่ปกเสาลงชายฝงน้าํที่จอด หรือปกหรือสรางผิดตอขอบังคับ ในมาตราตั้งแต 76 ถึง 79 จะเปนแพหรือหลักหรือเรือนที่ตั้งอยูนั้นเมือ่กอน หรือในภายหลังเวลาใชพระราชบัญญัตินีก้็ตาม และใหมีอํานาจบังคบัใหร้ือถอน บรรดาแพคนอยู หรือหลกัผูกแพ หรือเรือนที่ปกเสาลงในชายฝงน้ําซึง่ไดปลูกขึ้น โดยมิไดรับอนุญาตโดยถูกตอง หรือที่ปลูกโดยไมถูกตองตามขอความในอนุญาต ที่ไดออกใหนัน้ดวย มาตรา 90* ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของเจาทาหรอืเจาพนักงาน

Page 22: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ผูมีหนาที่ตามมาตรา 89 ตองระวางโทษปรับเปนรายวันวันละหนึ่งรอยบาท จนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง และใหเจาทาหรือเจาพนักงานผูมหีนาทีต่ามมาตรา 89 บังคับใหร้ือถอนแพคนอยู หรือเรือนที่ปกเสาลงในชายฝงน้าํโดยใหผูเปนเจาของ เสียคาร้ือถอนนัน้เอง ในกรณทีี่เจาของไมร้ือถอนภายในกาํหนดเวลาที่เจาทาหรือเจาพนกังาน ผูมีหนาที่ตามมาตรา 89 กาํหนด ใหเจาทารองขอตอศาลเพื่อมีคาํสั่งใหเจาทาเปน ผูจัดการใหมกีารรื้อถอน ในกรณทีี่เจาทาเปนผูจัดการใหมกีารรื้อถอนตามคาํสั่งศาลตามวรรคสอง ใหเจาทาใชความระมัดระวังตามควรแกพฤติการณ โดยเจาของจะเรยีกรอง คาเสียหายใด ๆ จากเจาทาไมได และเจาของตองเปนผูเสียคาใชจายในการ ร้ือถอน ในกรณทีี่เจาของไมยอมชดใชคาใชจายตามวรรคสามภายในระยะ เวลาที่เจาทากําหนดตามควรแกกรณี ใหเจาทาโดยความเห็นชอบของรัฐมนตร ี วาการกระทรวงคมนาคมนําวัสดุที่ถกูร้ือถอนรวมทั้งสิ่งของที่ขนออกจากแพคนอยู หรือเรือนที่ปกเสาลงในชายฝงสวนที่มีการรื้อถอนออกขายทอดตลาดหรือขาย โดยวิธีอ่ืน เงนิที่ไดจากการขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอ่ืนนัน้ใหนาํไปชดใช คาใชจายที่เจาทาไดจายไปในการจัดการรื้อถอน และถามีเงินเหลือจากการ ชดใชคาใชจายดังกลาว ใหเจาทาเก็บรักษาเงินนัน้ไว ถาเจาของมิไดเรียกรอง เอาภายในหนึ่งปนับแตวนัที่เจาทาไดเกบ็รักษาไว ใหตกเปนของแผนดิน *[มาตรา 90 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 91* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิตามมาตรา 81 มาตรา 82 มาตรา 83 หรือมาตรา 84 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหารอยบาทถงึหาพนับาท *[มาตรา 91 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ค) วาดวยการจับสัตวน้ําและโพงพางที่ขวางแมน้ํา มาตรา 92 การจับสัตวน้ําดวยอวนแหโดยทอดสมอจอดเรือเรียงราย ลําติดกันขวางลาํน้าํ หรือทอดทุน หรือปกหลักโพงพางเปนแถวจากฝงถงึกลาง ลําน้ํานัน้ การจับสัตวน้ําดวยวิธีเหลานีห้ามมิใหกระทําในเขตทากรุงเทพฯ ถาพน เขตทากรุงเทพฯออกไปจะทําโดยไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานก็ได

Page 23: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 93 ในระหวางเวลาตั้งแตพระอาทิตยตกจนถงึเวลา พระอาทิตยข้ึน เจาของเรอืจับสัตวน้าํหรือทุนหรือหลกัโพงพางเชนวามาแลวตอง จุดไฟเปนแสงโพลงไวบนฝงตรงกับแถวเรอืหรือทุนหรือหลักเหลานั้น และตองจุด โคมไฟไวบนเรือหรือทุนหรอืหลักโพงพางที่หางที่สุดออกมาจากฝงนัน้ดวย และ ตองเปาเขากระบือหรือแตรเสียงกองสําหรับใหเรือที่เดินขึ้นลองรูวามขีองกีดกัน้ เชนนัน้อยูในลําน้าํดวย ร้ัวหรือหลักที่ปกเรียงรายตามแนวชายฝงทะเลที่ปากน้าํหรือที่ใกลทาง จะเขาปากน้าํนัน้ ในระหวางเวลาตัง้แตพระอาทิตยตกจนถงึพระอาทิตยข้ึนตอง จุดโคมใหเหน็แสงไฟสีขาวที่ปลายรั้วหรือหลักสุดแถวทัง้สองขาง มาตรา 94 ทุนหรือหลักสําหรับจับสัตวน้ํานัน้ หามมิใหผูกโยงถงึกนั ดวยลาํไมไผ ใหใชผูกดวยเชือกอยางเดียวตามธรรมเนยีมที่เคยทาํกนัอยู และ หามมิใหผูกโยงจากฝงดวยเชือกหรือดวยไมยาวใหเปนที่กีดขวางแกทางเดนิ ของเรืออ่ืน มาตรา 95* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิตามมาตรา 92 มาตรา 93 หรือมาตรา 94 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถึงหนึง่หมื่นบาท *[มาตรา 95 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] หมวดที่ 6 ขอบังคับเบ็ดเตล็ด ________ (ก) วาดวยผูกเรือกับฝงดวยเชือกลวดและเชือกตาง ๆ มาตรา 96 ในแมน้ําหรือเขตทาใด ๆ ถานอกจากเรือที่จอดผูกเทียบ ทาขนสนิคา ทาขึ้นหรือเทียบฝง หามมิใหเรือกําปนลาํใดผูกโยงกับฝงดวยเชือกลวด หรือเชือกอยางอืน่จนไมเหลือชองน้าํในระหวางเรือลํานั้นกับฝงสาํหรับใหเรืออ่ืน เดินได มาตรา 97 หามมิใหเอาเชือกอยางใด ๆ ทอดจากเรือกําปนลาํใด ที่จอดเทียบทาไปผูกกับทุนโยงในลาํน้าํหรือเขตทาจนกวาจะถงึเวลาที่เรือเตรียม ออกจากทาที่จอดเทยีบอยูนัน้ จึงใหทําเชนนัน้ได

Page 24: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 98* ผูใดฝาฝนมาตรา 96 หรือมาตรา 97 ตองระวางโทษ ปรับต้ังแตหนึ่งพันบาทถึงหนึง่หมื่นบาท *[มาตรา 98 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ข) วาดวยฝเทาเรือ-เกิดเหตุอันตราย-โคมไฟ มาตรา 99 หามมิใหนายเรือกลับเรือกําปนในลําแมน้ํา รองน้ํา ชองน้าํ หรือในสายทางเรือเดิน เวนไวแตในเวลาทีท่างน้าํนัน้ ๆ วางไมมี เรืออ่ืนแลนเขาออก และหามมิใหนายเรอืกําปนลาํใดที่จอดเทยีบทาขนสินคา หรือทาขึน้เคลื่อนเรือออกจากทา เวนไวแตในเวลาที่ลําแมน้ํา รองน้ํา ชองน้าํ หรือสายทางเรือเดิน อันเปนทองทีน่ัน้วางไมมีเรืออ่ืนแลนเขาออก มาตรา 100 นายเรือกําปนลําใดทีก่ําลังเขาหรือออกที่เขตทาหรือ ชองแคบ ตองลดฝเทาเรือใหเดินชาลงพอสมควรแกการเดินเรืออยางระวัง และอยางปองกนัเหตุอันตรายแกเรือนัน้เอง มาตรา 101* เรือที่จะเขาเทยีบหรือจอดยังทา นายเรือหรือผูที ่ ควบคุมเรือตองใชความเร็วต่ํา และดวยความระมัดระวงั เรือที่เดินอยูในแมน้าํ หรือลําคลอง ตองใชความเร็วไมเกินอัตราที่เจาทากําหนด และหามมิใหแลน ตัดหนาเรือกลที่กําลงัเดนิขึ้นลองอยูในระยะสองรอยเมตร ผูใดฝาฝนหรือ ไมปฏิบัติตาม ตองระวางโทษปรับต้ังแตหารอยบาทถึงหาพันบาท และใหเจาทา มีอํานาจสั่งยดึใบอนุญาตใชเรือหรือประกาศนยีบัตรควบคุมเรือมีกาํหนดไมเกนิ หกเดือน *[มาตรา 101 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 102* นายเรือที่ไดรับประกาศนียบัตรแสดงความรูทุกคน ตองใชความระมัดระวังในการควบคุมเรือโดยเต็มความสามารถเพื่อมิใหเกิด อุบัติเหตุ หรืออันตรายอยางใด ๆ และถามีเหตุอยางใด ๆ เกิดขึ้นในหนาที ่ ขณะที่ตนกระทําการควบคมุเรือนั้นอยู นายเรือลํานั้นตองรายงานเหตุที่เกิดขึ้นนั้น ตอเจาพนักงานผูมหีนาที่ดังตอไปนี ้ 1. สําหรับเรือที่ยังไมออกจากเขตทาไปทะเลในทนัททีันใด ถัดเวลา

Page 25: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ที่เกิดเหตุ ใหยื่นรายงานตอเจาทาภายในเวลายี่สิบส่ีชั่วโมง แตถาเรือลํานัน้ กําลังจะออกจากทาไปสูทะเล ก็ใหสงรายงานโดยทางไปรษณียลงทะเบียนใน โอกาสแรกทีจ่ะสงได หรือแวะแจงความตอกรมการอําเภอหรือตํารวจทองที ่ ใกลเคียง หรือฝากรายงานนั้นไวแกเจาพนักงานศุลกากร ณ ตําบลใกลเคียง เพื่อสงใหเจาทาตอไป รายงานนัน้ตองแจงใหชัดเจนถึงขอเหลานี ้ (1) ตําบลที่เกิดเหตุพรอมทั้งแผนทีสั่งเขปถาสามารถจะทําได (2) วัน เดือน ป ที่เกิดเหต ุ (3) ชื่อเจาของเรือหรือตัวแทน และเลขทะเบียนเรอื (4) สาเหตุที่เกิดและกรณีแวดลอม (5) ความเสียหายที่ไดรับ (6) ถาเปนเรือที่มีสมดุปูม ก็ใหคัดขอความประจาํวันที่จดไวในสมุดปูม ทั้งปากเรือและทองเรือแนบมาดวย 2. สําหรับเรืออ่ืน ๆ นอกจากในอนมุาตรา 1 ใหรายงานเหตทุี่เกิด ข้ึนนั้นตอเจาทา หรือแจงความตอกรมการอําเภอ หรือตํารวจทองที่ใกลเคียง ภายในเวลาสี่สิบแปดชั่วโมง 3. กรมการอําเภอหรอืตํารวจทองที ่เมื่อไดรับแจงความแลวใหไตสวน และจัดการไปตามหนาที ่และใหรีบสงสาํเนาการไตสวนนัน้ไปใหเจาทาทองถิ่นหรอื กรมเจาทาทราบ *[มาตรา 102 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477] มาตรา 103* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิตาม มาตรา 99 มาตรา 100 หรือมาตรา 102 ตองระวางโทษปรับต้ังแตสองรอย บาทถงึสองพันบาท *[มาตรา 103 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 104 เรือกลไฟเล็กและเรือยนตทกุลํา เมื่อเวลาเดนิตอง มีโคมไฟสีเขยีวไวขางแคมขวาดวงหนึ่ง โคมไฟสแีดงขางแคมซายดวงหนึง่และ โคมไฟสีขาวอยางแจมแขวนไวในที่เดน สูงจากดาดฟา ใหถูกตองตามที่จะ กําหนดไวในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ

Page 26: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 105 เรือทุกลาํและแพไมทกุแพทีท่อดสมอ หรือผูกอยูกบัหลัก หรือกําลงัเดินหรือลองอยูนั้น ตองแขวนโคมสีขาวดวงหนึง่ไวในที่เดนใหเปน ที่แลเหน็ไดจากทกุทิศ แตถาจอดผูกเทยีบอยูกับฝงแมน้าํไมจําเปนตองมีโคมไฟไว เชนนีก้็ได มาตรา 106 เรือลําเลียงและเรือโปะจายทุกลาํ ถาเปนเรือที่เดนิ ดวยเครื่องจกัรอยางเรือไฟ ตองมีโคมไฟเหมือนอยางทีบ่ัญญัติไวสําหรับเรือกลไฟ ถาเปนเรือเดินดวยใบฉะนัน้ตองใชโคมไฟตามอยางทีบ่ัญญัติไวสําหรับเรือใบที ่ กําลังเดนิ มาตรา 107 เรือทุกลาํที่อยูในพวงทีก่ําลังเดินหรือทอดสมออยูกด็ี ตองจุดโคมไฟสีขาวไวในทีเ่ดนแลเหน็งาย ในระหวางเวลาตั้งแตพระอาทิตยตก จนถงึพระอาทิตยข้ึน เพื่อใหเปนที่สังเกตไดชัดวา หมูเรือที่พวงนั้นยาวและกวาง เทาใด มาตรา 108 ที่ตําบลสําเภาจมปากน้ําเจาพระยานั้น เมื่อมีเรือกําปน สองลําแลนมาจะสวนกัน ถาเห็นวาจะสวนกนัที่ตรงหรอืเกือบตรงขางเรือทุนไฟ หมายตําบลสําเภาจม ก็ใหเรือลําที่ทวนน้ํานั้นหยุดหรือรอแลนชา ๆ จนกวาเรืออีก ลําหนึ่งจะไดแลนพนเรือทุนไฟนัน้โดยเรียบรอยแลว มาตรา 109 เรือโปะจายและเรือใบทุกอยาง เมื่อแลนกาวขึ้นลอง ตามลําแมน้าํหรือตามชองแคบ ถามีเรือกลไฟลําใดเดนิอยูในฟากน้าํหรือรองที ่ ไมผิดหรือเดินแอบฝงอยางใกลพอสมควรแกที่จะไมใหเปนอันตรายแกเรือลํานัน้ หามมิใหเรือที่แลนกาวนัน้แลนผานตัดหนาเรือ หรือแลนกาวใกลถัดหนา เรือกลไฟนัน้เปนอันขาด ในแมน้าํหรือในชองน้าํที่แคบ หามมิใหเรือกลไฟเล็กหรือเรือยนต พยายามแลนผานหนาเรือกําปนไฟโดยอยางที่อาจใหเกิดโดนกนัขึ้นได มาตรา 110* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบตัิ ตามมาตรา 104 มาตรา 105 มาตรา 106 มาตรา 107 มาตรา 108 หรือ มาตรา 109 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับต้ังแตหนึง่พนับาท ถึงหนึง่หมืน่บาท หรือทั้งจาํทัง้ปรับ

Page 27: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

*[มาตรา 110 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ข) วาดวยเรือถอยออกจากอู มาตรา 111 ในตอนลําน้าํเจาพระยา ซึ่งเรือเดินทะเลเดนิไดนัน้ เมื่อมีเรือลําใดกําลังถอยออกจากอูหรือถอยลงจากทาลาดในเวลากลางวันตอง มีทุนรูปกลมสีดําลูกหนึ่งชกัขึ้นไวทีเ่สาหรือที่เดนแหงหนึ่งที่ปากอูหรอืทาลาดนัน้ ให เรือตาง ๆ ที่เดินขึ้นลองในแมน้ําแลเห็นไดชัด เมื่อกอนหนาจะถอยออกจากอู หรือทาลาดใหชักลูกทุนขึ้นไวเพียงครึ่งเสา เมื่อกําลงัถอยออกใหชกัขึ้นถงึปลายเสา ถาเปนเวลาค่ําคืนใหใชโคมไฟสีแดงแทน และทําอยางวิธีเดยีวกันกบัลูกทุนสีดํา มาตรา 112* ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 111 ตองระวางโทษปรับ ตั้งแตหารอยบาทถึงหาพันบาท *[มาตรา 112 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ฆ) วาดวยทุนและเครื่องสําหรับผูกจอดเรือ มาตรา 113 หามมิใหผูใดมีหรือวางทุนหรือเครื่องสําหรับผูก จอดเรือในนานน้ําแมน้ําหรือทําเลทอดสมอจอดเรือใด ๆ เวนไวแตไดรับอนุญาต จากเจาทาหรือจากเจาพนกังานผูมหีนาที ่และโดยตองถือและกระทาํตามขอบังคบั กํากบัอนุญาต และตองเสยีคาธรรมเนยีมตามซึ่งเจาทาหรือเจาพนักงานผูมหีนาทีน่ั้น จะกําหนดแตบัญญัติที่วานี้ไมใชตลอดถึงทุนและเครื่องหมายหรือเครื่องผูกจอดเรือ ของกระทรวงทหารเรือ ซึ่งจอดไวชั่วคราวในลําน้าํสําหรับการตรวจเซอรเวย ทําแผนที ่ มาตรา 114 หามมิใหผูใดเอาเรือเก็บสินคาหรือเรือชนิดใด ๆ ที่คลายเรือเก็บสินคาซึง่ใชเปนเรือทุน หรือสําหรับบรรจุส่ิงของตาง ๆ ทอดสมอ อยูเปนการประจําในนานน้าํลําแมน้ํา หรือทําเลทอดจอดเรือตําบลใด ๆ เวนไว แตไดรับอนุญาตจากเจาทาหรือจากเจาพนักงานผูมหีนาที ่และโดยตองถือและ กระทําตามขอบังคับกํากับอนุญาต และตองเสียคาธรรมเนียมตามซึง่เจาทาหรือ เจาพนักงานผูมีหนาที่นัน้จะกําหนด

Page 28: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 115 ทุนหรือเครื่องสําหรับผูกจอดเรือ ซึ่งจะไดอนุญาต ตามความในมาตรา 113 นัน้ ใหใชสําหรับเรือของผูที่ไดรับอนุญาตฝายเดียว ถาเรืออ่ืนจะอาศัยใชผูกจอด ตองไดรับอนุญาตของผูนัน้กอนจึงทําได มาตรา 116* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 113 มาตรา 114 หรือมาตรา 115 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึ่งพนับาทถงึหนึ่งหมืน่บาท และ ปรับเปนรายวันวันละหารอยบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถกูตอง และเจาทาหรือ เจาพนักงานผูมีหนาที่จะสัง่ใหร้ือถอนหรอืเคลื่อนยายทุนหรือเครื่องสาํหรับผูก จอดเรือนั้นดวยก็ได *[มาตรา 116 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 117* หามมิใหผูใดปลูกสรางอาคารหรือส่ิงอื่นใดลวงล้ํา เขาไปเหนือน้ํา ในน้ํา และใตน้ํา ของแมน้ํา ลําคลอง บึง อางเก็บน้าํ ทะเลสาบอนัเปนทางสัญจรของประชาชนหรือที่ประชาชนใชประโยชนรวมกนั หรือทะเลภายในนานน้าํไทยหรือบนชายหาดของทะเลดังกลาว เวนแตจะได รับอนุญาตจากเจาทา หลักเกณฑและวิธกีารในการอนุญาตใหเปนไปตามที่กาํหนดใน กฎกระทรวง โดยกฎกระทรวงดังกลาวจะตองระบุลักษณะของอาคารและ การลวงล้าํทีพ่ึงอนุญาตไดไวใหชัดแจงพรอมทั้งระยะเวลาที่จะตองพิจารณา อนุญาตใหแลวเสร็จดวย เมื่อผูขออนุญาตยืน่คําขอถูกตองตามหลักเกณฑ วิธีการและลักษณะที ่ กําหนดไวในกฎกระทรวงตามวรรคสองแลว เจาทาตองอนุญาตภายในระยะ เวลาที่กําหนดในกฎกระทรวงดังกลาว *[มาตรา 117 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 117 ทวิ* ผูรับอนญุาตปลูกสรางอาคารหรือส่ิงอื่นใดตาม มาตรา 117 ตองเสียคาตอบแทนเปนรายป ตามวิธีการและอัตราที่กําหนดใน กฎกระทรวง ซึ่งตองไมนอยกวาตารางเมตรละหาสิบบาท และถาเปนอาคาร หรือส่ิงอื่นใดซึ่งมีลักษณะหรือวัตถุประสงคเพื่อใชในการประกอบธุรกจิใหเสียเปน สองเทาของอัตราดังกลาว ในกรณทีี่อาคารหรือส่ิงอืน่ใดดังกลาวถูกปลูกสรางขึน้ โดยมิไดรับอนุญาตหรือไมเปนไปตามที่ไดรับอนุญาตใหเสียคาตอบแทนเปนสามเทา

Page 29: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ของอัตราดังกลาว การกาํหนดคาตอบแทนตามวรรคหนึง่ ใหคํานึงถึงสภาพของแตละทองที ่ และประโยชนที่ผูปลูกสรางหรือผูครอบครองพึงไดรับ คาตอบแทนที่เก็บไดตามวรรคหนึ่ง ใหตกเปนของกรุงเทพมหานคร เมืองพทัยา เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด สุขาภิบาล หรือองคกรปกครอง สวนทองถิน่อื่นซึ่งมกีฎหมายจัดตั้งขึ้น แลวแตกรณี ทีอ่าคารหรือส่ิงอื่นใดนั้นอยูในเขต ในกรณทีี่มีเหตุอันสมควร จะออกกฎกระทรวงยกเวนหรือลดหยอน คาตอบแทนใหหนวยงานหรือบุคคลใดก็ได *[มาตรา 117 ทว ิเพิม่เติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 118* ผูใดฝาฝนมาตรา 117 หรือผูใดไดรับอนุญาตตาม มาตรา 117 แลวปลูกสรางอาคารหรือส่ิงอื่นใดไมเปนไปตามที่ไดรับอนุญาต ตองระวางโทษปรับโดยคํานวณตามพืน้ที่ของอาคารหรือส่ิงอื่นใดในอัตรา ไมนอยกวาตารางเมตรละหารอยบาทแตไมเกินตารางเมตรละหนึง่หมื่นบาท *[มาตรา 118 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 118 ทวิ* ในกรณีที่มีการฝาฝนมาตรา 117 หรือผูรับอนญุาต ตามมาตรา 117 ปลูกสรางอาคารหรือส่ิงอื่นใดไมเปนไปตามที่ไดรับอนุญาต ใหเจาทามีคาํสั่งเปนหนงัสอืแจงใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือส่ิงอื่นใด ดังกลาวรื้อถอนหรือแกไขอาคารหรือส่ิงอืน่ใดนัน้ใหเสร็จส้ินโดยถกูตองภายใน ระยะเวลาทีก่ําหนด แตตองไมนอยกวาสามสิบวนั ในกรณีที่ไมปรากฏตัวเจาของ หรือผูครอบครองใหเจาทาปดคําสั่งไว ณ อาคารหรือส่ิงอื่นใดนัน้และจะหามมิให เจาของหรือผูครอบครองนั้นใชหรือยนิยอมใหผูใดใชอาคารหรือส่ิงอื่นใดนั้นทั้งหมด หรือแตบางสวนจนกวาจะไดร้ือถอนหรือแกไขเสร็จดวยก็ได ถาไมมกีารปฏิบัติตามคําสั่งของเจาทาตามวรรคหนึง่ หรือในกรณทีี่ไม ปรากฏตัวเจาของหรือผูครอบครอง และเจาทาไดปดคําสั่งไว ณ อาคารหรือ ส่ิงอื่นใดนัน้ครบสิบหาวนัแลวใหเจาทารองขอตอศาลเพื่อมีคําสัง่ใหมีการรื้อถอน อาคารหรือส่ิงอื่นใดนัน้ ถาขอเท็จจริงในทางพิจารณาฟงไดวามีการฝาฝน มาตรา 117 จริง ในกรณีทีป่รากฏตัวเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือ ส่ิงอื่นใด ใหศาลมคีําสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองเปนผูร้ือถอน ในกรณีที ่ เจาของหรือผูครอบครองไมร้ือถอนตามกําหนดเวลาในคําสั่งศาล หรือในกรณี ที่ไมปรากฏตวัเจาของหรือผูครอบครอง ใหศาลมีคําสัง่ใหเจาทาเปนผูจัดการ

Page 30: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ใหมีการรื้อถอน ในกรณทีี่เจาทาเปนผูจัดการใหมกีารรื้อถอนตามคาํสั่งศาลตามวรรคสาม ใหเจาทาใชความระมัดระวังตามควรแกพฤติการณ โดยเจาของหรือผูครอบครอง อาคารหรือส่ิงอื่นใดจะเรียกรองคาเสียหายใด ๆ จากเจาทาไมได และเจาของ หรือผูครอบครองอาคารหรือส่ิงอื่นใดตองเปนผูเสียคาใชจายในการนั้น ในกรณทีี่เจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือส่ิงอืน่ใดไมยอมชดใช คาใชจายตามวรรคสี่ภายในระยะเวลาที่เจาทากาํหนดตามควรแกกรณี หรือใน กรณีที่ไมปรากฏตัวเจาของหรือผูครอบครองใหเจาทาโดยความเหน็ชอบของรัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคมนําวัสดุที่ถกูร้ือถอนรวมทั้งสิ่งของที่ขนออกจากอาคารหรือ ส่ิงอื่นใด สวนที่มกีารรื้อถอนออกขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอ่ืน เงินที่ไดจากการ ขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอ่ืนใหนําไปชดใชคาใชจายทีเ่จาทาไดจายไปในการ จัดการรื้อถอนและคาตอบแทนตามมาตรา 118 และถามีเงนิเหลือจากการชดใช คาใชจายดังกลาวใหเจาทาเก็บรักษาไว เพื่อคืนใหกับเจาของหรือผูครอบครอง ในกรณีที่ไมปรากฏตัวเจาของหรือผูครอบครอง หรือเจาของหรือผูครอบครองไมมา รับคืนภายในหนึ่งปใหตกเปนของแผนดนิ ในกรณทีี่เจาทาจะดําเนินการตามวรรคหนึ่งและอาคารหรือส่ิงอืน่ใด ดังกลาวมีลักษณะซึ่งอาจอนุญาตไดและเจาของหรือผูครอบครองยอมชําระคาปรับ ตามที่เจาทากําหนดตามอตัราในมาตรา 118 แลว เจาทาจะออกใบอนุญาตให เจาของหรือผูครอบครองก็ไดและเมื่อไดรับอนุญาตแลวใหเสียคาตอบแทนเปน สองเทาของมาตรา 117 ทวิ *[มาตรา 118 ทว ิเพิม่เติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 118 ตรี*ในกรณีที่ไมชําระคาตอบแทนตามที่กาํหนดใน กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 117 ทว ิใหเสียเบีย้ปรับอีกหนึ่งเทาของเงนิ คาตอบแทนที่คางชําระ *[มาตรา 118 ตรี เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 119* หามมิใหผูใดเท ทิง้ หรือทําดวยประการใด ๆ ใหหนิ กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา ส่ิงของหรอืส่ิงปฏิกูลใด ๆ ยกเวนน้ํามนัและ เคมีภัณฑลงในแมน้าํ ลําคลอง บึง อางเก็บน้าํ หรือทะเลสาบ อันเปนทางสัญจร ของประชาชนหรือที่ประชาชนใชประโยชนรวมกนัหรือทะเลภายในนานน้ําไทย

Page 31: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

อันจะเปนเหตุใหเกิดการตืน้เขิน ตกตะกอนหรือสกปรก เวนแตจะไดรับอนุญาต จากเจาทา ผูใดฝาฝนตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน หนึง่หมื่นบาท หรือทั้งจําทัง้ปรับ และตองชดใชเงนิคาใชจายที่ตองเสยีในการ ขจัดสิ่งเหลานั้นดวย *[มาตรา 119 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 119 ทวิ* หามมิใหผูใดเท ทิ้ง หรือทําดวยประการใด ๆ ใหน้ํามันและเคมีภัณฑหรือส่ิงใด ๆ ลงในแมน้าํ ลําคลอง บึง อางเกบ็น้ํา หรือ ทะเลสาบอนัเปนทางสัญจรของประชาชนหรือที่ประชาชนใชประโยชนรวมกนั หรือทะเลภายในนานน้าํไทยอันอาจจะเปนเหตุใหเกิดเปนพษิตอส่ิงมชีีวิตหรือตอ ส่ิงแวดลอมหรือเปนอนัตรายตอการเดนิเรือในแมน้ํา ลําคลอง บึง อางเก็บน้ํา หรือทะเลสาบดังกลาว ผูใดฝาฝนตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับ ไมเกินหกหมืน่บาทหรือทั้งจําทัง้ปรับ และตองชดใชเงนิคาใชจายที่ตองเสียไป ในการแกไขสิ่งเปนพิษหรือชดใชคาเสียหายเหลานัน้ดวย *[มาตรา 119 ทว ิเพิม่เติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 120* ใหเจาทามีหนาที่ดูแล รักษาและขุดลอกรองน้าํ ทาง เรือเดิน แมน้ํา ลําคลอง ทะเลสาบและทะเลภายในนานน้ําไทย หามมิใหผูใดขุดลอก แกไข หรือทําดวยประการใด ๆ อันเปนการ เปลี่ยนแปลงรองน้ําทางเรือเดิน แมน้ํา ลําคลอง ทะเลสาบหรือทะเลภายใน นานน้าํไทย เวนแตจะไดรับอนุญาตจากเจาทา ผูใดฝาฝนตองระวางโทษปรับ ตั้งแตหาพนับาทถึงหาหมืน่บาทและใหเจาทาสั่งใหหยดุกระทําการดงักลาว *[มาตรา 120 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ง) วาดวยเรือที่เปนอันตรายลง ฯลฯ มาตรา 121* เมื่อมีเรือไทย เรือตางประเทศหรือส่ิงอื่นใดจมลง หรืออยูในสภาพที่อาจเปนอนัตรายแกการเดินเรือในนานน้าํไทย ใหเจาของหรือ ตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอื่นใดนั้นจัดทาํเครื่องหมายแสดงอันตรายโดยพลนั ดวยเครื่องหมายตามที่เจาทาหรือเจาพนกังานผูมหีนาที่เหน็สมควร สําหรับเปน ที่สังเกตในการเดินเรือทัง้เวลากลางวันและเวลากลางคืน จนกวาเจาของหรือ ตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอื่นใดนั้นจะไดกู ร้ือ ขน ทําลายหรือกระทาํการ

Page 32: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

อยางหนึง่อยางใดแกเรือหรือส่ิงอื่นใดซึ่งไดจมลงหรืออยูในสภาพที่อาจเปน อันตรายแกการเดินเรือออกจากที่นัน้เรียบรอยแลว ซึ่งตองกระทาํใหแลวเสร็จ ภายในระยะเวลาที่เจาทากาํหนด ถามิไดจัดทําเครื่องหมายแสดงอนัตรายหรือกู ร้ือ ขน ทําลายหรือ กระทําการอยางหนึ่งอยางใดใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่เจาทากาํหนดตาม วรรคหนึ่ง ใหเจาทาหรอืเจาพนกังานผูมหีนาที่มีอํานาจจัดทําเครื่องหมายแสดง อันตราย หรือกู ร้ือ ขน ทําลายหรือกระทาํการอยางหนึง่อยางใดแกเรือหรือส่ิง อ่ืนใด และทรัพยสินที่อยูในเรือหรือส่ิงอืน่ใดใหพนจากสภาพที่อาจเปนตรายแกการ เดินเรือ โดยเรียกคาใชจายจากเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอื่นใดนั้น ถาเรือไทย เรือตางประเทศหรือส่ิงอืน่ใดตามวรรคหนึง่ มีส่ิงซึง่กอ หรืออาจกอใหเกิดมลพิษตอส่ิงแวดลอม ใหเจาของหรอืตัวแทนเจาของเรือหรือ ส่ิงอื่นใดนัน้ขจัดหรือปองกนัมลพษิใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่เจาทากาํหนด หากไมแลวเสร็จภายในระยะเวลาดังกลาว ใหเจาทาหรือเจาพนักงานผูมีหนาที ่ มีอํานาจกระทําการอยางหนึ่งอยางใดเพือ่ขจัดหรือปองกนัมลพษินัน้ได โดยเรียก คาใชจายจากเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอืน่ใดนัน้ ในกรณทีี่เจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอืน่ใดนัน้ไมยอมชดใช คาใชจายตามวรรคสองหรอืวรรคสามภายในระยะเวลาที่เจาทากําหนดตามควรแก กรณี หรือไมปรากฏตัวเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอื่นใดนัน้ ใหเจาทา ดวยความเหน็ชอบของรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมนําเรือหรือส่ิงอื่นใดและ ทรัพยสินที่อยูในเรือหรือส่ิงอื่นใดนัน้ออกขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอ่ืน ถาเงนิที่ไดจากการขายทอดตลาดหรือขายโดยวธิีอ่ืนยงัไมเพยีงพอ ชดใชคาใชจาย เจาของหรอืตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอื่นใดนั้นตองชดใชสวนที ่ ยังขาด แตถาเงนิที่ไดจากการขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอ่ืนนัน้เมื่อหักคาใชจาย แลวเหลือเทาใดใหคืนเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอื่นใดนัน้หรือเจาของ ทรัพยสิน เวนแตไมปรากฏตัวเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือส่ิงอื่นใดนั้น หรือเจาของทรัพยสิน ใหเงนิที่เหลือนั้นตกเปนของแผนดิน *[มาตรา 121 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่12) พ.ศ. 2522] (จ) วาดวยแตรหวีดเปาดวยแรงสตมิ ฯลฯ มาตรา 122 หามมิใหเรือกําปนไฟ หรือเรือกลไฟเล็กทีท่อดสมอ

Page 33: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

อยูก็ดีหรือกาํลังเดนิอยูก็ด ีเปาแตรหวีดนอกจากเฉพาะสําหรับความสะดวกใน การเดินเรือ หรือเพื่อปองกนัมิใหโดนกนักับเรืออ่ืนและเสียงแตรที่เปาขึ้นนัน้ หามมิใหเปานานเกนิกวาสมควร ขอบังคับที่วานี้ใหใชไดสําหรับแตรเรือยนต เหมือนกัน มาตรา 123 ภายในเขตทาเรือกรุงเทพฯ หามมิใหเรือลําใดใชแตร ที่มเีสียงหาวหรือเสียงครางครวญ เวนไวแตเรือมาจากตางประเทศที่ไมมีแตร อยางอืน่นอกจากอยางนัน้ วาดวยการยงิปน มาตรา 124 ภายในเขตทากรุงเทพฯ นอกจากไดรับอนุญาตจาก เจาทาหรือจากเจาพนักงานผูมีหนาที ่หามมิใหผูใดยงิปนจากเรือกําปนหรือเรือเลก็ ลําใดเปนอันขาด เวนไวแตสําหรับเปนเครื่องสัญญาณวามีเหตรุายเกดิขึ้นแกเรือ วาดวยการตีกลองตีฆองและจุดดอกไมเพลิง มาตรา 125 ภายในเขตทากรุงเทพฯ และนอกจากไดรับอนุญาตจาก เจาทา หรือเจาพนักงานผูมีหนาที ่หามมิใหผูใดตีกลอง ตีฆอง ปลอยหรือจุดดอก ไมเพลิงในระหวางเวลาตัง้แต 4 ทุมถงึเวลาย่ํารุงเปนอนัขาด มาตรา 126* ผูใดฝาฝนมาตรา 122 มาตรา 123 มาตรา 124 หรือมาตรา 125 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึ่งรอยบาทถงึหนึง่พนับาท *[มาตรา 126 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ฉ) วาดวยทรพัยส่ิงของที่ลืมไวในเรือและทรัพยส่ิงของ ที่ลอยพลัดอยูในแมน้ํา มาตรา 127 เมื่อมีทรัพยส่ิงของอยางใดของคนโดยสาร หรือของ คนอื่นลืมไวในเรือกําปนหรือเรือเล็กลําใด และนายเรือลํานัน้ไมสามารถที่จะคนื ใหแกเจาของได ทานวาใหเอาไปสงไวยงัโรงพักกองตระเวนที่ตัง้อยูใกลและ ทําคําชี้แจงเหตุที่เกี่ยวของยื่นไวดวย มาตรา 128 ผูใดพบและเก็บทรัพยส่ิงของในแมน้าํอันเปนของ ๆ คนอื่นทีห่ายไป เชน ไมซุงหรือไมกระดานที่เปนของพลัดจากแพหรือเรือหรือ ส่ิงของอยางอื่น ๆ ทานวาตองนําสงไวยงัโรงพักกองตระเวนที่ตั้งอยูใกล

Page 34: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 129 เมื่อมีทรัพยส่ิงของมาสงไวดังนั้น กองตระเวนตองคืน ใหแกเจาของถาหากรูจักตวั ถาหาเจาของไมไดก็ใหประกาศโฆษณาไว เมื่อพน กําหนดเวลา 3 เดือนไปแลว ทานวาใหขายทรพัยส่ิงของนัน้โดยวิธีขายทอดตลาด ขายไดเงินเทาใดใหชักไวรอยละสิบสําหรบัผูที่พบและเก็บทรัพยส่ิงของนัน้ ๆ เหลือจากนัน้ใหสงไวเปนของรัฐบาล แตในการที่จะคนืเจาของก็ด ีหรือจะขาย ทอดตลาดกด็ี ทานใหกองตระเวนสืบใหทราบเสียกอนวาทรัพยส่ิงของนัน้ ๆ จะตองเสียภาษีศุลกากรหรอืไม มาตรา 130* ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 127 มาตรา 128 หรือ มาตรา 129 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึ่งรอยบาทถึงหนึง่พนับาท *[มาตรา 130 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] (ช) วาดวยคําเตือนสาํหรับนายเรือกําปน มาตรา 131 เมื่อเวลาอนุญาตใหลูกเรือลาพกั นายเรือควรชี้แจงแก ลูกเรือใหทราบวาเวลาขึ้นบกอยาใหมีมดีที่มีฝกหรืออาวุธที่อาจทาํอันตรายไดอยาง อ่ืน ๆ เชน ลูกดิ่ง ฯลฯ ติดตัวไปดวยเปนอันขาด ตามความในมาตรา 335 ขอ 2 แหงประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ทานวาถาผูใดมีอาวุธอยางใดเชนวามานัน้ เขาไปในถนนหรือสาธารณสถาน กองตระเวนมีอํานาจที่จะจับกุมผูนัน้ไดและถาพจิารณาเปนสัตยตอหนาศาลให ตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวาสิบสองบาท และใหริบอาวุธนัน้เสียดวย มาตรา 132 นายเรือกําปนทกุคนตองกระทาํตามขอบังคับและคําสั่ง ที่สมควรทกุอยางของเจาทา ในการที่จะใหเคลื่อนหรือยายเรือที่ตนควบคุมอยูนัน้ ไปยังที่ใด ๆ มาตรา 133 หามมิใหพาเอาศพเขามาในนานน้าํไทย จากเมืองทา ตางประเทศ นอกจากศพทีม่ีหีบหรือเครื่องหุมหออยางมิดชิดแนนหนารั่วไมไดและ มีหนงัสือใบพยานกาํกับศพมาดวยฉบับหนึง่ ชี้แจงวาตายดวยเหตุอะไรเปนหนังสอื ใบพยานที่แพทยซึ่งมวีุฒิสมควรตามกฎหมายไดทําใหและกงสุลไทยในเมืองทาที่มา จากนัน้ไดลงชื่อเปนพยานหรือถาไมมกีงสุลไทย เจาพนักงานฝายตลุาการไดลงชือ่

Page 35: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

เปนพยาน เมื่อศพมาถึงนานน้ําไทย นายเรือตองรีบแจงความใหผูนาํรอง เจาทา หรือเจาพนักงานแพทยสุขาทราบโดยพลนั ภาคที่ 2 ขอบังคับสําหรบัออกใบอนุญาตการใชและ การควบคุมเรือกําปนและเรือเล็กตาง ๆ ______ หมวดที่ 1 วาดวยขอบังคับทั่วไป ______ มาตรา 134* [ยกเลิกแลวโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2481] มาตรา 135* [ยกเลิกแลวโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2481] มาตรา 136* [ยกเลิกแลวโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2481] มาตรา 137* เร่ืองราวขอรับใบอนุญาตหรือขอตออายุใบอนุญาตนัน้ ใหยื่นตอเจาทาเจาพนักงาน ซึ่งไดแตงตั้งขึ้นเพื่อการจดทะเบยีนและตองเขียน ดวยกระดาษแบบพิมพของราชการ เวลาที่ยืน่เรื่องราวของผูขอใบอนุญาตตอง นําเงินไมต่าํกวากึ่งจาํนวนเงินคาธรรมเนยีมสําหรับออกใบอนุญาตนัน้มาวาง ไวดวย ถาเปนเรือกลไฟหรือเรือยนตที่ประสงคจะเดินรับจางบรรทกุคน โดยสารหรือสินคา หรือจูงเรือ ผูยื่นเรื่องราวตองแจงมาใหชัดเจน ถาจะเดิน รับจางเปนการประจําทางจะตองระบุดวยวา ตนจะนาํเรือนั้นไปเดินจากตําบลใด ถึงตําบลใด เพื่อประโยชนแหงมาตรานี ้เรือกลไฟหรือเรือยนตลําใดเดนิรับจาง เปนการประจําระหวางตําบลใด ๆ มีกําหนดตั้งแต 3 เดือนขึ้นไป ใหถือวา เปนเรือเดินประจําทาง เรือกลไฟหรือเรือยนตที่ไดรับอนุญาตใหเดินรับจางบรรทุกคนโดยสาร หรือสินคา หรือจูงเรือตามความประสงคในวรรคกอนนีแ้ลว ตอมาถาจะขอแก ทะเบียนเปลีย่นความประสงคที่ไดรับอนญุาตไวแตเดิมนั้นก็ได

Page 36: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

*[มาตรา 137 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477] มาตรา 138 เมื่อเจาพนกังานออกใบอนุญาตวนิจิฉัยโดยเหตุ อันสมควรเหน็วาเรือกําปนและเรือเล็กลําใดมีความพิทกัษรักษาและความสะอาด เรียบรอยไมพอเพยีงสาํหรบัการที่ใชกันอยูหรือที่คิดจะใชนั้นก็ด ีหรือวาผูที่ไดรับ อนุญาตหรือคนประจําเรือลําใดไดประพฤติไมเรียบรอยอยางหนึ่งอยางใดก็ด ี ทานวาถาเปนเรือที่ยงัไมมใีบอนุญาตเจาพนักงานผูนัน้มีอํานาจที่จะไมยอมออก ใบอนุญาตให ถาเปนเรือทีม่ีใบอนุญาตแลวเจาพนกังานมีอํานาจที่จะเรียกคืนและ ริบใบอนุญาตนั้นได มาตรา 139* เมื่อเจาทาตรวจพบวาเรือกําปนลาํใดที่ใชในทะเล หรือเรือที่ใชในแมน้าํไมอยูในสภาพที่ปลอดภัย หรือไมเหมาะสมสําหรับการใช ใหเจาทามีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือถึงนายเรือหามใชเรือนั้น และสั่งให เปลี่ยนแปลงแกไขหรือซอมแซมใหเรียบรอยจนเปนทีป่ลอดภัยหรือมีสภาพเหมาะสม สําหรับการใช ถานายเรือนําเรือตามวรรคหนึง่มาใชโดยมิไดปฏิบัติตามคําสั่งของ เจาทาที่ส่ังตามวรรคหนึ่ง ใหเจาทามีอํานาจกักเรือนั้นไวจนกวาจะไดปฏิบัติ ใหถูกตองตามคาํสั่ง *[มาตรา 139 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 140* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 141* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 142* ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมมีอํานาจออก กฎกระทรวงกําหนดแบบใบอนุญาตใชเรือ ตลอดจนหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข ในการขอรับใบอนุญาตใชเรือและการออกใบอนุญาตใชเรือ กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได *[มาตรา 142 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 143* การออกใบอนุญาต หรือการออกใบอนุญาตใหมแทน ฉบับเดิมที่หมดอาย ุสําหรบัเรือที่บัญญัติไวในหมวดที ่3 หมวดที ่4 และหมวดที ่5

Page 37: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ในภาคที ่2 ใหเรียกเก็บคาธรรมเนียมตามที่กาํหนดในกฎกระทรวง แตไมเกิน ฉบับละสองพันบาท ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมมีอํานาจกําหนดเรือที่ไดรับการ ยกเวนคาธรรมเนียมในวรรคหนึ่งไวในกฎกระทรวง *[มาตรา 143 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 144* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2481] มาตรา 145* ใบอนญุาตนั้นจะสับเปลี่ยนกันใชไมได แตถาใน ระหวางที่ใบอนุญาตยงัไมหมดอายเุรือนัน้ไดเปลี่ยนเจาของกนัไปแลวก็ใหจัดการ โอนกรรมสิทธิ์กันได แตตองแจงความใหเจาทาทราบดวย เพื่อเจาทาจะไดแก ใบอนุญาตเปลี่ยนชื่อบัญชีในทะเบียนไวเปนสาํคัญ โดยเรียกคาธรรมเนียม ถาเปน เรือเล็ก เรือบรรทุกสินคาหรอืเรือเปดทะเล ฯลฯ เปนเงนิสองบาท ถาเปน เรือนอกจากที่วามานี้เปนเงินยี่สิบบาท *[มาตรา 145 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่8) พ.ศ. 2490] มาตรา 146 เมื่อยังไมไดจัดการโอน ในทะเบียนและในใบอนญุาต ตามที่บงัคับไวในมาตรา 145 ทานวาผูทีจ่ะโอนนั้น ตองคงเปนผูรับผิดชอบ อยูกอนตามบัญญัติมาตรา 298 และ 299 และใหถือวาการโอนนัน้ยังชอบดวย กฎหมายไมไดสําหรับคนผูอ่ืนทีย่ังไมรูในเร่ืองการโอนนัน้ มาตรา 147 ถาในระหวางอายุใบอนุญาตฉบับใด กระดาษใบอนุญาต นั้นลบเลือนจนอานไมชัดก็ดี หรือสูญหายไปก็ด ีทานหามมิใหใชเรือลํานัน้ จนกวา เจาทาจะไดออกสําเนาใบอนุญาตฉบับใหมให ถาเปนการที่สูญหายจะขอใหมใหยืน่ เร่ืองราวเปนลายลักษณอักษร มาตรา 148 ใบอนุญาตฉบับใหมทีอ่อกใหแทนเชนวามานัน้ ใหมีอักษร วา "สําเนาใบอนุญาต" เขียนลงไวเปนสาํคัญ และใหใชไดชอบดวยกฎหมาย เพียงกําหนดเวลาที่ฉบับเดมิยังไมหมดอาย ุ มาตรา 149* การออกสําเนาใบอนญุาต ใหเรียกคาธรรมเนียม

Page 38: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

กึ่งอัตราคาธรรมเนียมออกใบอนุญาต แตไมเกินหนึง่รอยบาท *[มาตรา 149 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 150 ผูที่ควบคุมเรือกําปนและเรือเล็กลําใด ที่ไดจดทะเบียน แลว ตองรักษาใบอนุญาตไวในเรือนัน้เสมอ มาตรา 151 ผูที่ควบคุมเรือกําปนและเรือเล็กลําใดที่เปนเรือตอง จดทะเบียนนั้น เมื่อเจาพนักงานออกใบอนุญาต หรือเจาพนักงานกองตระเวน หรือเจาพนักงานกรมเจาทา หรือผูที่เชาเรือลํานั้นมีความประสงคจะขอตรวจดู ใบอนุญาตสาํหรับเรือลํานัน้แลว ผูควบคุมตองนาํมาแสดงใหเห็นปรากฏ มาตรา 152* ผูใดเปนผูควบคุมเรือกําปนหรือเรือเล็กลําใดทีม่ ี ใบอนุญาตหรือยังไมมีใบอนุญาตก็ด ีถาและผูนั้นรูอยูแลวนําเอาใบอนุญาตสําหรบั เรือลําอื่นออกแสดงและใชเปนใบอนุญาตสําหรับเรือลําที่ตนเปนผูควบคุม หรือ ผูใดจัดหาใบอนุญาตมาเพือ่ใชในการกระทําความผิดดังกลาว ตองระวางโทษ จําคุกไมเกนิหกเดือน หรือปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถงึหนึ่งหมืน่บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ *[มาตรา 152 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 153 หามมิใหเรือกําปนลําใดเอาชื่อของเรือลําอื่นที่ได จดทะเบียนไวแลวมาใช ถาและเรือกําปนลําใดที่ขอรับใบอนุญาตมีชือ่พองกนั กับเรือลําอื่น เจาทาตองขอใหผูที่ยืน่เรื่องราวขอรับใบอนุญาตนัน้เปลีย่นชื่อเรือ เปนอยางอืน่ และใหยับยั้งการออกใบอนญุาตไวจนกวาจะไดเปลี่ยนชื่อเรือนั้น มาตรา 154* เจาของเรือกําปนลาํใดจะเปลี่ยนชื่อเรือที่จดทะเบยีน ไวแลว ตองนาํชื่อใหมไปจดทะเบยีนทันท ีและเสียคาธรรมเนยีมจดทะเบียน คร้ังละหาสิบบาท *[มาตรา 154 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 155* หามมิใหเรือกลไฟหรือเรือยนตลําใดบรรทุกผูโดยสาร มากกวาจาํนวนที่แจงในใบอนุญาตสําหรบัเรือลํานัน้ *[มาตรา 155 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 156 เรือกําปนลําใดจะใชธงพิเศษสาํหรับเปนเครื่องหมาย

Page 39: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ของเจาของ หรือใชเครื่องหมายอยางใดที่ปลองเรือก็ด ีตองไดจดทะเบียนธง หรือเครื่องหมายนั้นไว ณ ที่วาการกรมเจาทา และอธิบายลงไวในใบอนุญาต สําหรับเรือเสยีกอนจงึใหใชได มาตรา 157 ตัวเลขและตัวอักษรที่เปนสวนของชือ่และเลขลําดับ ที่พระราชบญัญัตินี้บังคับใหเขียนดวยส ีหรือใหติดหรอืสลักลงไวที่เรือกาํปนและ เรือเล็กตาง ๆ นั้น จะตองเปนเลขหรืออักษรขนาดเทาใดตองแลวแตเจาทา จะเหน็สมควร มาตรา 158 เจาทา เจาพนักงานกองตระเวน เจาพนักงาน กรมเจาทาคนใดก็ดี ยอมมอํีานาจโดยพระราชบัญญัตินี้ที่จะข้ึนไปและตรวจ บนเรือกําปนหรือเรือเล็กลําใด ๆ ไดทุกลํา เพื่อใหทราบวาเรือนัน้ไดรับอนุญาต สําหรับเรือแลวหรือไม และเพื่อใหทราบวาไดมีความละเมิดตอขอบังคับใน พระราชบัญญัตินี้ หรือในกฎขอบังคับอยางใด ๆ ซึ่งเจาทาไดออกโดยชอบดวย กฎหมายอยางหนึง่อยางใดหรือไม มาตรา 159 ส่ิงของอยางใด ๆ ที่อาจทําใหเกิดอนัตรายขึ้นได แมจะเปนจาํนวนอยางนอยสักเพยีงใดกด็ี ทานหามมิใหบรรทุกไปในเรือกําปน หรือเรือเล็กลําใดพรอมกนักับคนโดยสาร เวนไวแตเรือลํานัน้ ๆ ไดจัดที่ไว เปนพิเศษในตอนใตดาดฟาสําหรับบรรทกุน้ํามันปโตรเลียมและน้าํมนัเบนซิน และถาเจาทาเหน็เปนการสมควรแลวจึงใหบรรทุกของสองอยางนัน้ไปดวยได แตขอบังคับในมาตรานีท้านวาไมตองถือเปนการหามคนโดยสารใดทีจ่ะพา อาวุธปนของตนกับเครื่องกระสุนปนมีจํานวนอันสมควรสาํหรับใชเองไปดวย ในเรือได

มาตรา 160* เมื่อปรากฏวาเรือไทยที่ไดรับใบอนุญาตใชเรือมีอุปกรณ และเครื่องใชประจําเรือไมถกูตองหรือไมอยูในสภาพที่ใชการไดตามใบสําคัญ ที่ออกตามกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือตามมาตรา 163 ใหเจาทามีอํานาจ ออกคําสั่งเปนหนังสือใหนายเรือแกไขใหถูกตองภายในระยะเวลาทีก่าํหนด ถานายเรือนําเรือตามวรรคหนึง่มาใชโดยมิไดปฏิบัติตามคําสั่งของ

Page 40: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

เจาทาที่ส่ังตามวรรคหนึ่ง ใหเจาทามีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตใชเรือจนกวา จะไดปฏิบัติถูกตองตามคําสั่ง เมื่อไดปฏิบัติถูกตองตามคําสั่งตามวรรคหนึง่แลว ใหเจาทาออกคําสั่ง เพิกถอนคําสัง่พักใชใบอนญุาตใชเรือโดยพลนั เมื่อเจาทาตรวจพบวาเรือตางประเทศที่เขามาในเขตทาเรือของ ประเทศไทยมีอุปกรณและเครื่องใชประจําเรือไมถูกตองหรอืไมอยูในสภาพ ที่ใชการไดตามใบสําคัญตามทีก่ําหนดในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือตาม มาตรา 163 ใหเจาทามีอํานาจออกคาํสั่งเปนหนงัสือใหนายเรือแกไขใหถูกตอง เสียกอน เมื่อเห็นวาถูกตองแลว จึงจะอนญุาตใหออกเรอืได *[มาตรา 160 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 161* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 145 มาตรา 147 มาตรา 150 มาตรา 151 มาตรา 156 มาตรา 157 มาตรา 159 มาตรา 162 ทว ิมาตรา 162 ตรี มาตรา 166 มาตรา 167 มาตรา 168 มาตรา 171 หรือมาตรา 173 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึง่รอยบาทถงึ หนึง่พนับาท *[มาตรา 161 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 161 ทวิ* นายเรือหรือผูที่ควบคุมเรือกลไฟหรือเรือยนต ผูใดฝาฝนมาตรา 155 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับต้ังแต หนึง่พนับาทถึงหนึง่หมื่นบาท หรือทั้งจาํทั้งปรับ *[มาตรา 161 ทว ิเพิม่เติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

หมวดที่ 2 การตรวจเซอรเวยเรือ ________ มาตรา 162* เจาพนกังานออกใบอนุญาตจะออกใบอนุญาตใชเรือ หรือเปลี่ยนใบอนุญาตใชเรือแทนฉบับเดมิใหแกเรือลําใด ใหกระทําไดตอเมื่อมี ใบสําคัญรับรองการตรวจเรือเพื่ออนุญาตใหใชเรือซึ่งเจาพนักงานตรวจเรือได ออกใหไวแสดงวาเรือลํานัน้ไดรับการตรวจตามกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ

Page 41: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

และปรากฏวาเปนเรือที่อยูในสภาพปลอดภัยและเหมาะสมสําหรับการใชนั้นใน ชวงระหวางเวลาสิบสองเดือน หรือนอยกวานั้น *[มาตรา 162 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 162 ทวิ* เรือที่เปนเรือเดินทะเลระหวางประเทศ ตองมี ใบสําคัญรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยแหงชวีิตในทะเลตามมาตรา 163 (3) เวนแต (1) เรือของทางราชการทหารไมวาจะเปนของประเทศไทยหรือของ ตางประเทศ หรือเรือลําเลียงทหารไมวาจะเปนเรือไทยหรือเรือตางประเทศ (2) เรือสินคาขนาดต่ํากวาหารอยตนักรอสส (3) เรือที่มิใชเรือกล (4) เรือไมที่ตอแบบโบราณ (5) เรือสําราญและกฬีา (6) เรือประมง *[มาตรา 162 ทว ิเพิม่เติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 162 ตรี* เรือทุกลําตองมีใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทกุ ตามมาตรา 163 (4) เวนแต

(1) เรือของทางราชการทหาร ไมวาจะเปนของประเทศไทยหรือ ของตางประเทศ (2) เรือที่วางกระดูกงใูนวนัหรือหลงัวันที ่21 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ที่มีความยาวฉากนอยกวายี่สิบส่ีเมตร (3) เรือที่วางกระดูกงกูอนวนัที ่21 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ที่มีขนาด ต่ํากวาหนึ่งรอยหาสิบตันกรอสส (4) เรือสําราญและกฬีา (5) เรือประมง *[มาตรา 162 ตรี เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 163* ใหเจาทาโดยอนมุัติรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม

Page 42: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มีอํานาจออกกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ เพื่อกําหนดหลักเกณฑวิธกีาร และ เงื่อนไขในการออกใบสําคัญดังตอไปนี้ (1) ใบสําคัญรับรองการตรวจเรือเพื่ออนุญาตใหใชเรือ (2) ใบสําคัญแสดงการตรวจเรือเพือ่จดทะเบียนเรือไทย (3) ใบสําคัญรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยแหงชีวิตในทะเล (4) ใบสําคัญรับรองแนวน้าํบรรทุก (5) ใบสําคัญรับรองการตรวจเรือเพื่อการอืน่ ๆ กฎขอบังคับนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได *[มาตรา 163 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 164* ผูยื่นเรือ่งราวขอรับใบสําคัญตามมาตรา 163 ตอง เตรียมเรือไวใหเจาพนกังานตรวจเรือตรวจตามกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ *[มาตรา 164 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525]

มาตรา 164 ทวิ* ผูยื่นเรื่องราวตามมาตรา 164 ประสงคจะ ใหเจาพนกังานตรวจเรือตรวจเรือนอกสถานที่ราชการไมวาในหรือนอกเวลา ราชการนอกจากตองเสยีคาธรรมเนยีมการตรวจเรือตามมาตรา 165 แลว ใหเสียคาเดนิทาง และคาธรรมเนียมสาํหรับการเดนิทางไปตรวจเรือนอก สถานที่ราชการ ไมวาในหรอืนอกเวลาราชการ ตามทีก่าํหนดในกฎกระทรวง ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนด อัตราคาเดินทางและคาธรรมเนียมสาํหรบัการเดินทางไปตรวจเรือนอกสถานที ่ ราชการไมวาในหรือนอกเวลาราชการ กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใช บังคับได *[มาตรา 164 ทว ิเพิม่เติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 165 คาธรรมเนียมการตรวจนั้น ตองเสียตามพิกัดที่กาํหนด ไวในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ หมวดที่ 3 วาดวยเรอืกลไฟทกุอยาง

Page 43: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

_______ มาตรา 166 เรือกลไฟทกุลําตองมชีื่อเรือเปนอักษรไทยและอักษรฝร่ัง เขียนหรือติดไวในที่เดนแลเห็นไดงายที่หวัเรือทั้งสองแคม ถาเปนเรือกลไฟเดิน ทะเลตองเขยีนหรือติดชื่อเรือและชื่อเมืองที่ไดจดทะเบยีนเรือนัน้ไวทีท่ายเรือดวย ถาเปนเรือไมมีชื่อฉะนัน้ ตองเขียนหรือติดเลขลําดับของใบอนุญาตสําหรับเรือเปน เลขไทย และเลขฝรั่งไวทีห่ัวเรือทั้งสองแคม และหามมิใหเอาสิง่ใดปดบังชื่อหรือ เลขที่วานี้เปนอันขาด

มาตรา 167 บรรดาเรือกลไฟสําหรบัใหเชาตองเอาใบอนุญาต สําหรับเรือและสําเนาขอบังคับที่บัญญัตไิวในหมวดนี้และในหมวดที ่1 ใสกรอบ แขวนไวในทีเ่ดนในเรือที่คนทัง้หลายอานไดงาย มาตรา 168 บรรดาเรือกลไฟสําหรบัใหเชา ซึ่งมิใชเรือกลไฟ เดินทะเลตองเขียนเลขลําดับของใบอนญุาตสําหรับเรือเปนเลขไทยและเลขฝรั่ง ที่หวัเรือขนาบขางชื่อเรือและตองเขียนชือ่และเลขเชนนั้นไวทีท่ายเรือดวย จํานวนคนโดยสารที่อนุญาตใหบรรทุกไดนั้นตองเขียนหรือติดไวในที่เดนแลเหน็ ไดงายจากภายนอกทัง้สองขางลําเรือ และหามมิใหเอาสิ่งใดปดบังชื่อหรือเลข เชนวามานี้เปนอันขาด มาตรา 169 เนื้อที่ในเรือสําหรับใหคนโดยสารคนหนึง่ ๆ จะตอง มีขนาดเทาไรนั้นจะไดกาํหนดไวโดยชัดในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ และ เรือลําใดจะยอมใหบรรทกุคนโดยสารไดกี่คนนัน้จะไดกําหนดไวในใบอนุญาต สําหรับเรือ มาตรา 170* เมื่อเจาทาตรวจพบวาเรือที่ไดรับอนุญาตใหบรรทกุ คนโดยสาร บรรทุกสินคา หรือบรรทุกคนโดยสารและสินคาลําใด อยูในสภาพ ที่ไมปลอดภัยตอคนโดยสาร มีสภาพไมเหมาะสมกับการใช ใหเจาทามอํีานาจ ส่ังหามใชเรือลํานัน้จนกวาเจาของหรือผูครอบครองจะไดแกไขใหเรียบรอย ผูใดใชเรือที่เจาทาสัง่หามใชตามวรรคหนึ่ง ตองระวางโทษ ปรับไมเกินสองพนับาท

Page 44: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

*[มาตรา 170 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 171 ในเรือลําใดถาใชเนื้อที่ทีก่ําหนดสาํหรับคนโดยสาร เปนทีว่างสิ่งของกินเนื้อที่มากนอยเทาคนโดยสารกี่คน ตองลดจํานวนคนโดยสาร ที่อนุญาตใหบรรทุกไดนั้นลงไปใหสมกนั

มาตรา 172 ในใบอนุญาตตองกลาววา แรงสติมที่หมอน้าํของ เรือนั้นควรมหีรืออนุญาตใหมีไดเพียงใดเปนอยางมากที่สุด ถาเจาของหรือ ผูใชจักรหรือนายเรือเรือกลไฟลําใดใชแรงสติมเกินกวาทีอ่นุญาตใหใชก็ดี หรือ เอาของหนักหรือส่ิงใดถวงหรือกดที่(เซฟติแวลฟ) คือเครื่องสําหรับใหพนสติม ไอน้ําเพื่อปองกนัอันตรายไวโดยมิควรก็ดี ทานวามีความผิดตองระวางโทษ ปรับเงินไมเกนิกวาหารอยบาท มาตรา 173 ถามีอุบตัิเหตุอันตรายเกิดขึ้นในเรอืกลไฟลําใดแก ลําเรือหรือหมอน้ํา หรือเครื่องจักร หรือแกคนโดยสาร หรือบุคคลใด ๆ ก็ดี หรือมีอุบัติเหตุอันตรายซึ่งเรือลํานั้นเปนตนเหตกุ็ดี ทานวาตองแจงความไปยงั เจาทาโดยพลัน มาตรา 174* [ยกเลิกแลวพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 175* ผูใดใชเรือผิดจากเงื่อนไขหรือขอกําหนดในใบอนญุาต ใชเรือ ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถึงหนึง่หมื่นบาท *[มาตรา 175 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 176* เรือลําใดบรรทุกเกินกวาที่กําหนดในใบสําคัญรับรอง แนวน้าํบรรทกุ เจาทามีอํานาจที่จะกักเรอืลํานัน้ไว และส่ังใหนายเรอืหรือ ผูที่ควบคุมเรือจัดการใหเรือลํานัน้บรรทกุใหถกูตองภายในระยะเวลาที่กําหนด ถานายเรือหรือผูควบคุมเรือผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของเจาทาตาม วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถงึหนึ่งหมืน่บาท

Page 45: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

*[มาตรา 176 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

หมวดที่ 4 วาดวยเรือใบ เรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือเปดทะเลและอื่น ๆ และเรือสําเภา _______ มาตรา 177 ในใบอนุญาตทกุฉบบัสําหรับเรือใบ เรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือเปดทะเล และอ่ืน ๆ และเรือสําเภานัน้ ตองชี้แจงขนาด กวางยาว ลึกของเรือ และเรืออาจบรรทุกของหนักไดเพียงใด มาตรา 178 เรือที่วามาแลวเชนนัน้ทุก ๆ ลําตองมีเลขลําดับของ ใบอนุญาตสาํหรับเรือเปนเลขไทยและเลขฝรั่งเขียนดวยสีใหอานไดชัดไวที่หวัเรือ ทั้งสองแคมและทีท่ายเรือ หามมิใหเขียนเลขอื่นที่มิใชเลขลําดับของใบอนุญาต และหามมิใหเอาสิง่ใดปดบังเลขที่เขียนไวนัน้เปนอันขาด มาตรา 179 หามมิใหเรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือเปดทะเล และอ่ืน ๆ และเรือสําเภา มีทองเรือปลอมหรือมีระวางหรือที่ลับสําหรับซอนสินคา หรือซอนบุคคล มาตรา 180* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] หมวดที่ 5 วาดวยเรือบรรทุกสินคาและเรือเล็กตาง ๆ _______ มาตรา 181* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2481]

มาตรา 182* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่6) พ.ศ. 2481] มาตรา 183 เมื่อมีผูยื่นเรื่องราวขอรับใบอนุญาต หรือขอเปลี่ยน ใบอนุญาตใหมแทนฉบับเดิมที่หมดอาย ุ สําหรับเรือบรรทุกสินคาหรอืเรือเล็ก ลําใด ๆ ถาเจาทามีเหตุอันสมควรที่จะสงสัยวาไดมีการละเมิดที่เกี่ยวดวย

Page 46: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

เรือนั้นเองหรอืเกี่ยวดวยใบอนุญาตใด ๆ สําหรับเรือนัน้ไซร ทานวาเจาทาม ี อํานาจที่จะรอการออกใบอนุญาตตามที่ขอนั้นและกักเรอืลํานัน้ ๆ ไวเพื่อไตสวน ตอไป ถาและไตสวนตกลงในชั้นที่สุดวาไมควรออกใบอนุญาตใหฉะนัน้ ใหถือวา เรือลํานั้นดุจทรัพยสมบัติทีเ่ก็บได ตามความมุงหมายของบัญญัติในมาตรา 129 แหงพระราชบัญญตัินี้ มาตรา 184 ในใบอนุญาตสําหรับเรือบรรทุกสินคา ตองชี้แจงขนาด กวางยาวและลึกของลําเรือและจํานวนน้ําหนกัที่เรือนัน้มีกาํลังบรรทกุไดเพียงใด มาตรา 185 ในใบอนุญาตสําหรับเรือเล็กตาง ๆ ที่รับจางบรรทกุ คนโดยสาร ตองชี้แจงจํานวนคนโดยสารที่อนุญาตใหเรือนั้นบรรทกุได ถาเปน เรือที่ใชทั้งสาํหรับบรรทุกสนิคาและรับจางบรรทุกคนโดยสารฉะนัน้ ในใบอนุญาต ตองชี้แจงขนาดกวางยาวและลึกของลําเรือและกําลังของเรือที่บรรทกุของหนัก ไดเพียงใด และจํานวนคนโดยสารที่อนุญาตใหบรรทุกไดนั้นดวย มาตรา 186 เรือบรรทุกสนิคาและเรือเล็กตาง ๆ ทุกลํา ที่ใช สําหรับใหเชาหรือรับจางและไดรับใบอนุญาตสําหรับเรือแลวนั้น ตองมีเลขลําดับ ของใบอนุญาตเปนเลขไทยที่เขียนดวยสอีานไดชัดไวทีห่ัวเรือทั้งสองแคม หาม ไมใหมีเลขอยางอืน่เขียนไวในที่นัน้เปนอนัขาด และตองสลักเลขลําดบันั้นลงไว

ในที่แลเหน็ไดงายในลําเรือนั้น ๆ ดวย ถาเปนเรือสําหรับรับจางบรรทกุคน โดยสารตองเขียนจํานวนคนโดยสารที่อนญุาตใหบรรทกุไดนั้นดวยสลีงไวในที ่ แลเห็นไดงายในลําเรือนั้นเปนอักษรเลขไทยและเลขฝรัง่ และที่เขียนไวเชนนี ้ หามมิใหเอาสิ่งใดปดบังไวเปนอันขาด มาตรา 187 หามมิใหเรือบรรทุกสนิคาและเรือเลก็ ๆ ลําใด ๆ มีทองเรือปลอมหรือมีที่ลับอยางใด ๆ สําหรับซอนสิง่ของหรือบุคคล มาตรา 188* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] ภาคที่ 3

Page 47: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ขอบังคับพิเศษ ______ หมวดที ่1 ขอบังคับสําหรับเรือกําปนและเรือตาง ๆ ที่บรรทกุสิ่งของที่อาจทาํใหเกิดอันตรายขึน้ได ______ มาตรา 189* ใหเจาทาโดยอนมุัติรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดชัน้ของสิง่ของและสิ่งของที่อาจทาํให เกิดอันตรายได *[มาตรา 189 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525]

มาตรา 190* ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมมีอํานาจออก กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวธิีการเกี่ยวกับการบรรจุหีบหอ การจัดเก็บ การจัดแยก การจัดทาํและแสดงเครื่องหมาย การจัดใหมีเอกสารที่จาํเปน และการขนถายสิ่งของที่อาจทําใหเกิดอนัตรายขึ้นไดในการขนสงตามหมวดนี ้ กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใช บังคับได *[มาตรา 190 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 191* การขนถายสิง่ของที่อาจทาํใหเกิดอันตรายขึ้นได จากเรือลําหนึ่งไปยงัเรืออีกลําหนึง่ การขนถายจากเรือข้ึนบก หรือการขนถาย จากบกลงเรอื นายเรือหรือตัวแทนเจาของเรือตองแจงใหเจาทาทราบลวงหนา ไมนอยกวายีสิ่บส่ีชั่วโมงกอนการขนถาย และหามมิใหขนถายจนกวาจะไดรับ อนุญาตจากเจาทา ใหอธิบดีกรมเจาทาโดยอนุมัติรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมมี อํานาจประกาศในราชกจิจานุเบกษายกเวนเรือชนิดใดหรือการขนถายประเภทใด ที่จะไมตองอยูในบังคับแหงบทบัญญัติตามวรรคหนึ่งได *[มาตรา 191 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

Page 48: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 192* ใหอธิบดีกรมเจาทาโดยอนุมัติรัฐมนตรีวาการกระทรวง คมนาคมมีอํานาจประกาศในราชกิจจานเุบกษาใหเรือชนิดหนึ่งชนิดใดที่บรรทุก ส่ิงของที่อาจทําใหเกิดอันตรายขึ้นได ตองชักธงหรือแสดงเครื่องหมายหรือ ตองใหสัญญาณใด ๆ ตามที่กําหนดได *[มาตรา 192 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 193* ในการสงสิ่งของที่อาจทําใหเกิดอนัตรายขึ้นไดโดย ทางเรือ ผูสงตองจัดใหมีฉลากแสดงสภาพอนัตรายของสิ่งของนั้นใหชัดเจนที ่ หีบหอ และตองแจงเปนหนงัสือเกี่ยวกับสภาพอันตราของสิ่งของนั้น ตลอดจน ชื่อและที่อยูของผูสงใหนายเรือทราบในขณะหรือกอนการนาํสิ่งของนั้นขึน้เรือ

หามมิใหผูใดสงหรือรับขนโดยทางเรือซึ่งสิ่งของทีอ่าจทาํใหเกิด อันตรายขึ้นไดที่มิไดมีการปฏิบัติใหถูกตองตามวรรคหนึ่ง หรือมีการปฏิบตัิตาม แตมีขอความอันเปนเทจ็ *[มาตรา 193 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 194* นายเรือตองตรวจสอบอยางระมัดระวังตามควรแก กรณีมิใหมีการนําสิง่ของทีอ่าจทาํใหเกิดอันตรายขึ้นไดข้ึนบนเรือโดยฝาฝน กฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 190 ในกรณทีี่มีเหตุอันควรสงสัยวามีการลักลอบนําสิง่ของที่อาจทําใหเกิด อันตรายขึ้นไดข้ึนบนเรือ นายเรืออาจปฏิเสธที่จะรับหีบหอนัน้ได เวนแตเจาของ หรือผูครอบครองจะใหเปดหีบหอเพื่อตรวจดู *[มาตรา 194 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 195* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 192 หรือ มาตรา 194 วรรคหนึง่ ตองระวางโทษจาํคุกไมเกนิสามเดือน หรือปรับ ไมเกินหนึง่หมื่นบาท หรือทัง้จําทั้งปรับ *[มาตรา 195 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 196* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 190 มาตรา 191

Page 49: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

หรือมาตรา 193 วรรคสอง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ ไมเกินสองหมื่นบาท หรือทัง้จําทั้งปรับ *[มาตรา 196 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 197* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

มาตรา 198* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ(ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 199 เรือกําปนถงัทุกลาํที่เขามาถึงในเขตทาหรือแมน้ํา ใด ๆ ในประเทศไทย และมีน้ํามนัปโตรเลยีมอยางบรรทกุในถงัระวางมาใน เรือทานวาเรือนั้นตองรีบไปยังที่ทาขนสนิคาซึ่งไดรับอนญุาตสําหรับขนน้าํมนั ปโตรเลียมอยางนัน้โดยพลัน และหามมใิหเรือลํานัน้ถอยไปจากที่นัน้โดยมิได รับอนุญาตจากเจาทา มาตรา 200 ในระหวางเวลาที่เรือกาํปนถังลาํใด ซึ่งมนี้ํามนั ปโตรเลียมอยางบรรทุกในถังระวางอยูในเรือยังพักอยูในเขตทาหรือลําแมน้าํ ตําบลใด ๆ ในประเทศไทย ทานหามมิใหใชไฟหรือโคมนอกจากโคมไฟฟา บนเรือหรือในที่ใกลชิดกับเรือลํานั้น ในขณะที่ถงัระวางหรือหองบรรทกุน้ํามัน ปโตรเลียมยงัเปดอยูหรือกาํลังถายหรือรับน้ํามนัปโตรเลียมหรือในขณะที่ฝา ครอบปากยังเปดอยู และหามบรรดาคนในเรือนัน้ทกุคนมิใหสูบยาหรือมีไมขีดไฟ อยูกับตัว แตที่บังคับไวเหลานี ้ตองถือวาไมเปนการหามไฟครัวหรือไฟในหอง เครื่องจักรสําหรับใหเกิดสตมิพอใหเรือถอยเขาหรือถอยออกที่ทาขนสนิคา เชนวามาแลวหรือออกไปยงัทะเล หรือเพือ่ใหมีแรงสติมสําหรับทําการถาย น้ํามนัปโตรเลยีมทีย่ังมีอยูนั้นออกจากเรือ มาตรา 201* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 202* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 203* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

Page 50: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 204* ผูใดเท ทิ้ง หรือปลอยใหน้าํมันปโตรเลียมหรือน้ํามนั ที่ปนกับน้าํร่ัวไหลดวยประการใด ๆ ลงในเขตทา แมน้ํา ลําคลอง ทะเลสาบ หรือทะเลภายในนานน้าํไทย ตองระวางโทษจาํคุกไมเกนิหนึ่งป หรือปรับต้ังแต สองพนับาทถึงสองหมืน่บาท หรือทั้งจาํทั้งปรับ *[มาตรา 204 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 205 ในไมวาเวลาใด หามมใิหเรือกําปนถงัเขาไปยงัทา หรือเขาจอดเทียบทามากกวาลําหนึ่งและในขณะที่เรือกาํปนถังลาํใดกาํลังถาย น้ํามนัปโตรเลียมจากเรือ หรือรับน้ํามนัปโตรเลียมลงบรรทุกในเรือ หามมิให เรือกําปนหรอืเรือลําอื่นหรอืเรือสําเภาลําหนึง่ลําใดอยูเทียบทาเดียวกนั หรือ เทียบกับเรือกําปนถังลาํนัน้เปนอนัขาด มาตรา 206 เรือกําปนถงัลําใดที่บรรทุกน้าํมนัปโตรเลียมอยูในถัง ระวางเรือหรือที่พงึจะเสร็จการถายน้าํมนัปโตรเลียมที่บรรทุกมาเชนนัน้จากเรือ ก็ดี ทานหามมิใหเคลื่อนจากที ่ๆ จอดอยูนั้นโดยมิไดรับอนุญาตจากเจาทา ถา และเจาทาเห็นเปนที่พอใจวาเรือกาํปนถังลําใดไมมนี้าํมันปโตรเลียมอยูในเรือ และไดลางชาํระเปดใหอากาศเขาออกในถงัระวางเรือโดยสะอาดสนทิแลว เจาทาอนุญาตใหเรือลํานัน้เลื่อนไปจอดยังที่ใดตามทีจ่ะกําหนดใหไวนัน้ก็ได มาตรา 207* [ยกเลิกโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 208* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 199 มาตรา 200 มาตรา 205 หรือมาตรา 206 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ ตั้งแตหนึง่พนับาทถงึหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาํทัง้ปรับ *[มาตรา 208 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] หมวดที่ 3* ขอบังคับวาดวยการทอดสมอใกลเคียงหรือ เกาสมอขามสาย ทอ หรือส่ิงกอสรางที่ทอดใตน้ํา ________ *[หมวดที ่3 ในภาค 3 แกไขโดยพระราชบัญญัตฯิ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 209* สายโทรเลข สายโทรศพัท สายไฟฟาหรือสายอืน่ใด

Page 51: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

หรือทอหรือส่ิงกอสรางทีท่อดใตน้ํา ในแมน้ํา ลําคลอง บึง อางเก็บน้าํ ทะเลสาบ อันเปนทางสญัจรของประชาชนหรือที่ประชาชนใชประโยชนรวมกนั หรือทะเล ภายในนานน้ําไทย ใหเจาทาจัดใหมีเครื่องหมายแสดงไว ณ ที่ซึ่งสาย ทอหรือ ส่ิงกอสรางนัน้ทอดลงน้าํ เครื่องหมายนัน้ใหทําเปนเสาสูงมีปายใหญสีขาวรูปกลม ติดที่ปลายเสาในกลางปายมีขอความเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษวา "สาย ทอหรือส่ิงกอสรางใตน้าํ หามทอดสมอและเกาสมอ" และในกรณีทีเ่หน็สมควร เจาทาจะจัดใหมีการวางทุนหรือเครื่องหมายอืน่ใดแสดงไวดวยก็ได หามมิใหเรือลําใดทอดสมอภายในระยะขางละหนึ่งรอยเมตรนบัจากที ่ ซึ่งสาย ทอหรือส่ิงกอสรางใตน้ําทอดอยู หรือเกาสมอขางสาย ทอหรือส่ิงกอสราง ที่ทอดใตน้าํนั้น *[มาตรา 209 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 210* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือลําใดทอดสมอเรือภายใน เขตที่ตองหามตามความในหมวดนี ้หรือเกาสมอ หรือลากแห อวน เครื่องจับ สัตวน้ําหรือเครื่องมือใด ๆ ขามเขตเหลานั้น ตองระวางโทษปรับต้ังแต สามรอยบาทถงึสามพันบาท และถาการกระทําดงักลาวเปนเหตุใหเกิดความ เสียหายแกสาย ทอหรือส่ิงกอสรางใด ๆ ที่ทอดใตน้าํดวย ตองระวางโทษจาํคุก ไมเกินหกเดอืน หรือปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถงึหนึง่หมืน่บาท หรือทัง้จําทัง้ปรับ และตองชดใชคาเสียหายหรือคาใชจายในการซอมสาย ทอหรือส่ิงกอสรางใตน้ํา ที่เสียหายเนือ่งจากการที่ไดทอดสมอหรอืเกาสมอ หรือลากของขามสาย ทอหรือ ส่ิงกอสรางนัน้ดวย ในระหวางการดําเนนิคดีเกี่ยวกับการกระทําผิดตามวรรคหนึ่ง เจาทามีอํานาจที่จะกักเรือที่เกีย่วของไวได จนกวาจะมปีระกันมาวางสําหรับเงิน คาปรับหรือคาเสียหายหรอืคาใชจายในการซอมแซมตามที่เจาทากาํหนดตามควร แกกรณี *[มาตรา 210 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 211 ตามความในหมวดนี ้เมื่อเรือลําใดแลนขามเขตอัน ตองหามดงัที่วามาแลวแหงใด ถามิไดชักสมอขึ้นพนจากน้ําจนแลเห็นได ทานให ถือวาเรือลํานั้นเทากับไดเกาสมอขามเขตที่ตองหาม หมวดที ่4 วาดวยคาธรรมเนยีมประภาคาร

Page 52: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

_______ มาตรา 212* ภายใตบังคับแหงมาตรา 213 เรือเดินในทะเลที่เขามา ในนานน้ําไทย หรือที่เดินจากทาหนึง่ถงึอกีทาหนึ่งตองเสียคาธรรมเนยีมประภาคาร ทุนหมายรองน้าํและโคมไฟ แกเจาพนักงานที่ไดแตงตัง้ไวเพื่อการนัน้ตามอัตราและ วิธีการที่จะไดมีกฎกระทรวงกําหนดไวเปนครั้งคราว *[มาตรา 212 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477] มาตรา 213* เรือตอไปนี้ใหยกเวนไมตองเสียคาธรรมเนียม ประภาคาร ทุนหมายรองน้ํา และโคมไฟ ตามมาตรา 212 คือ (1) เรือของรัฐบาลไทย (2) เรือยอชตของเอกชน (3) เรือของรัฐบาลตางประเทศ (4) เรือที่ใชเฉพาะขนถายสนิคาหรือคนโดยสารไปมาภายในเขต ทาเดียวกนั หรือระหวางทากับที่ทอดจอดเรือภายนอกแหงทานั้น (5) เรือคาชายฝงขนาดบรรทุกต่ํากวา 800 หาบ (6) เรือเดินทางซึง่มีแตอับเฉาไมไดคาระวางบรรทุกและไมม ี คนโดยสาร (7) เรือที่เขามาเฉพาะจัดหาเชื้อเพลิง เครื่องพัสดุหรือสะเบียง สําหรับเรือลํานัน้เทานั้น (8) เรือที่เขามาเพราะถูกพาย ุหรือเพื่อทาํการซอมแซม หรือ เพราะเกิดเสยีหาย แตเรือที่วานี้จะตองไมขนถายสินคาลงหรือข้ึนนอกจากสนิคา ที่จําตองขนลงเพื่อการซอมแซมที่วานี ้และภายหลงัไดขนสินคานัน้คนืขึ้นเรือ *[มาตรา 213 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477] มาตรา 214* [ยกเลิกโดยมาตรา 3 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ แกไขเพิ่มเตมิ พุทธศักราช 2477] มาตรา 215* เรือลําใดซึ่งจะตองเสยีคาธรรมเนยีมประภาคาร ทุนหมายรองน้าํ และโคมไฟ มาขอใบปลอยเรือ ใหเจาทาหรือเจาพนกังาน ศุลกากรหรือเจาพนักงานอืน่ผูมีหนาที่ออกใบปลอยเรือขอตรวจดใูบเสร็จ คาธรรมเนียมนั้น ถาปรากฏวาไดเสียคาธรรมเนียมแลว จึงใหออกใบปลอย เรือให

Page 53: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

*[มาตรา 215 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 216* นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือผูใดพยายามจะนาํเรือไป จากนานน้าํไทย โดยไมไดเสียคาธรรมเนยีมตามมาตรา 212 หรือไมยอมให วัดขนาดเรือที่ตนเปนผูควบคุมเพื่อประโยชนในการเรยีกเก็บคาธรรมเนียม ตองระวางโทษปรับต้ังแตหารอยบาทถงึหาพนับาท *[มาตรา 216 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] หมวดที ่5 ขอบังคับสําหรับการปองกนัโรคภยันตราย ________ มาตรา 217 เมื่อไดรับขาววามีไขอหิวาตกโรค ไขทรพิษ ไขกาฬโรค ไขจับ หรือโรครายตาง ๆ ที่มีอาการติดกนัได เกิดขึ้นหรือมอียู ในเมืองทาหรือตําบลใด ๆ ภายนอกพระราชอาณาเขตไทย ใหเสนาบดีกระทรวง นครบาลมีอํานาจชอบดวยกฎหมาย ออกประกาศในหนงัสือราชกิจจานุเบกษา และ แจงประกาศไปยังกงสุลตางประเทศทั่วกนัวา เมืองทาหรือตําบลนัน้ ๆ มีโรคราย ที่ติดกันไดแลวใหบงัคับบรรดาเรือที่จะมาจากเมืองทาหรือตําบลนัน้ ใหไปอยูที ่ สถานหีรือทาํเลทอดสมอเพื่อปองกนัโรคภยันตราย และใหกักอยูทีน่ัน้จนกวา เจาพนักงานแพทย กระทรวงนครบาล หรือเจาพนักงานรอง ซึ่งตอไปจะเรียกวา เจาพนักงานแพทยนัน้จะอนุญาตปลอยใหไปได มาตรา 218 ทําเลสําหรับทอดสมอเรือที่ตองกักดานปองกนัโรค ภยันตรายในนานน้าํไทยนัน้ คือ (1) ที่เกาะพระ...............หนาสถานปีองกนัโรคภยันตราย (2) ที่เกาะสีชัง.........................หนาดานศุลกากร (3) ที่อางศิลา..........................หนาดานศุลกากร (4) ที่เมืองสมทุรปราการในแมน้ําเจาพระยาหนาดานศุลกากร (5) ที่กรุงเทพฯ ในแมน้ําเจาพระยาหนาโรงพักกองตระเวนตําบล บางคอแหลม มาตรา 219 สถานีปองกันโรคภยันตรายนัน้ตั้งอยูที่เกาะพระ หรือ ณ ตําบลใด ๆ อีกสุดแลวแตจะกําหนดตอภายหลงั

Page 54: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 220 ถาเรือกาํปนลาํใดที่เขามาถึงนานน้าํไทย มีคนเปน ไขกาฬโรค ไขอหิวาตกโรค ไขทรพิษ ไขจับ หรือโรครายอยางหนึ่งอยางใด ที่ติดกันไดมาในเรือก็ด ีหรือเปนมาแลวภายใน 14 วัน กอนวนัที่เรือมาถึงก็ด ี นายเรือหรือผูที่บังคับการในเรือลํานั้นตองชักธงสําหรับบอกวามีโรครายขึ้นไว และตองทอดสมอจอดเรืออยูที่สถานีปองกนัโรคภยันตราย จนกวาเจาพนักงาน แพทยจะอนญุาตปลอยใหไปจึงไปได ถาเปนเรือที่จอดอยูแลวในนานน้ําไทย นายเรือหรือผูบังคับการในเรือลํานัน้ ตองชักธงสาํหรับบอกวามีโรครายขึ้นทนัท ี และตองถอยเรือไปจอดอยูยังตําบลที่เจาพนกังานแพทยเหน็สมควร มาตรา 221 เจาพนกังานแพทยตองรีบไปไตสวนเหตกุารณที่เรือนั้น และถาเห็นเปนการจําเปนสําหรับความปองกนัโรคภยันตรายแกบานเมืองที่จะตอง กักเรือและบรรดาคนในเรือลํานัน้ไวที่ดานปองกันโรคภยันตราย ก็ใหมีคําสั่ง แกนายเรือหรือผูที่บังคับการในเรือนัน้ ใหพาเรือและคนในเรือไปอยูในความ กักดานปองกันโรคภยันตราย มาตรา 222 เมื่อมีคําสั่งดังนัน้เปนหนาที่ของนายเรือหรือผูควบคุม เรือนั้นจะตองเอาเรือนั้นไปยังตําบลที่เจาพนกังานจะชี้ใหจอด และตองจอด กักดานอยูทีน่ั้นจนกวาจะมีอนุญาตปลอยใหไปไดตามขอบังคับในกฎหมายนี ้ มาตรา 223* บรรดาเรือที่ตองกักดานสําหรับปองกันโรคภยันตราย ตามคําสั่งนัน้ ในเวลากลางวนัใหชกัธงสาํหรับบอกวามีโรคราย คือ ธงสีเหลือง มีธงประมวญอาณัติสัญญาสากลอยูขางลาง และในเวลากลางคืนใหชักโคมไฟ สีแดงไวที่ปลายเสาหนา *[มาตรา 223 แกไขโดยประกาศแกไขพระราชบญัญัติฯ พระพทุธศักราช 2456] มาตรา 224 บรรดากองเรือรักษาที่เฝาอยูนัน้ ในเวลากลางวนั ใหชักธงสีเหลืองอยางเดียวนัน้ไวทีท่ายเรือ และในเวลาตั้งแตพระอาทิตยตกจน พระอาทิตยข้ึนใหมีโคมไฟไวทั้งทีห่ัวเรือและทายเรือ มาตรา 225 หามไมใหเรือที่ตองกักดานปองกันโรคภยันตราย ถอยไปจากที ่โดยมิไดรับหนังสืออนุญาตของเจาพนกังานแพทย

Page 55: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 226 หามไมใหเรือทัง้หลาย นอกจากเรือของเจาพนกังาน แพทยเขาเทยีบขางเรือที่ตองกักดานปองกนัโรคภยันตราย และหามไมใหคน ผูใดไปมาติดตอกับเรือที่ตองกักนั้น และหามไมใหคนผูใดในเรือที่ตองกัก นั้นไปมาติดตอกับบนฝงเวนแตการที่อาศัยฝากธุระโดยทางเจาพนักงานแพทยนั้น ยอมใหกระทาํได มาตรา 227 เมื่อเรือลําใด ที่มาถงึเมืองทาใด ๆ ในประเทศไทย กําลังมีโรครายที่ติดกนัไดในเรือหรือไดมีมาแลวภายใน 14 วนักอนเวลาที่เรือ มาถงึนัน้ก็ด ีใหสงหอและถงุหนังสือไปรษณียแกเจาพนกังานแพทย และเมื่อ เจาพนักงานแพทยไดเอารมยาหรือทําตามวธิีปองกนัโรครายอยางใด ๆ ตามที่เหน็ สมควรแกการแลว ก็ใหสงหอและถุงหนงัสือไปรษณียไปยังทีว่าการกรมไปรษณีย ในเมืองนั้นได มาตรา 228 เมื่อมีวิธสํีาหรับปองกนัความติดตอของโรครายไดโดย เสนาบดีกระทรวงนครบาลยอมเหน็ชอบดวยตามคราวที่สมควรแกการแลว ก็ให เจาพนักงานแพทยมีอํานาจชอบดวยกฎหมายอนุญาตใหเรือกลไฟลาํใด ๆ ผานทาง เขตทารับถาน น้ําและเสบยีง และขนสินคาขึ้นบกได มาตรา 229 เมื่อเห็นเปนการสมควร ใหเจาพนักงานแพทยมีอํานาจ บังคับใหเอาคนในเรือลําใดที่ตองกักดานปองกันโรคภยันตรายทัง้หมด หรือแต บางคนขึน้ไปไวที่โรงพยาบาลหรือโรงพักที่สถานีปองกนัโรคของเมืองทานั้นใหพกั อาศัยและรักษาอยูที่นัน้จนกวาเจาพนกังานแพทยจะเหน็สมควรใหกลับไปที่เรือ หรือยายไปลงเรืออ่ืน ทําการติดตอฝงได มาตรา 230 เมื่อเวลามีคนที่ตองกกัอยูที่สถานีปองกันโรคภยันตราย ในเวลากลางวันใหชกัธงสีเหลือง และเวลากลางคืนใหชกัโคมไฟสีแดงขึ้นไวเปน สําคัญในทีท่ีแ่ลเห็นไดงาย มาตรา 231 เมื่อมีธงหรือโคมไฟเปนเครื่องหมายความกกัดาน กันโรคภยันตรายชักขึ้นไวเชนนั้น หามไมใหคนผูใดนอกจากเจาพนกังานแพทย หรือคนที่เจาพนกังานแพทยใหอนุญาตนัน้ ไปข้ึนบกที่โรงพักดานปองกันโรค ภยันตรายเปนอันขาด

Page 56: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 232 เมื่อเจาพนกังานแพทยจะตองการกองรักษาสาํหรบั การปองกนัรักษาดานที่ปองกนัโรคภยันตราย ใหการเปนไปตามขอบังคับการ ปองกันโรคภยันตราย ก็ใหผูบังคับการกองตระเวนจัดใหตามที่ตองการ มาตรา 233 หามไมใหคนผูใดที่ตองกักอยูที่สถานีปองกันโรค ภยันตรายไปจากที่นัน้โดยอางเหตุอยางหนึง่อยางใดกอนที่ไดรับอนญุาตปลอย จากเจาพนักงานแพทยนั้นเปนอันขาด มาตรา 234 ถาคนผูใดขึ้นไปบนเรือที่ตองกกัดานปองกันโรค ภยันตรายหรือเขาไป หรือจอดเรือข้ึนที่สถานีปองกนัโรคภยันตรายโดยมิได รับอนุญาตจากเจาพนักงานแพทย คนผูนั้นจะตองถกูกักดานปองกนัโรคภยันตราย มีกําหนดเวลาตามที่เจาพนกังานแพทยจะเหน็สมควร มาตรา 235 ถาเจาพนักงานแพทยมีความตองการใหนายเรือที่ตอง กักดานปองกันโรคภยันตรายจัดหาเรือ และเครื่องใชตาง ๆ เพื่อสงคนโดยสาร และลูกเรือของเรือนัน้ ข้ึนไปไวยังโรงพกัสถานปีองกนัโรคภยันตราย นายเรือ ตองปฏิบัติตามทกุประการ มาตรา 236 ถามีคนตายในเรือลําใดที่ตองกักดานปองกันโรค ภยันตรายหรือตายในเรือทีบ่ังคับใหไปอยูในความกักดานปองกันโรคภยันตรายก็ด ี ตองจัดการปลงศพผูตายตามวธิีที่เจาพนกังานแพทยจะสั่งใหทําและผูเปนนายเรือ ลํานัน้จะตองเปนธุระจัดการนั้นใหเปนไปตามคําสั่งของเจาพนกังานแพทย ทุกประการ มาตรา 237 บรรดาเรือตองกักดานปองกนัโรคภยันตรายนั้น เมื่อได สงคนโดยสารขึ้นไวที่สถานปีองกนัโรคภยันตรายแลว ตองลางและชําระเรือดวย น้ํายากนัโรครายใหเปนที่พอใจเจาพนักงานแพทย และเมื่อทําดงันัน้แลวก็อนุญาต ปลอยเรือลํานั้นไปจากความกักดานได มาตรา 238 ผูแทนเจาของเรือจะตองรับใชคาเลี้ยงดูคนที่ตองสงขึ้น จากเรือนัน้ไปไวที่ดานปองกันโรคภยันตรายที่รัฐบาลไดใชจายออกไปแลวตาม

Page 57: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ใบพยานของเจาพนักงานแพทยและตองรับใชคาชําระลางเรือ และคาพยาบาล คนโดยสารและของอื่นดวยยากนัโรครายนั้นดวย มาตรา 239 เปนหนาที่ของเจาพนกังานแพทยจะตองรีบแจงรายงาน ตอเสนาบดีกระทรวงนครบาลในทุกครั้งทีม่ีเหตุสมควร ตองเอาคนโดยสารใน เรือใด ๆ ที่เพิง่เขามาถงึนัน้กักดานปองกนัโรคภยันตราย และเมื่อตองกักเรือ ใด ๆ เพื่อตรวจโรคราย และเวลาที่อนุญาตปลอยเรือนัน้ก็ตองรายงานดวย เหมือนกัน มาตรา 240 เมื่อมีเรือเขามาจากเมืองทาหรือตําบลใดที่มีโรค ภยันตรายทีต่ิดกันได หรือที่ชักธงบอกวามีโรครายอยูในเรือก็ด ีถาเปนการ จําเปนเพื่อการเดินเรือไมใหเปนอนัตราย ผูนาํรองจะขึน้บนเรือนั้นเพือ่พามา ยังทีท่อดสมอดานตรวจโรคภยันตรายกอนไดรับอนุญาตแพทยก็ได แตถาภายหลงั เจาพนักงานแพทยตรวจเหน็เปนที่สมควรวาตองกกัเรือลํานัน้ที่ดานปองกัน โรคภยันตราย ผูนํารองผูนัน้ก็จะตองถูกกักดวย ตามลักษณะในมาตรา 272 ในพระราชบญัญัตินี้ มาตรา 241 นายเรือหรือแพทยในเรือลําใด ที่เขามาถงึจากตําบลใด ที่มีไขอหิวาตกโรค ไขทรพิษ หรือโรครายที่ติดตอกันไดกําลังแพรหลายอยูก็ด ี หรือในลําเรอืนั้นไดมีคนปวยเปนโรคอยางหนึง่อยางใดในระหวาง 14 วันกอน วันที่เขามาถงึนัน้ก็ด ีนายเรือหรือแพทยผูนั้นมหีนาที่จาํเปนตองแจงเหตุเหลานัน้ โดยถองแทแกผูนํารอง และแกเจาพนกังานแพทยที่จะมาจอดเทยีบขางหรือข้ึน บนเรือนัน้ใหทราบ มาตรา 242 เจาพนกังานแพทยมอํีานาจที่จะขึ้นบนเรือใด ๆ ที่เขามา ในนานน้ําไทย และตรวจคนในเรือนั้นไดทุกคน และถาเห็นสมควรแกการจะเรียก ดูสมุดและหนังสือสําคัญสําหรับเรือดวยก็ได และเจาพนักงานแพทยจะตองพยายาม ทุกอยางในทางที่ชอบดวยกฎหมายตามที่จะเห็นสมควรแกการสําหรับที่จะใหทราบ ไดวาเรือตลอดทั้งคนในเรอืนั้นมีความสะอาดเรียบรอยปราศจากไขเจ็บเพียงไร มาตรา 243 บรรดาคนที่สงขึ้นไวทีส่ถานปีองกนัโรคภยนัตรายนั้น

Page 58: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ตองอยูในความกักดานปองกนัโรคภยันตราย ตามกําหนดเวลาดังตอไปนี้ คือ:- ไขกาฬโรค ไมเกิน 10 วันตั้งแตวนัที่คนปวยสุดทายตายลงหรอื หายสนทิหรอืยายไปไวในที่ซึ่งไมปะปนกับคนอ่ืน ไขทรพษิ ไมเกิน 14 วันตั้งแตวนัที่คนปวยสุดทายตายลงหรอื หายสนทิหรอืยายไปไวในที่ซึ่งไมปะปนกับคนอ่ืน ไขอหิวาตกโรค ไมเกนิ 10 วันตัง้แตวันที่คนปวยสดุทายตายลงหรือ หายสนทิหรอืยายไปไวในที่ซึ่งไมปะปนกับคนอ่ืน มาตรา 244 หามมิใหเอาสิง่ของอยางหนึ่งอยางใดนอกจากหนังสือ และเงินตราออกจากที่ใด หรือเรือลําใดที่ตองกกัดานปองกนัโรคภยันตราย โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานแพทยเปนอันขาด และบรรดาสิ่งของทกุอยาง ที่เอาออกมาแลวนั้นตองชาํระดวยเครื่องยาปองกันโรครายตามวิธทีี่เจาพนักงาน แพทยจะสั่งใหทาํนัน้เสียกอนจึงสงตอไปได มาตรา 245 บรรดาหนงัสือและหอส่ิงของทางไปรษณีย (ไปรษณียวัตถุ) สําหรับสงถึงคนที่ตองกักดานปองกนัโรคภยันตรายนั้น ใหสงไวยังที่วาการ กรมไปรษณียเพื่อใหรีบสงตอไปในโอกาสแรกที่จะสงได มาตรา 246 เจาพนกังานแพทยไดตรวจบนเรือทีต่องกักดานปองกัน โรคภยันตราย หรือไปตรวจที่สถานีปองกันโรคภยันตรายในเวลาที่มคีนตองกักดาน อยูนั้นก็ด ีเมื่อเวลากลับตองชําระตนเองดวยเครื่องยาปองกนัโรครายใหเรียบรอย เสียกอนจงึขึน้บกได มาตรา 247 ในคราวที่เจาพนักงานแพทยของรัฐบาลไทยแจงความ แกนายเรือในบังคับตางประเทศลําใดวา จะตองจัดการตามลักษณะในมาตรา 220 มาตรา 221 มาตรา 229 มาตรา 236 และมาตรา 242 นั้น เมื่อกอนจะได ลงมือจัดการนายเรือลํานัน้ ยอมมีอํานาจชอบธรรมที่จะไปแจงเหตุตอกงสุลของ ประเทศนัน้ได และกงสุล(ถาเห็นสมควรแกการ)ก็มีอํานาจที่จะมาดูในเวลาที ่ ตรวจเรือตางประเทศนัน้ และจะยอมหรอืไมยอมใหเจาพนักงานจัดการตาม ขอบังคับในมาตราตาง ๆ ที่กลาวมาแลวนั้นก็ได มาตรา 248* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 217 มาตรา 220

Page 59: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 222 มาตรา 223 มาตรา 225 มาตรา 226 มาตรา 227 มาตรา 229 มาตรา 231 มาตรา 233 มาตรา 234 มาตรา 235 มาตรา 236 มาตรา 237 มาตรา 238 มาตรา 240 มาตรา 241 มาตรา 243 หรือมาตรา 244 ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึ่งพันบาทถึงหนึง่หมื่นบาท *[มาตรา 248 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] หมวดที่ 6 ขอบังคับสําหรับผูนาํรอง* _______ [หมวด 6 ขอบังคับสําหรับผูนํารอง มาตรา 249 ถึงมาตรา 276 ถูกยกเลกิโดยพระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย แกไขเพิ่มเติม พุทธศกัราช 2477 (ฉบับที ่2)] หมวด 7 วาดวยการจางและการเลิกจางคนสําหรับเรือตาง ๆ และการสอบไลความรูเพือ่รับประกาศนียบัตรสําหรับทําการตามหนาที่ได _______ มาตรา 277* หามมิใหผูใดทําการในเรือกลไฟ เรือยนต เรือเดิน ทะเล เรือบรรทุกสินคาขนาดตั้งแต 100 หาบขึน้ไปซึ่งทําการติดตอกับเรือ เดินทะเลหรอืเรือซึ่งใชเปนเรือชูชีพประจาํเรือเดินทะเล ในตําแหนงทีก่ฎ ขอบังคับสําหรับการตรวจเรือกําหนดใหตองมีประกาศนียบัตร เวนแตเปนผูที ่ ไดรับประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถใหทาํการเชนนั้นได *[มาตรา 277 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 278* เมื่อจะออกประกาศนียบตัรเชนวามาแลว ใหแกผูใด สําหรับทาํการเปนนายเรือ ตนหน สร่ัง ไตกง นายทาย คนถือทาย หรือตนกล คนใชเครื่อง ทานวาผูนัน้ตองสอบความรูไดแลว และเมือ่ยื่นใบสมัครสอบนั้น ตองมีพยานหลักฐานมาแสดงใหเปนทีพ่อใจถึงเรื่องไมเปนคนประพฤติเสเพล ติดสุรายาเมา หรือติดยาเสพติดใหโทษ ความชาํนาญการงานที่ไดทาํมา และ ความประพฤติทั่วไปนั้นดวย แตถาผูนัน้เปนนายเรือ ตนหน สร่ัง ไตกง และ นายทายจะตองแสดงวามสีายตาดีดวย ในมาตรานี ้คําวา "สร่ัง" หมายความถึงผูทําการควบคุมเรือลําเลียง

Page 60: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

"ไตกง" หมายความถงึผูควบคุมเรือใบเดินทะเลทีม่ีน้ําหนักบรรทุก ตั้งแต 800 หาบขึ้นไป "คนถือทาย" หมายความถึงผูควบคุมหรือผูถือทายหรือคนแจวทาย ของเรือบรรทุกสินคาทีท่ําการติดตอกับเรือเดินทะเล *[มาตรา 278 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พุทธศกัราช 2477] มาตรา 279* ใหเจาทาโดยอนมุัติรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม มีอํานาจออกขอบังคับเกี่ยวกับการสอบความรูของผูทาํการในเรือ ในเรื่อง ดังตอไปนี้ (1) การแบงชั้นความรู (2) วิธกีารสอบความรู (3) หลกัสูตร (4) คุณสมบัติของผูสมัครสอบ (5) คาธรรมเนียมในการสอบ (6) การออกประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถ (7) รายละเอียดอื่น ๆ เกี่ยวกับการสอบความรู ขอบังคับนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได *[มาตรา 279 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 280* ประกาศนียบัตรแสดงความรูนัน้ ตองระบุชื่อ อายุ และตําหนิรูปพรรณของผูถือประกาศนยีบัตรและขอความอืน่ ๆ ตามที่จาํเปน และ ตองมีรูปถายของผูถือประกาศนียบัตรปดไวดวย

ประกาศนียบัตรสําหรับคนถือทายใหมีอายุสามป นอกนัน้ใหมีอายหุาป เมื่อครบกําหนดแลว ผูถือตองนาํมาเปลี่ยนใหม ใหเรียกคาธรรมเนียมการเปลี่ยน ประกาศนยีบัตรกึ่งหนึ่งแหงอัตราคาธรรมเนียมเดิม และถาเจาทาจะตองการให แสดงพยานหลักฐานดงัทีบ่ัญญัติไวในมาตรา 278 ก็ทาํได *[มาตรา 280 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477]

Page 61: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 281 บรรดาประกาศนยีบตัรสําหรับความรูที่ไดออกใหไปแลว กอนเวลาประกาศใชพระราชบัญญัตินี้นัน้ ใหเปนอนัใชไดมีกําหนดหาปนับแตวันที ่ ออกประกาศนียบัตรใหไปแลว มาตรา 282* ผูใดทําการในเรือในตําแหนงที่กฎขอบังคับสําหรบั การตรวจเรือกําหนดใหตองมีประกาศนยีบัตรรับรองความรูความสามารถ โดย มิไดรับประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถอันถูกตองตามบทบัญญัตแิหง พระราชบัญญัตินี้ตองระวางโทษจาํคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับต้ังแตหนึง่พนับาท ถึงหนึง่หมืน่บาท หรือทั้งจาํทัง้ปรับ ถาทาํการในเรือในขณะที่ประกาศนียบัตร ส้ินอายุแลว ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพนับาท *[มาตรา 282 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 283* ผูใดนําประกาศนยีบตัรของผูอ่ืนมาใชหรือแสดงวา เปนประกาศนียบัตรของตน หรือผูใดจัดหาประกาศนยีบัตรมาเพื่อใหผูอ่ืนกระทาํการ ดังกลาว ตองระวางโทษจาํคุกไมเกนิหนึง่ป หรือปรับต้ังแตสองพนับาทถงึสองหมืน่ บาท หรือทัง้จําทัง้ปรับ *[มาตรา 283 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 284* ผูทําการในเรือในตําแหนงทีก่ฎขอบังคับสําหรับการ ตรวจเรือกําหนดใหตองมปีระกาศนยีบตัรรับรองความรูความสามารถ ตองเก็บ ประกาศนยีบัตรของตนไวในเรือเพื่อใหเจาทาตรวจดูไดในขณะที่ทาํการ ถาเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือประสงคจะเปลีย่นตัวผูทําการใน เรือลําใด ใหเจาของหรือตัวแทนเจาของเรอืนําใบอนุญาตใชเรือลํานั้นพรอมทัง้ ประกาศนยีบัตรของผูที่จะทําการในเรือลํานัน้ไปใหเจาพนกังานออกใบอนุญาตบันทึก การเปลี่ยนตัวผูทาํการในเรอืไวในใบอนญุาตใชเรือ ณ ทีท่ําการเจาทาทองถิน่ที ่ เรือนั้นขึ้นทะเบียน ภายในกําหนดสิบหาวัน *[มาตรา 284 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่13) พ.ศ. 2525] มาตรา 285 คนรับจางสาํหรับทําการในเรือเดินทะเลคนใด จะเขา ทําการงานหรือมีผูจางทําการงานในเรือกาํปนชาติไทย หรือเรือกําปนตางประเทศ ชาตใิดที่ไมมกีงสุลประจาํอยูในประเทศไทย ตองไดรับอนุญาตจากเจาทากอนจึง ทําได และเจาทาตองเรียกใบพยานเลกิจางที่ผูนั้นไดรับจากเรือที่ตนไดทําการ

Page 62: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

งานมาแลวในหนหลงัมาเกบ็รักษาไวดวย ถาและผูนัน้นําใบพยานเชนนัน้มาสง ไมได ทานวาผูนั้นจาํเปนตองชี้แจงวาเปนดวยเหตุใดใหเปนทีพ่อใจเจาทา มาตรา 286 คาธรรมเนียมซึ่งรัฐบาลไทยจะไดกําหนดตามครั้งคราว นั้น ใหเรียกเก็บสําหรับการวาจางและการเลิกจางทุกครั้ง ใหเจาทา จัดระเบียบพกิัดคาธรรมเนยีมเชนนี้ปดประกาศไวในทีแ่ลเห็นงาย ณ ทีว่าการ กรมเจาทา และใหมีอํานาจไมยอมเปนธุระจัดการวาจางหรือการเลิกจาง รายใด ๆ กอนไดรับคาธรรมเนียมในสวนนั้น มาตรา 287 เจาของเรือหรือนายเรือกําปนจะวาจางหรือเลิกจาง คนการสําหรบัเรือเดินทะเล ณ ที่วาการกรมเจาทา ตองเสียเงนิคาธรรมเนียม ตามพิกัดที่ตัง้ไวสําหรับการวาจางหรือเลกิจางนัน้ทกุครั้ง

มาตรา 288 เมื่อคนทําการในเรือเดินทะเลคนใดเลิกรับจางจาก เรือกําปนไทยลําหนึง่ลําใดภายในพระราชอาณาเขต นายเรือกําปนลํานัน้ตองทํา ใบพยานการเลิกจางใหผูนัน้ไปฉบับหนึ่งเปนคูมือ ใหทาํใหในเวลาที่เลกิจาง และใหเขียนความลงไวในนั้นวาผูนั้นไดรับจางชานานเทาใด ประเภทการที่ได ใชใหทาํและเลิกจางเมื่อวนัใด และลงลายมือนายเรือเปนสําคัญ ถาและผูเลิก รับจางจะขอรองใหทาํหนงัสือชี้แจงเพิ่มเติมวาไดใหคาจางและไดหกัเงินคาจาง อยางไร นายเรือตองทําใหตามประสงค ภายในยี่สิบส่ีชั่วโมงนับแตเวลาที่รองขอ มาตรา 289 การเลิกจางคนทาํการในเรือเดินทะเลจากเรือกาํปน ชาติไทยหรือจากเรือกาํปนตางประเทศทีไ่มมีกงสุลประจาํอยูในประเทศไทยนั้น หามมิใหทําในที่อ่ืน นอกจากที่วาการกรมเจาทา มาตรา 290* ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 284 มาตรา 285 มาตรา 287 มาตรา 288 หรือมาตรา 289 ตองระวางโทษปรับต้ังแต หารอยบาทถึงหาพันบาท *[มาตรา 290 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] หมวดที่ 8

Page 63: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

วาดวยการใชอํานาจทาํโทษสําหรับความผิด ________ มาตรา 291* ผูนํารอง นายเรือ ตนหน สร่ัง ไตกง นายทาย คนถือทาย ตนกล หรือคนใชเครื่อง ที่ไดรับประกาศนยีบัตรหรือใบอนุญาตผูใด หยอนความสามารถ หรือประพฤติไมสมควรแกหนาที ่ละเลยไมปฏิบัติตาม กฎหมายหรอืขอบังคับเกี่ยวแกการเดนิเรอืหรือหนาที่ของตน ใหเจาทามีอํานาจ ที่จะสั่งงดไมใหใชประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาตมีกาํหนดไมเกนิสองป แตไม เปนการลบลางโทษอยางอื่นซึ่งผูนัน้จะพงึไดรับ

ถาผูนั้นไมพอใจคําสั่งใหงดใชประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาต ใหผูนัน้ มีสิทธทิี่จะอทุธรณไปยังรัฐมนตรีเจาหนาที่ภายในหนึ่งเดือนนับแตวนัที่ไดทราบคําสัง่ คําชี้ขาดของรัฐมนตรีนั้นเปนที่สุด แตในระหวางที่รัฐมนตรียังมิไดชี้ขาด คําสั่ง ใหงดใชประกาศนยีบัตรหรือใบอนุญาตมีผลบังคับได *[มาตรา 291 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ แกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477] มาตรา 292 เจาทาทกุตําบลมีอํานาจหนาทีท่ี่จะงดหรือเรียกคนื ประกาศนยีบัตร หรือใบอนุญาตใด ๆ ไดตามลักษณะมาตรา 291 และเพื่อประกอบ กับการเชนนัน้ ใหเจาทามอํีานาจทาํการไตสวน และหมายเรียกพยานและสืบพยาน ไดทุกอยาง ถาพยานคนใดไมมาเบิกพยานหรือขัดขืนไมยอมเบิกพยานก็ด ีทานวา มีความผิดตองระวางโทษตอหนาศาลธรรมดา ตามโทษานุโทษที่กฎหมายบัญญตัิไว สําหรับความผิดเชนนัน้ ในการไตสวนอยางใดตามทีว่ามาแลวเจาทาจะมผูีชวยวนิิจฉัยสองนาย ซึ่งเสนาบดีกระทรวงนครบาลจะเลือกจากจําพวกคนทีม่ีความรอบรูชาํนาญในการ เดินเรือทะเลมานัง่พรอมดวยก็ได ถาผูตองคดีคนใดไมมีความพอใจ และจะขอใหตรวจคําตัดสินของคณะ ที่ไตสวนเชนวามานี้เสยีใหม ทานวาจะฟองอุทธรณเจาทาตอศาลอนัมีหนาที่กฟ็องได มาตรา 293 การใชอํานาจปรับโทษที่ใหไวแกเจาทาตามพระราช บัญญัตินี้นั้น ไมเกี่ยวของอยางใดกับคดทีางอาญาหรอืทางแพง ซึ่งอาจฟองรอง จําเลยในความผิดอันเดียวนั้น ตอศาลซึ่งมีหนาที่เพื่อใหลงโทษหรือใหปรับจําเลย

Page 64: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ใชคาเสียหายตามลักษณะที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นสาํหรับ ความผิดนัน้

มาตรา 294* ผูใดถูกเจาทายึดหรือเรียกคืนประกาศนียบัตรหรือ ใบอนุญาตอยางใดตามพระราชบัญญัตินี ้และส่ังใหนาํประกาศนียบัตรหรือ ใบอนุญาตนัน้สงเจาทาถาไมสงภายในเวลาที่เจาทากาํหนด ตองระวางโทษ ปรับไมเกินสองพนับาท *[มาตรา 294 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 295 ประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาตใด ๆ ที่ถกูเรียกคนืนัน้ ทานใหยกเลกิเปนอนัใชไมไดตอไปทุกฉบับ มาตรา 296 บรรดาใบอนุญาตหรือประกาศนยีบตัรที่ถูกยึดไวชัว่คราว นั้น ใหรักษาไว ณ ที่วาการกรมเจาทา เมื่อครบกําหนดเวลาที่ใหยึดแลวใหสงคนื แกผูถือรับไปตามเดิม แตตองจดความที่ไดยึดนั้นลงไวในฉบับประกาศนียบัตรหรือ ใบอนุญาตนัน้ดวยเปนสาํคัญ หมวดที่ 9 ลักษณะโทษและลักษณะรับผิดชอบทางแพง _______ มาตรา 297* ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของเจาทาหรือเจาพนกังาน ในการปฏิบตัิการตามอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญตัินี้ ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินสามเดือนหรือปรับต้ังแตหารอยบาทถึงหาพันบาท หรือทั้งจาํทัง้ปรับ ผูใดตอสูหรือขัดขวางเจาทาหรือเจาพนกังานในการปฏิบัติการตาม อํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึง่ป หรือปรับ ตั้งแตสองพนับาทถงึสองหมื่นบาท หรือทั้งจาํทัง้ปรับ

ถาการตอสูหรือขัดขวางนัน้กระทําโดยใชกําลงัประทุษรายหรือขูเข็ญ วาจะใชกําลงัประทษุราย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับต้ังแต ส่ีพันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาํทัง้ปรับ *[มาตรา 297 แกไขโดยพระราชบญัญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

Page 65: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 298 ในความผิดอยางใด ๆ ตอพระราชบัญญัตินี้ ถาผูที ่ ควบคุมเรือหรือควบคุมเครื่องจักรของเรือกําปนและเรือเล็กตาง ๆ ลําใดซึ่งเปน จําเลยนั้นหลบหนีตามตัวไมได ทานวาศาลมีอํานาจลงโทษปรับแกเจาของเรือหรือ แกผูที่ไดรับใบอนุญาตสําหรับเรือลํานั้นไดตามที่กฎหมายนีบ้ัญญัติไวสําหรับความผิด นั้น ๆ มาตรา 299 เจาของเรือหรือผูที่รับใบอนุญาตสําหรับเรือกําปนและ เรือเล็กตาง ๆ ทุกลาํ ตองเปนผูรับผิดชอบในการใชคาปรับตาง ๆ ซึ่งนายเรือ ตนกล ตนหน หรือลูกเรือลํานัน้ถูกปรับโดยกระทาํความผิดอยางหนึ่งอยางใดตอ พระราชบัญญัตินี้ มาตรา 300 เจาของแพไมทุกแพตองเปนผูรับผิดชอบในการใช คาปรับตาง ๆ ซึ่งผูที่ควบคมุแพหรือคนประจําการในแพนัน้ถกูปรับโดยกระทาํ ความผิดอยางหนึง่อยางใดตอพระราชบญัญัตินี้ มาตรา 301 ลักษณะโทษตาง ๆ ทีก่ําหนดไวในพระราชบัญญัตินี ้ ทานวาไมเกีย่วของอยางใดกับความรับผิดชอบซึ่งจําเลยจะพงึถกูปรับในคดี สวนแพง เพราะความผิดอยางหนึ่งอยางใดตอพระราชบัญญัตินี้

หมวดที่ 10 ขอบังคับทัว่ไปสาํหรับเมื่อมเีหตุเรือโดนกนั _______ มาตรา 302 ถามีเหตุเรือโดนกันครั้งใด เปนโดยความไมไดแกลง หรือเปนโดยเหตุใด ๆ ซึ่งเหลือความสามารถของมนุษยจะปองกันไดก็ดี ทานวา อันตรายและความเสยีหายที่ไดมีข้ึนแกเรือลําใดมากนอยเทาใดตองเปนพับกับเรือ ลํานัน้เองทั้งสิ้น มาตรา 303 ถามีเหตุเรือโดนกันครั้งใด เปนดวยความผิดหรือความ ละเลย ทานวาอนัตรายและความเสยีหายที่ไดมีข้ึนมากนอยเทาใด ใหปรับเอาแก

Page 66: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

เรือลําที่มีความผิดหรือมีความละเลยนั้น มาตรา 304 ถาเรือทีโ่ดนกนันัน้ ตางมีความผิดหรือความละเลย ทั้งสองลาํ ทานวาไมตองปรับใหฝายใดใชคาเสียหายอนัตรายซึง่ไดมีแกลําใด หรือทั้งสองลาํเวนไวแตถาพิจารณาไดความปรากฏวามูลเหตุทีโ่ดนกนัไดเกิด จากฝายใดโดยมากฉะนัน้ จึงใหศาลซึ่งมหีนาที่ตัดสนิกาํหนดจํานวนเงินที่ฝายนัน้ ตองใชคาเสยีหายใหแกอีกฝายหนึง่ มาตรา 305 เมื่อมีความผิดหรือความละเลยเกิดขึ้นอยางใด อันเรือ ที่เกี่ยวของมคีวามผิดดวยกันทั้งสองฝาย ทานวาเจาของหรือนายเรือทั้งสองลํานั้น หรือลําใดแตลําเดียวตองรับผิดชอบใชคาอันตรายหรือความเสยีหายที่ไดมีข้ึนแก ส่ิงของที่บรรทุกในเรือหรือแกบุคคล เพราะความผิดหรอืความละเลยที่ไดกระทาํนัน้ ถาและการตองใชคาอันตรายหรือความเสยีหายนัน้ตกหนักแกเรือที ่ ตองคดีนั้นแตลําเดียว ทานวาเรือลํานั้นยอมมีอํานาจที่จะฟองรองใหเรืออีกลําหนึง่ ที่ตองคดีดวยกันชวยใชเงนิที่ไดเสียไปแลวนัน้กึง่หนึ่ง

ถาและทางพิจารณาตามกฎหมายไดพิพากษาวาความรับผิดชอบนั้นควร แบงกันเปนอยางอืน่นอกจากที่วามาแลวฉะนัน้ ทานวาการที่จะตองใชเงินคาอนัตราย หรือความเสยีหายตองเปนไปตามคําพพิากษานัน้ มาตรา 306 การรองเอาคาเสียหายนัน้ ทานวากปัตันหรือนายเรือ ลําใดที่เกีย่วในคดียอมมีอํานาจเปนโจทกแทนบรรดาบุคคลที่เกี่ยวของนั้นได มาตรา 307 ถาการที่เรือโดนกนัเปนเหตุใหเสียชีวิตหรือเกิดบาดเจ็บ แกบุคคล ทานวาเงนิคาเสยีหายที่ตัดสินใหเสียในสวนนีต้องใชกอนคาเสียหายอยาง อ่ืน ๆ มาตรา 308 คํารองเอาคาเสียหายอยางใด ๆ ที่เนื่องจากเหตุเรือ โดนกันนัน้ ทานวาตองยื่นภายในหกเดือนนับจากวันทีผู่เกี่ยวของเปนโจทกไดทราบ เหตุอันนั้น

Page 67: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 309 เมื่อไดมีคําฟองเรยีกคาเสียหายอนัเกิดจากเหตุเรือ โดนกันยื่นตอศาล ถาผูใดที่เกีย่วในคดีรองขอขึ้น ทานวาผูพิพากษาที่มีหนาที่มีอํานาจ ที่จะออกคําส่ังใหมกีารอายัติแกเรือลําเดียวหรือหลายลํา อันตองหาวาเปนตนเหตุ ในการที่เรือโดนกันนัน้ได มาตรา 310* (1) ถามีความผิดอยางใดตอกฎขอบังคับสําหรับปองกนั เหตุเรือโดนกนัเกิดขึ้นเพราะความละเมิดของนายเรือ ผูที่ควบคุมเรือหรือเจาของ เรือผูใด อันเปนละเมิดที่กระทําดวยความจงใจ นายเรอื ผูที่ควบคุมเรือหรือ เจาของเรือผูนั้น ตองระวางโทษจาํคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับต้ังแตหนึง่พนับาท ถึงหนึง่หมืน่บาทหรือทัง้จําทั้งปรับ

(2) ถามีความเสยีหายเกิดขึ้นแกบคุคล หรือทรัพยสมบัติเพราะเหต ุ เรือลําใดไมปฏิบัติตามขอบังคับอยางหนึ่งอยางใด ในกฎขอบังคับสําหรับปองกนั เหตุเรือโดนกนั ทานวาใหถอืวาความเสียหายอนันั้นเทากับไดมีข้ึนจากความ ละเมิดอันจงใจของผูควบคุมการอยูบนดาดฟาเรือลํานัน้ในขณะที่เกดิเหตุ เวนแต ถาพิสูจนใหศาลเหน็เปนทีพ่อใจวามีเหตอัุนจําเปนในขณะนั้นที่จะตองประพฤติ ใหผิดไปจากกฎขอบังคับทีว่ามาแลว (3) ในคดีเร่ืองเรือโดนกนั ถาปรากฏขึ้นตอศาลซึ่งพิจารณาคดีนั้น วาไดมีความละเมิดเกิดขึ้นตอขอบังคับขอหนึง่ขอใดแหงกฎขอบังคับสําหรับปองกนั เหตุเรือโดนกนั ทานใหถือวาความผิดที่เปนมูลแหงคดีนัน้ตกอยูกับเรือลําที่ไดม ี ความละเมิดอันนัน้ เวนไวแตถาพิสูจนใหศาลเหน็เปนทีพ่อใจวาไดมีเหตุอัน จําเปนที่จะตองประพฤติใหผิดไปจากกฎขอบังคับที่วามาแลว *[ความใน (1) ของมาตรา 310 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535] มาตรา 311 เมื่อเจาของเรือหรือนายเรือลําใดตองการกฎขอบังคับ สําหรับปองกันเหตุเรือโดนกนั ก็ใหเจาทาจายใหตามความประสงค มาตรา 312 เมื่อเกิดเหตุเรือสองลําโดนกนัขึ้นเวลาใด นายเรือ

Page 68: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

หรือผูที่ควบคุมเรือทั้งสองฝาย เมื่อเหน็วาจะกระทําไดเพียงใดโดยไมเปนที ่ นากลวัอันตรายจะมีข้ึนแกเรือ หรือลูกเรือ หรือคนโดยสาร(ที่หากจะม)ีในเรือ ของตนทานวาเปนหนาที่ของนายเรือหรือผูควบคุมเรือควรจะกระทาํดังตอไปนี้ คือ (ก) ตองชวยเหลือตามความสามารถที่จะกระทาํไดเพียงใดแกเรือ อีกลําหนึ่ง ที่โดนกนั และแกนายเรือ ลูกเรือ และคนโดยสาร (ถาหากมี) ของ เรือลํานั้นเพือ่ปองกันใหพนจากอันตรายที่จะพงึเกิดจากเหตุที่เรือโดนกนันัน้ และ ตองรอเรืออยูใกลกับเรือลํานัน้จนกวาจะเปนที่แนใจวาไมตองการใหชวยเหลือ อีกตอไป

(ข) ตองแจงชื่อเรือ ชื่อเมืองทาที่เปนสํานักของเรอืของตน และมา จากเมืองทาใด จะไปเมืองทาใด แกนายเรือหรือผูควบคุมเรืออีกลําหนึ่งที่โดนกัน นั้นใหทราบ ถานายเรือหรือผูที่ควบคุมเรือลําใดละเลยไมกระทําตามขอปฏิบัติที่ วาไวในมาตรานี ้และไมมีเหตุอันสมควรที่จะแกตัวไดวาเปนดวยเหตใุด ทานวาถาไมมีสักขีพยานแนนอนวาเปนอยางอืน่ ตองถือวาเหตุเรือโดนกันนัน้ ไดเกิดขึ้นเพราะความประพฤติผิด หรือความละเลย หรือความประพฤติละเมิด ฉะนั้น *นายเรอืหรือผูที่ควบคุมเรือผูใดละเลยหรือไมปฏิบัติตามบทบญัญัติใน มาตรานี้โดยไมมีเหตุอันสมควร ตองระวางโทษจาํคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ ตั้งแตหนึง่พนับาทถงึหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาํทัง้ปรับ และใหเจาทามีอํานาจ ส่ังงดใชประกาศนยีบัตรสําหรับทําการในหนาที่เชนนัน้ มีกําหนดไมเกินสองป หรือส่ังหามใชประกาศนยีบัตรนั้นตลอดไปก็ได *[ความในวรรคสาม ของมาตรา 312 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535] แบบที่ 1 แบบคําถามซึ่งนายเรือตองชี้แจงในเวลาที่เรือเขามาถงึ _______ (1) วันที่เรือมาถึง .................................. (2) ชื่อเรือ .................................. (3) ธงชาติของเรือ .................................

Page 69: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

(4) ประเภทของเรือ ................................ (5) เรือขนาดกี่ตัน .................................. (6) ชื่อนายเรือ .................................. (7) เรือมาข้ึนแกผูใด ................................

(8) เรือมาจากไหน ................................. (9) ไดออกเรือจากนัน้เมื่อวนัใด ........................ (10) ประเภทสินคาทีบ่รรทุกมาในเรือ ..................... (11) มียาฝนบรรทกุมาเทาไร ........................... (12) มีหนงัสือสงไปรษณียมาเทาไร ....................... (13) มีเครื่องอาวุธอยางไรเทาไร ....................... (14) มีเครื่องกระสุนปนและเครื่องระเบิดอยางไรเทาไร........ (15) มีโรครายที่ติดกนัไดหรือไม.......................... (16) ไดมีคนตายในเรอืหรือไม........................... (17) จํานวนคนประจาํเรือ.............................. (18) จํานวนคนโดยสารชั้นมหีองใหพัก...................... (19) จํานวนคนโดยสารที่อาศัยพักบนดาดฟา.................. (20) จดหมายเหต ุ ................................. แบบที่ 2* พิกัดคาจางนาํรอง _______ *[แบบที ่2 ยกเลิกโดยพระราชบัญญตัิการเดินเรือในนานน้ําไทย แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที ่2)] แบบที่ 3* พกิัดคาธรรมเนยีมประภาคารและโคมไฟ _______ (ยกเลิกแลว) *[แบบที ่3 ยกเลิกโดยพระราชบัญญตัิการเดินเรือในนานน้ําไทย แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477 (ฉบับที ่2)]

Page 70: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

พระราชบัญญัติตราไว ณ วันที ่16 กรกฎาคม พระพุทธศักราช 2456 เปนวนัที ่979 ในรัชกาลปจจุบัน

พระราชบัญญัติ การเดินเรือในนานน้ําสยาม แกไขเพิ่มเติม พทุธศักราช 2477 ________ นริศรานุวัดติวงศ ผูสําเร็จราชการแทนพระองค (ตามพระราชกฤษฎีกาลงวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2476) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว มีพระบรมราชโองการดํารัสเหนือเกลาฯ ส่ังวา โดยที่สภาผูแทนราษฎรถวายคําปรึกษาวา สมควรแกไขเพิ่มเตมิ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําสยาม พ.ศ. 2456 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไว โดยคําแนะนาํและยนิยอมของสภาผูแทนราษฎรดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบญัญัตินี้ใหเรียกวา "พระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้ําสยามแกไขเพิม่เติม พุทธศักราช 2477" มาตรา 2* ใหใชพระราชบัญญัตินี้ตัง้แตวันที ่1 พฤศจิกายน พุทธศกัราช 2477 เปนตนไป *[รก.2477/-/807/28 ตุลาคม 2477] มาตรา 3 ใหยกเลกิความในมาตรา 214 แหงพระราชบัญญัติการ เดินเรือในนานน้าํสยาม พ.ศ. 2456 และอัตราคาธรรมเนียมตามแบบ 3 แหง พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําสยาม พ.ศ. 2456 ซึ่งไดแกไขเพิ่มเติมโดย ประกาศเปลีย่นแปลงพิกัดอัตราคาธรรมเนียมประภาคารและโคมไฟ ลงวนัที ่3 กุมภาพนัธ พ.ศ. 2474 ใหยกเลิกความในมาตรา 68, 102, 135, 136, 137, 212,

Page 71: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

213, 215, 277, 278, 279, 280, 282, 284, 290 และ 291 แหง พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําสยาม พ.ศ. 2456 และใชความตอไปนี้แทน มาตรา 68 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 102 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 135 [มาตรานี ้ตอมาไดยกเลิกแลวโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2481] มาตรา 136 [มาตรานี ้ตอมาไดยกเลิกแลวโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2481] มาตรา 137 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 212 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 213 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 215 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456]

มาตรา 277 [มาตรานี้แกไขครั้งหลงัสุดโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525 ดูพระราชบัญญตัิฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 278 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 279 [มาตรานี้แกไขครั้งหลงัสุดโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525 ดูพระราชบัญญตัิฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 280 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456]

Page 72: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 282 [มาตรานี้แกไขครั้งหลงัสุดโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535 ดูพระราชบัญญตัิฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 284 [มาตรานี้แกไขครั้งหลงัสุดโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525 ดูพระราชบัญญตัิฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 290 [มาตรานี้แกไขครั้งหลงัสุดโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535 ดูพระราชบัญญตัิฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 291 [ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456]

มาตรา 4 เรือเดินสมทุรบรรทุกนกัทองเที่ยวรอบโลกชั่วครั้งคราว ใหเก็บคาธรรมเนียมประภาคาร ทุนหมายรองน้าํและโคมไฟ กึ่งอัตราปกต ิ มาตรา 5* ในการพิจารณาออกใบอนุญาตสําหรบัเรือกลไฟและ เรือยนตรับจางบรรทกุคนโดยสารหรือสินคา หรือจูงเรือนั้น ถาเปนเรือเดิน ประจําทาง เจาทาหรือเจาพนกังานซึง่ไดแตงตั้งขึ้นเพื่อการจดทะเบียนมีอํานาจ ที่จะ (1) กําหนดขอหามและเงื่อนไขเกี่ยวกับเขตหรือทางที่จะใชเรือ นั้นเดนิ (2) กําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับจํานวน ขนาด และชนิดและกําลงั เครื่องจักรของเรือที่จะใชเดินจากตาํบลหนึง่ถงึตําบลหนึง่ ตลอดถึงการสับ เปลี่ยนเรือใชแทนกนัชัว่คราวดวย (3) กําหนดทาเรือตนทางและปลายทาง (4) ส่ังงดอนุญาตเรือลําใด ๆ หรือของเจาของใด ๆ มิใหเดิน ประจําทางทีเ่ห็นวามีเรืออ่ืนเดินอยูเพยีงพอแลว หรือเมื่อเหน็วาถาใหอนุญาต จะมีการแขงขันกันจนจะเปนเหตุใหเกิดความเสื่อมเสียความปลอดภยัของ ประชาชน (4) ตั้งคณะกรรมการขึ้นโดยความเห็นชอบจากรฐัมนตรีวาการ

Page 73: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

กระทรวงคมนาคมเปนครั้งคราว เพื่อกําหนดเงื่อนไขในเรื่องคาโดยสาร คาระวาง คาจูงเรือ คาบริการอื่น จํานวนเรือที่จะใชเดิน เวลาออกเรือ และเวลาเรือถึงทาเรือปลายทางคณะกรรมการนัน้ใหรวมทัง้เจาของเรือหรือ ผูแทนดวย ถาไมใชเรือเดินประจาํทาง เจาทาหรือเจาพนักงานซึ่งไดแตงตั้งขึ้น มีอํานาจที่จะหามหรือจาํกดัมิใหเดินเรือรับจางในเขตใด ๆ ในเมื่อเหน็วาการ เดินเรือรับจางในเขตนัน้จะเปนเหตุใหเกิดความไมสงบเรียบรอยหรือเสียหาย แกทรัพยสินของประชาชน *[มาตรา 5 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510]

มาตรา 6* การรับใบอนุญาตตามมาตรา 5 ตองเสียคาธรรมเนยีม ตามมาตรา 174 มาตรา 180 และมาตรา 188 แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้ําไทย พระพทุธศักราช 2456 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญัญัตกิาร เดินเรือในนานน้าํไทย (ฉบับที ่8) พ.ศ. 2490 แตเรือกลไฟขนาดต่ํากวา 3 ตันกรอสส และเรือที่ใชทาํการประมงโดยเฉพาะใหเสยีคาธรรมเนยีมออก ใบอนุญาตเพียงกึ่งอัตราปกติ เรือกลของกสิกรที่ใชเพื่อประโยชนเฉพาะในการกสิกรรมของตนเอง ซึ่งมีขนาดต่ํากวา 3 ตันกรอสส ใชเครื่องยนตกําลงัไมเกนิ 7 แรงมา ใหยกเวน ไมตองเสียคาธรรมเนยีมใบอนุญาต แตตองรับใบอนญุาต *[มาตรา 6 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่8) พ.ศ. 2490] มาตรา 7* เรือกลไฟและเรือยนตที่รับจางบรรทกุคนโดยสาร หรือสินคา หรือจูงเรือลําใด ฝาฝนเงื่อนไขที่กําหนดขึน้ตามมาตรา 5 เจาทา หรือเจาพนักงานมีอํานาจที่จะสัง่งดการเดินเรือของเรอืนั้น ๆ เสียชั่วคราว หรือจะสั่งยึดใบอนุญาตสําหรับเรือนั้นไวมีกําหนดไมเกนิหกเดือนก็ได เจาของเรือหรือเจาของกิจการเดินเรอืที่ถูกสัง่งดการเดินเรือหรือ ถูกยึดใบอนญุาตตามวรรคหนึง่ มีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ไดภายในหนึง่เดือนนับแตวนัที่ไดทราบคําส่ัง คําชี้ขาดของรัฐมนตรีเปนที่สุด แตใน ระหวางที่รัฐมนตรียังมิไดชี้ขาด คําสั่งงดหรือยึดนัน้มีผลบังคับได *เรือใดที่ถูกสัง่งดการเดินเรือ หรือถูกยึดใบอนุญาตแลวยังขืนเดนิ

Page 74: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

หรือเรือใดกระทําการรับจางบรรทุกคนโดยสาร หรือสินคาหรือจูงเรือเปนการ ประจําทางโดยมิไดรับอนุญาต นายเรือหรือผูที่ควบคมุเรือ หรือเจาของเรือหรือ เจาของกิจการเดินเรือตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถงึหนึ่งหมื่นบาท *[มาตรา 7 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510 และความในวรรคสามแกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

มาตรา 8 [แกอักษรโรมันในมาตรา 27 ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 9 [แกอักษรโรมันในมาตรา 40 ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 10 [แกอักษรโรมันในมาตรา 41 ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 11 [แกอักษรโรมัน และเพิม่เติมวรรคสองของมาตรา 198 และมาตรา 198 นี้ไดถูกยกเลิกแลวโดยพระราชบัญญตัิฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535 ดูพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2456] มาตรา 12 บรรดาธงสัญญาณที่พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ สยามยงัมิไดบังคับไวนัน้ ใหบรรดาเรือกลไฟที่เขามาในเขตทาแหงนานน้ําสยาม ปฏิบัติตามประมวลสัญญาณสากลที่ใชอยูจงทุกประการ มาตรา 13* บรรดาความผิดตามกฎหมายวาดวยการเดนิเรือใน นานน้าํไทยที่มีโทษปรับสถานเดียวไมเกนิหนึ่งหมืน่บาท ใหเจาทามอํีานาจ เปรียบเทียบผูตองหาไดเมือ่ผูเสียหายยนิยอมและผูตองหาไดชําระคาปรับตาม คําเปรียบเทยีบของเจาทาแลวใหถือวาคดีเลิกกันตามกฎหมายวาดวยวธิีพิจารณา ความอาญา *[มาตรา 13 แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที ่14) พ.ศ. 2535]

มาตรา 14 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเศรษฐการมีอํานาจหนาที ่ รักษาการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํสยาม พ.ศ. 2456 และพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติม และใหมีอํานาจตั้งเจาพนักงาน ออกกฎกระทรวง

Page 75: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

กําหนดคาธรรมเนียม หรือกิจการอืน่เพื่อปฏิบัติการใหเปนไปตามบทแหงพระราช บัญญัตินี้ เจาพนกังานที่ไดรับแตงตั้งตามมาตรานี ้ใหถือวาเปนเจาหนาที่ของ กรมเจาทา และการตั้งเจาทาหรือเจาพนกังานใหประกาศในราชกจิจานุเบกษา ดวย และใหระบุใหชัดเจนวา ผูไดรับแตงตั้งนัน้มีอํานาจปฏิบัติหนาทีเ่พียงใด กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใช บังคับได ประกาศมา ณ วันที ่17 ตุลาคม พุทธศักราช 2477 เปนปที ่10 ในรัชกาลปจจุบัน ผูรับสนองพระบรมราชโองการ นายพนัเอก พระยาพหลพลพยหุเสนา นายกรัฐมนตรี

พระราชบัญญัติ การเดนิเรือในนานน้าํสยาม แกไขเพิ่มเติม พทุธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2) _______ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหัวอานนัทมหิดล คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค (ตามประกาศประธานสภาผูแทนราษฎร ลงวนัที่ 7 มีนาคม พทุธศกัราช 2477) อนุวตันจาตุรนต อาทติยทิพอาภา เจาพระยายมราช ตราไว ณ วนัที่ 20 เมษายน พทุธศักราช 2478 เปนปที่ 2 ในรัชกาลปจจุบัน

Page 76: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

โดยทีส่ภาผูแทนราษฎรลงมติวา สมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ การเดินเรือในนานน้ําสยาม พ.ศ.2456 ในสวนที่เกี่ยวกบัการนาํรองและผูนํารอง ใหเรียบรอยยิ่งขึ้น จึงมพีระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไว โดยคําแนะนํา และยินยอมของสภาผูแทนราษฎร ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้ใหเรียกวา "พระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้ําสยาม แกไขเพิ่มเติม พุทธศกัราช 2477 (ฉบับที ่2)" มาตรา 2* ใหใชพระราชบัญญัตินี้เมื่อพนกําหนด 6 เดือนนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป *[รก.2478/-/21/28 เมษายน 2478] มาตรา 3 ใหยกเลิกความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ สยาม พ.ศ. 2456 ภาคที่ 3 หมวดที ่6 ตั้งแต มาตรา 249 ถึงมาตรา 276 และ พิกัดคาจางนํารองตามแบบที ่2 ทายพระราชบัญญัตนิั้นเสยี มาตรา 4 การนํารองนัน้ ใหอยูในอํานาจและความควบคุมของ รัฐบาลใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงที่กรมเจาทาสังกัดเปนเจาหนาที่รักษาการ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้และเพื่อการนัน้ใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงในเรื่อง ตอไปนี้ คือ 1) กําหนดคุณสมบัติผูนํารองและผูฝกการนํารอง และผูฝกการนํารอง กําหนดชั้นความรูผูนํารอง วิธีการที่จะสอบความรูและออกใบอนุญาตแกผูที่จะขอรบั ใบอนุญาตเปนผูนาํรอง 2) กําหนดหนาที่และมรรยาทของผูนํารอง 3) กําหนดจาํนวนผูนํารองที่จะอนญุาตใหทาํการนํารองและจาํนวน ผูฝกงานการนํารองประจําทา หรือนานน้าํแหงใดแหงหนึ่ง 4) กําหนดคาธรรมเนียมสอบไลผูนํารอง 5) กําหนดวิธีการเกบ็และแบงเงนิผลประโยชนทีไ่ดมาเนื่องในการ นํารอง เปนตนวาจะแบงให แกผูนาํรองและผูฝกการนํารองเทาใด แบงเปนเงนิ

Page 77: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

สํารองหรือเงนิทนุตั้งไวเพื่อการใด และเก็บไว ณ ที่ใดเทาใด

6) กําหนดเขตทาหรอืนานน้าํใด ๆ ใหมีการนํารอง โดยใชเจาหนาที ่ ของรัฐบาล หรือของเทศบาล หรือหุนสวนบริษัทหรือเอกชน ทําการนาํรองตลอดถึง วางขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวดวยการนั้น 7) กําหนดเขตทาหรอืนานน้าํใด ๆ ซึ่งบังคับใหเปนเขตที่ตองเดนิเรือ โดยมีผูนาํรอง ตลอดถึงวางขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวดวยขนาดและชนดิของเรือที่ ยกเวนไมตองบังคับใชผูนํารอง การเพิ่มหรือลดหยอนคาจางนาํรองแกเรือ บางประเภท 8) กําหนด ขนาดเรอื ที่จะตองเสยีคาจางนาํรอง และพิกัดคาจาง นํารอง 9) กําหนดการลงทณัฑและจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาการลงทัณฑแก ผูนํารอง เมื่อผูนํารองกระทาํผิดกฎขอบังคับซ่ึงวาดวยหนาที่และมรรยาทของผูนาํรอง ทัณฑที่จะลงไดนั้นมี 2 สถาน คือ ก. ตําหนิโทษเปนลายลักษณอักษร ข. ปรับเปนเงินไมเกนิรอยบาทหรอืลดชั้นเงนิเดอืนหรือตัดเงนิเดือน แลวแตกรณี 10) กําหนดแบบบัญชีและรายงานสําหรับใหผูนํารองหรือหางหุนสวน หรือบริษัทหรือเทศบาลทีท่าํการนํารองทาํยื่นตอกรมเจาทาเปนครัง้คราวตามที่เห็น สมควร กฎกระทรวงนัน้ เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบงัคับได มาตรา 5 เมื่อไดประกาศกฎกระทรวงกําหนดเขตทาหรือนานน้าํ ใด ๆ บังคับใหเปนเขตที่ตองเดินเรือ โดยมีผูนํารองเรือกลไฟและเรือเดินทะเล ที่เคลื่อนเดนิ หรือเขาออกในเขตทาหรือนานน้ํานั้น ๆ ใหมีการนาํรองเวนแตจะม ี กฎกระทรวงกําหนดไวเปนอยางอืน่ตามมาตรา 4

มาตรา 6 บุคคลใดจะรวมแรงรวมทุนกันตัง้หางหุนสวนหรือบริษัท อันมีวัตถุประสงคเพื่อจะหาประโยชนในทางรับจางนาํรอง จะตองไดรับอนุญาตจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงทีก่รมเจาทาสงักัดเสียกอนจึงจะตั้งได

Page 78: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 7 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงที่กรมเจาทาสังกัดตัง้เจาหนาที ่ ข้ึนคนหนึ่งหรือหลายคนเปนผูสอดสองกจิการและมรรยาทของผูนาํรองหรือของเทศบาล เฉพาะที่เกี่ยวกับการนาํรอง มาตรา 8 เจาหนาทีซ่ึ่งตั้งขึ้นตามความในมาตรา 7 นั้น ใหอยูใน บังคับบัญชาของกรมเจาทา และมีอํานาจ 1) เขาไปในสถานทีแ่ละตรวจดูสมุดบัญชีสรรพเอกสารและวตัถุ เครื่องใชที่เกีย่วหรือใชในการนํารองไดในเวลาทํางานทกุเมื่อ 2) เรียกผูนาํรอง หรือลูกจางของผูนํารอง หรือเจาหนาที่ของหาง หุนสวนหรือบริษัทหรือเทศบาล ที่ทาํการนํารองมาสอบถามถงึการตาง ๆ ที่เกีย่วกับ กิจการนํารอง หรือถึงความประพฤติความเปนไปของผูนํารองหรือของบุคคลนั้น ๆ เพียงเทาทีเ่กีย่วกับกิจการนํารอง 3) ส่ังใหผูนาํรองคนใดไปใหแพทยทหารเรือ หรือแพทยสาธารณสุข ตรวจรางกายหรือตรวจสายตาเปนครัง้คราวตามที่เห็นสมควร มาตรา 9 ถาเจาพนกังานผูสอดสองกิจการและมรรยาทของผูนํารอง ตรวจเห็นเรือหรือวัตถุเครื่องใชใด ๆ ที่ใชในการนํารองชาํรุดบุบสลาย ไมเปนที ่ ปลอดภัยที่จะใชในการนํารอง ใหมีอํานาจสั่งเจาของจัดการซอมแซม ในระหวางที ่ ยังซอมแซมไมเสร็จ หามมิใหนาํเรือหรือวตัถุเครื่องใชนัน้ ๆ มาใชในการนํารอง

มาตรา 10 เมื่อปรากฏขึ้นวาผูนําคนใดมีโรคภัยรางกายไมสมประกอบ ไมสมควรใหทําการเปนผูนาํรองตอไปก็ดี หรือทาํความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ ทําผิดกฎขอบังคับซ่ึงออกตามพระราชบญัญัตินี้ ถึงแมวาผูนํารองนัน้จะไดรับโทษอยางอืน่ แลวก็ดี กรมเจาทามีอํานาจที่จะสัง่เพกิถอนใบอนุญาตของผูนาํรองนัน้ หรือลดชั้น ใบอนุญาตเสียหรือจะสัง่ใหยึดใบอนุญาตไวเปนเวลาไมเกินสองปแลวแตจะเหน็สมควร ถาผูนัน้ไมพอใจคําสัง่ของกรมเจาทา ใหมีสิทธทิีจ่ะอุทธรณไปยังรัฐมนตรี เจาหนาที่ภายใน 1 เดือน นับแตวันที่ไดทราบคําสัง่ คําชี้ขาดของรัฐมนตรีนัน้เปน ที่สุด แตในระหวางที่รัฐมนตรียังมิไดชี้ขาด คําสั่งของกรมเจาทามีผลบังคับได

Page 79: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 11 ความผดิหรือละเมิดทีผู่นํารองไดกระทํานัน้ไมเปน ขอแกตัวของเจาของเรือหรือนายเรือในอันที่จะทาํใหตนพนความรับผิดชอบตาม กฎหมาย ในความเสยีหายใด ๆ ที่เกิดขึน้เนื่องในการเดินเรือ วรรคสอง*(1) (ยกเลิกแลว) มาตรา 12 บุคคลผูรับผิดในการชาํระเงนิคาจางนํารองตามพกิัด ไดแก 1. เจาของหรือนายเรือ หรือ 2. ตัวแทนเจาของเรอืในขณะที่มกีารนํารอง ในกรณีคางชําระเงนิคาจางนํารอง เจาทาจะกักเรือ หรือเจาพนักงาน ผูมีหนาที่ออกใบปลอยเรือ จะยึดใบปลอยเรือไวกอนจนกวาจะไดชําระเงินคาจาง นํารองกันเสร็จแลว หรือมีค้ําประกันมาใหจนเปนที่พอใจก็ได ถามีคดีฟองเรียก คาจางนํารอง ศาลมีอํานาจที่จะสัง่ใหยึดเรือหรือเครื่องใชตาง ๆ สําหรับเรือตาม บทแหงพระราชบัญญัติวิธพีิจารณาความแพงไวจนกวาจะไดชําระเงนิคาจาง ________________________ *(1) ความในวรรคสองของมาตรา 11 ยกเลิกแลวโดยพระราชบญัญัติ การเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที ่5) พ.ศ. 2479]

มาตรา 13*(2) ผูนาํรองคนใดทําการนํารองนอกเหนือใบอนุญาตหรือ โดยไมไดรับใบอนุญาต ทําการนาํรองในระหวางที่ใบอนญุาตถกูเรียกคืน ถูกงดใช หรือถูกยึด หรือไมยอมไปทําการนํารองเรือลําใดลําหนึ่งที่ไดใหสัญญาณขอใหตนไป ทําการนาํรองโดยไมมีขอแกตัวอันสมควร หรือละทิง้การนํารองไปกลางคันจากเรือ ลําใดโดยไมมีเหตุอันสมควร หรือโดยนายเรือไมยินยอมหรือนาํเรือหรือวัตถุเครื่องใช ในการนํารองที่เจาพนักงานสั่งใหซอมแซมตามมาตรา 9 มาใชกอนซอมแซมเสร็จ ตองระวางโทษปรับไมเกนิหาพนับาท มาตรา 14 นายเรือคนใดใชผูที่ไมไดรับอนุญาตหรือผูทีท่ําการนํารอง นอกเหนือใบอนุญาตเปนผูนํารอง หรือใชผูที่ถูกเรียกใบอนุญาตคืนหรอืผูที่ใบอนุญาต ถูกงดใชหรือถูกยึดใหเปนผูนํารองเรือของตน หรือนายเรือคนใดเดินเรือในเขตทา

Page 80: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ที่บังคับใหมกีารนาํรองโดยไมใชผูนํารองนายเรือผูนัน้มีความผิด ตองระวางโทษ ปรับเปนเงนิสองเทาจํานวนคาจางนํารองตามพิกัดที่ตัง้ไวสําหรับเรือลํานัน้ แตถาในขณะที่กระทําการนัน้ มีการจําเปนโดยในขณะนัน้ไมมผูีนํารอง นอกเหนือใบอนุญาตเปนผูนํารอง หรือใชผูที่ถูกเรียกใบอนุญาตคืนหรอืผูที่ใบอนุญาต ถูกงดใชหรือถูกยึดใหเปนผูนํารองเรือของตน หรือนายเรือคนใดเดินเรือในเขตทา ที่บังคับใหมกีารนาํรองโดยไมใชผูนํารองนายเรือผูนัน้มีความผิด ตองระวางโทษ ปรับเปนเงนิสองเทาจํานวนคาจางนํารองตามพิกัดที่ตัง้ไวสําหรับเรือลํานัน้ แตถาในขณะที่กระทําการนัน้ มีการจําเปนโดยในขณะนัน้ไมมผูีนํารอง ที่ไดรับอนุญาตถูกตองมาขอรอง หรือใหสัญญาขอเปนผูนํารองก็ดี หรือเรืออยูในความ อันตราย หรือความลําบากทีน่ายเรือตองแสวงหาความชวยเหลืออยางดีตามที่จะ หาไดในระหวางนัน้ก็ด ีนายเรือและผูที่ทาํการนํารองไมมีความผิด ____________________________ *(2) มาตรา 13 แกไขโดยพระราชบญัญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535]

มาตรา 15 ผูนาํรองคนใดเรียกเงนิคานํารองเกนิกวาพิกัดที่ตั้งไว มีความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงนิไมเกินกวาหาสบิบาท ถาไดรับเงินมาดวยแลว ใหคืนเงนิจาํนวนทีเ่รียกเกนิมานัน้ใหแกนายเรือหรือเจาของเรือนัน้ดวย มาตรา 16*(1) ผูใดไมไดรับอนุญาตใหเปนผูนาํรอง แสดงตนวา เปนผูไดรับอนุญาตใหนาํรองไดโดยเอาใบอนุญาตของผูอ่ืนออกแสดง หรือโดยใช เครื่องหมายสัญญาณใด ๆ สําหรับใชในการนาํรอง เพือ่ขอทําการนํารอง หรือ ผูใดจัดหาใบอนุญาตหรือเครื่องหมายสญัญาณใหผูอ่ืนใชเพื่อกระทาํการดังกลาว ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับต้ังแตหนึง่พนับาทถงึหนึ่งหมืน่บาท หรือทั้งจาํทั้งปรับ มาตรา 17 ขณะที่ผูนํารองอยูในเรอืลําใด ถาไมมีเจาพนกังาน ศุลกากรอยูในเรือลํานั้นดวย ใหผูนํารองผูนั้นทําการเปนเจาพนักงานศุลกากร ในเหตทุี่จะมกีารกระทําผิดพระราชบัญญตัิศุลกากรเกิดขึ้น

Page 81: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

ถาปรากฏวาไดมีการที่จะขนถายสนิคาใด ๆ ออกจากเรือหรือบรรทุก ข้ึนเรือโดยมชิอบดวยกฎหมาย ใหผูนํารองบอกกลาวแกนายเรือถงึการกระทาํผิด เชนนัน้ เมื่อไดบอกกลาวแลว นายเรือผูนั้นยังพยายามกระทาํฝาฝน ผูนาํรองม ี อํานาจกักเรอืนั้นไวรอคําสัง่ของเจาหนาที่ผูมีอํานาจตอไป ผูรับสนองพระบรมราชโองการ (ตามมตคิณะรัฐมนตรี) พระยานิติศาสตรไพศาลย รัฐมนตร ี ________________________ *(1) มาตรา 16 แกไขโดยพระราชบญัญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535]

พระราชบัญญัติ การเดินเรือในนานน้ําสยาม (ฉบับที ่6) พุทธศักราช 2481 _______ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหัวอานนัทมหิดล คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค (ตามประกาศประธานสภาผูแทนราษฎร ลงวนัที ่4 สิงหาคม พทุธศกัราช 2480) อาทติยทิพอาภา พล.อ. เจาพระยาพิชเยนทรโยธนิ ตราไว ณ วนัที่ 7 เมษายน พุทธศกัราช 2482 เปนปที่ 6 ในรัชกาลปจจุบัน โดยสภาผูแทนราษฎรลงมติวา สมควรแกไขเพิม่เติมกฎหมายวาดวย การเดินเรือในนานน้ําสยามบางมาตราทีเ่กี่ยวกับการออกใบอนุญาตใหเหมาะสม ยิ่งขึ้น

Page 82: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

จึงมพีระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไว โดยคําแนะนํา และยินยอมของสภาผูแทนราษฎร ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้ใหเรียกวา "พระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้ําสยาม (ฉบับที ่6) พุทธศักราช 2481" มาตรา 2* ใหใชพระราชบัญญัตินี้เมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป *[รก.2482/-/272/10 เมษายน 2482] มาตรา 3 ใหยกเลิกมาตรา 134 มาตรา 144 มาตรา 181 และ มาตรา 182 แหงพระราชบญัญัติการเดินเรือในนานน้ําสยาม พระพุทธศักราช 2456 และมาตรา 135 มาตรา 136 ซึ่งแกไขตามมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติการเดิน เรือในนานน้าํสยาม แกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ "เรือ" หมายความถงึยานพาหนะทางน้าํทกุชนดิ "เรือกล" หมายความถึงเรือที่เดินดวยกาํลังเครือ่งจักรกล จะใช กําลังอืน่ดวยหรือไมก็ตาม มาตรา 5 นอกจากจะมีความตกลงกับตางประเทศเปนอยางอื่น เรือที่ใชนานน้ําสยามตองรับใบอนุญาตใชเรือเวนแต 1. เรือของราชนาวีสยาม 2. เรือของรัฐบาลตางประเทศซึง่เขามาในนานน้าํสยามชัว่ครั้งคราว 3. เรือตางประเทศซึง่เขามาในนานน้าํสยามชั่วครั้งคราวและ ใบอนุญาตยงัไมส้ินอาย ุ 4. เรือที่มิใชเรือกลขนาดต่ํากวายีสิ่บหาหาบ 5. เรือซึ่งตองมีประจําเรือใหญตามกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ

Page 83: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 6* การรับใบอนุญาตตามมาตรา 5 ตองเสียคาธรรมเนียม ตามมาตรา 143 แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํสยาม พระพุทธศักราช 2456 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตัิการเดินเรือนานน้าํไทย (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510 *[มาตรา 6 แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 17 พระราชบัญญัติการเดินเรือ นานน้าํไทย (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2520] มาตรา 7 ใบอนุญาตใชเรือทุกชนดิใหมีอายุใชไดฉบับหนึง่ไมเกิน สิบสองเดือนนับแตวันออกใบอนุญาตสวนวนัสิ้นอายุของใบอนุญาตใหกําหนดไวใน ใบอนุญาต มาตรา 8 ถานายทะเบียนเรือประจําทองที่หรือนายทะเบียนเรือ ซึ่งกรมเจาทาสงไปทาํการออกใบอนุญาตใชเรือตามทองที่ประจําป พิจารณาเหน็วา เรือบรรทุกสินคาและเรือเลก็ลําใดใชไดไมเกินหกเดือน ก็อาจผอนผันใหเจาของเรือ รับใบอนุญาตใชเรือแตเพียงชั่วระยะเวลาไมเกินหกเดือนไดในเมื่อเจาของเรือ รองขอ ใบอนุญาตชนิดนี้ใหมีอายุใชไดไมเกินหกเดือน โดยเรียกคาธรรมเนียม ออกใบอนุญาตเพียงกึง่อัตราปกติ มาตรา 9 ผูใดใชเรือที่มิไดรับใบอนุญาตอันถูกตองตามพระราชบัญญัตินี ้ ผูนั้นมีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกนิสองพันบาท *[มาตรา 9 แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 18 พระราชบัญญัติการเดินเรือ นานน้าํไทย (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510] มาตรา 10 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงกาํหนดคาธรรมเนียม อันเกี่ยวกับ กฎหมายวาดวยการเดินเรอืในนานน้ําไทย

กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได *[มาตรา 10 แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 19 พระราชบัญญัติการเดินเรือ นานน้าํไทย (ฉบับที ่10) พ.ศ. 2510]

Page 84: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

บทบญัญัติเฉพาะกาล ________ มาตรา 11 เรือซึ่งจะตองรับใบอนญุาตกอนใชพระราชบัญญัตินี้ที่ใช อยูโดยมิไดรับใบอนุญาตกด็ี หรือที่ใบอนญุาตไดส้ินอายุเสียแลวก็ด ี ถาเจาของมา ขอรับใบอนุญาตหรือขอตออายุใบอนุญาตเสียกอนสิ้นเดือนสิงหาคม พ.ศ.2482 แลว จะไมตองรับโทษสาํหรับการที่ไดใชเรือ โดยมิไดรับใบอนุญาตหรือโดยมิไดตออายุ ใบอนุญาตมาแลวนัน้ ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พิบลูสงคราม นายกรัฐมนตร ี

พระราชบัญญัติ การเดินเรือในนานน้าํไทย (ฉบับที่ 7) พทุธศักราช 2483 ________ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหวัอานนัทมหิดล คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค (ตามประกาศประธานสภาผูแทนราษฎร ลงวนัที ่4 สิงหาคม พุทธศกัราช 2480) อาทิตยทิพอาภา พล.อ.พชิเยนทรโยธนิ ตราไว ณ วนัที ่24 กันยายน พทุธศักราช 2483 เปนปที่ 7 ในรัชกาลปจจุบัน โดยทีส่ภาผูแทนราษฎรลงมติวา สมควรแกไขกฎกระทรวงวาดวย การเดินเรือในนานน้ําไทยที่เกีย่วกับคาธรรมเนียมใหเหมาะสมยิง่ขึน้ จึงมพีระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนํา และยินยอมของสภาผูแทนราษฎร ดังตอไปนี้

Page 85: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้ใหเรียกวา "พระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 7) พุทธศกัราช 2483"

มาตรา 2* ใหใชพระราชบัญญัตินีต้ั้งแตวันประกาศในราชกจิจานุเบกษา เปนตนไป *[รก.2483/-/440/1 ตุลาคม 2483] มาตรา 3 คาธรรมเนียมตรวจเรือซึ่งจะตองเสียตามมาตรา 165 แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํไทย พุทธศักราช 2456 เมือ่รัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคม เห็นสมควรผอนผันลดอัตราก็ดี หรือจะงดเวนไมเก็บก็ด ี สําหรับเรือชนิดใด เพื่อใชในทองที่ใด เปนกําหนดเวลาเทาใด ก็ใหทําไดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 4 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเศรษฐการมีหนาที่รักษาการ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พิบลูสงคราม นายกรัฐมนตร ี พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2456 [รก.2456/-/64/5 สิงหาคม 2456] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2478 (ฉบับที ่2) [รก.2478/-/121/28 เมษายน 2478] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2478 (ฉบับที ่3) [รก.2478/-/131/28 เมษายน 2478]

Page 86: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2479 (ฉบับที ่5) หมายเหต:ุ- ซึ่งพระราชบญัญัตินี้ใหยกเลิกมีความมาตรา 11 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํสยามแกไขเพิ่มเติม พทุธศกัราช 2477 (ฉบับที่ 2) ดังนี ้"แตเจาของเรือหรือนายเรือยอมมีสิทธทิี่จะเรียกรองขอให ผูนํารองชดใชคาเสียหายใหแกตนอีกตอหนึง่" *[รก.2479/-/719/29 พฤศจิกายน 2479] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2482 (ฉบับที ่6) [รก.2482/-/272/10 เมษายน 2482] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 7) พุทธศกัราช 2483 หมายเหต:ุ- หลักการแกไขกฎหมายวาดวยการเดินเรือในนานน้ําไทยที่เกีย่วกับ คาธรรมเนียมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น ทั้งนี ้เพื่อใหรัฐมนตรีผูมีหนาที่รักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ พิจารณาผอนผนัลดอัตราคาธรรมเนียมลงหรืองดเวนไมเก็บ สําหรับเรือชนิดใด เพื่อใชในทองที่ใด เปนกําหนดเวลาเทาใดได *[รก.2483/-/440/1 ตุลาคม 2483] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2490 (ฉบับที ่8) [รก.2490/3/67/14 มกราคม 2490] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พุทธศักราช 2493 (ฉบับที ่9) [รก.2493/38/970/24 ตุลาคม 2493] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 10) พุทธศกัราช 2510 หมายเหต:ุ- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี ้คือ เนือ่งจาก

Page 87: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

บทบัญญัติของกฎหมายวาดวยการเดินเรือในนานน้าํไทยในสวนที่เกีย่วกับ ทางเดินเรือ เขตทาเรือ เขตจอดเรือ คาปรับและคาธรรมเนียมที่ใชอยู ไมเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน จึงสมควรแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติดังกลาว *[รก.2510/30/158/4 เมษายน 2510]

________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 11) พุทธศกัราช 2520 หมายเหต:ุ- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี ้คือ โดยที่เปน การสมควรใหเจาทามีอํานาจประกาศกําหนดเสนทางเดินเรือและควบคุม การเดินเรือในเขตทากรุงเทพฯ และในแมน้ําลาํคลองเปนการเฉพาะคราวได ทั้งนี ้เพื่อความปลอดภัยในการเดนิเรือในเขตทากรุงเทพฯ และในแมน้ํา ลําคลองเปนการเฉพาะคราวได ทั้งนี ้เพื่อความปลอดภัยในการเดนิเรือ ในเขตกรุงเทพฯ และในแมน้ําลาํคลองอกีทัง้อัตราโทษที่จะลงแกผูฝาฝนที่มีอยู ในหมวดที ่4 ของภาคที ่1 ยังไมเหมาะสมถึงสถานการณปจจุบันสมควรแกไข ปรับปรุงอัตราโทษดังกลาวเสียใหม จึงจาํเปนตองตราพระราชบัญญตัินี้ข้ึน *[รก.2520/86/17พ/19 กันยายน 2520] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 12) พุทธศกัราช 2522 หมายเหต:ุ- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี ้คือ โดยที่ปจจุบนั กฎหมายใหอํานาจเจาทาหรือเจาพนกังานผูมหีนาที่ทาํการขจัดสิ่งกดีขวางได เฉพาะการเดนิเรือในเขตทา หรือในแมน้ําที่เรือเดินไดตําบลใด ๆ เทานัน้ ดังนั้น เมื่อมีเรือหรือส่ิงอื่นใดจมลงหรืออาจเปนอันตรายแกการเดินเรือ นอกเขตทาและไมใชในแมน้ําที่เรือเดินได เจาทาหรือเจาพนักงานผูมหีนาที ่ จึงไมมีอํานาจโดยชอบดวยกฎหมายทีจ่ะทําการขจัดสิ่งกีดขวางนัน้ทนัทวงท ีอันจะ เปนการกอใหเกิดความเสยีหายตอเศรษฐกิจและการคาทางทะเลของประเทศ จําเปนตองใหอํานาจแกเจาทาและเจาพนักงานผูมีหนาทีท่ําการขจัดสิ่งกีดขวาง ดังกลาวไดตามควรแกกรณี และใหมีอํานาจขายทอดตลาดเรือหรือส่ิงอื่นใดและ ทรัพยสินทีม่อียูในเรือหรือส่ิงอื่นใดที่จมลงหรืออาจเปนอันตรายได รวมทัง้ใหม ี การขจัดหรือปองกนัสิ่งซึง่กอใหเกิดมลพษิตอส่ิงแวดลอมที่มีอยูในเรอืหรือส่ิงอื่นใด

Page 88: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

นั้นไดดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบญัญัตินี้ข้ึน *[รก.2522/28/21พ/1 มีนาคม 2522]

________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 13) พุทธศกัราช 2525 หมายเหต:ุ- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี ้คือ โดยที่ประเทศไทย กําลังดาํเนนิการเพื่อเขาเปนภาคีอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัย แหงชีวิตในทะเล ค.ศ. 1960 แตกฎหมายวาดวยการเดนิเรือในนานน้าํไทย ยังมีบทบัญญัติบางประการที่ไมสอดคลองกับอนุสัญญาดังกลาว ประกอบกับบทบัญญัติ บางมาตราในพระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย พระพทุธศกัราช 2456 ไมเหมาะสมกับสภาพการณปจจุบัน สมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยการ เดินเรือในนานน้าํไทย เพื่ออนุวัตการใหเปนไปตามอนสัุญญาดังกลาวขางตน และเพื่อใหเหมาะสมกับสภาพการณปจจุบัน จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี ้ *[รก.2525/88/1พ/25 มิถุนายน 2525] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 14) พุทธศกัราช 2535 หมายเหต:ุ-เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี ้คือ เนือ่งจาก ในปจจุบันผูไดรับอนุญาตใหปลูกสรางอาคารหรือส่ิงลวงล้ําน้ําไดใชอาคารหรือ ส่ิงสวงล้าํน้ํานั้นประกอบธรุกิจ สมควรแกไขอัตราโทษใหเหมาะสมยิง่ขึ้น และกําหนดใหผูไดรับอนุญาตดังกลาวตองชําระคาตอบแทนเปนรายปตาม วิธีการและอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง ประกอบกับขณะนี้ประเทศไทยไดพัฒนา ไปเปนประเทศอุตสาหกรรมมากขึ้นเปนผลใหมีการนําเคมีภัณฑและส่ิงของตาง ๆ ที่อาจกอใหอันตรายขึ้นไดเขามาในประเทศเปนจาํนวนมากกวาที่เปนมาในอดีต หากไมมีการควบคุมการนาํเขามาโดยทางเรือใหเหมาะสมแลว อาจกอใหเกิด อันตรายอยางกวางขวางแกบุคคล สัตว ส่ิงของและสิ่งแวดลอม สมควรแกไข เพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับอํานาจของกรมเจาทาในการควบคุมการขนสงสิง่ของ ที่อาจทําใหเกิดอันตรายได และเนื่องจากอัตราโทษสาํหรับผูกระทาํผิดตาม กฎหมายวาดวยการเดินเรอืในนานน้ําไทยยังไมเหมาะสม จึงจําเปนตอง ตราพระราชบัญญัตินี้ข้ึน

Page 89: พระราชบัญญัติ - Fisheriesทร พยากรท ม ช ว น ๆ ท ในทะเลอยตอ "เร อส าราญและก " หมายความวฬา

*[รก.2535/44/16/9 เมษายน 2535] ________________________ พระราชบัญญัติการเดินเรอืในนานน้ําไทย (ฉบับที่ 15) พุทธศกัราช 2540 หมายเหต:ุ- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี ้คือ เนือ่งจากได มีการประกาศพระบรมราชโองการกําหนดเขตตอเนื่องของราชอาณาจักรไทย สมควรแกไขเพิ่มเติ่มพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํไทย พระพุทธศกัราช 2456 เพื่อขยายอาํนาจบังคับการตามกฎหมายดงักลาวบางประการไปใชใน บริเวณนานน้ําดังกลาวดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ข้ึน *[รก.2540/72ก/18/16 พฤศจิกายน 2540]