5
การสํารวจทางธรณีฟิสิกส์ ความหมายของการสํารวจทางธรณีฟิสิกส์ (Geophysical exploration) คําว่า ธรณีฟิสิกส์ หรือ Geophysics” เกิดจากการผสมกันของคําว่า “Geo” ที่แปลว่า โลก กับคําว่า “Physics” ที่แปลว่า วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสารพลังงานการเคลื่อนไหวและแรง จึง หมายถึง การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสารพลังงานการเคลื่อนไหวและแรงที่เกี่ยวข้องกับ วัสดุที่ประกอบกันขึ้นเป็นโลกธรณีฟิสิกส์เป็นการศึกษาส่วนต่าง ของโลก ทั้งส่วนที่เป็นเปลือกโลก (Crust) ประกอบด้วยชั้นดิน และชั้นหิน แมนเทิล (Mantle) และแกนกลางของโลก (Core) โดยอาศัยหลักการที่ว่าวัตถุต่างชนิดกัน ย่อมมีคุณสมบัติทางกายภาพ (Physical properties) ที่ต่างกัน โดยการสํารวจทางธรณีฟิสิกส์จะวัด ลักษณะความแตกต่างกันทางคุณสมบัติทางกายภาพของสิ่งต่าง ที่อยู่ใต้ผิวดินด้วยเครื่องมือที่มีการ ออกแบบมาเพื่อให้สามารถตรวจวัดความแตกต่างทางกายภาพเฉพาะตัวของวัตถุต่าง ได้ โดยการ สํารวจธรณีฟิสิกส์จะทําการตรวจวัดที่ผิวดินและแปลความหมายไปที่ระดับความลึกต่าง ๆ ใต้ผิวดิน การสํารวจด้วยวิธีทางธรณีฟิสิกส์เป็นการเพิ่มขอบข่ายความสามารถของการสํารวจใต้ผิวดินทีไม่ได้เห็นได้ทันที ช่วยให้การเจาะหรือขุดเพื่อพิสูจน์ทราบข้อมูลใต้ผิวดินเป็นไปได้อย่างแม่นยําขึ้น มี ผลให้ช่วยลดต้นทุนในการสํารวจ อนึ่งการสํารวจด้วยวิธีทางธรณีฟิสิกส์อาจไม่ใช่วิธีที่บอกผลทีต้องการได้ทันที ต้องอาศัยประสบการณ์การแปลผลของผู ้สํารวจเป็นสําคัญ เป้าหมายในการสํารวจด้วยวิธีการทางธรณีฟิสิกส์ ประกอบด้วย - โครงสร้างทางธรณีวิทยา (Geological structures) - สินแร่ (Ore) - ธรณีวิทยาของฐานราก (Geology of foundation) - คุณสมบัติทางกายภาพของหิน (Physical properties of rock) การสํารวจทางธรณีฟิสิกส์จะวัดค่าคุณสมบัติทางกายภาพของวัตถุตัวกลาง (Media) ที่ประกอบด้วย 1. ค่าความยืดหยุ่น (Elasticity) 2. ค่าความหนาแน่น (Density) 3. ค่าความเป็นแม่เหล็ก (Magnetization) 4. ลักษณะทางไฟฟ้า (Electrical characteristics) 5. ค่ากัมมันตรังสี (Radioactive)

การสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ · ความหมายของการสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ (Geophysical

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ · ความหมายของการสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ (Geophysical

การสารวจทางธรณฟสกสความหมายของการสารวจทางธรณฟสกส (Geophysical exploration) คาวา “ธรณฟสกส หรอ Geophysics” เกดจากการผสมกนของคาวา “Geo” ทแปลวา โลก

กบคาวา “Physics” ทแปลวา วทยาศาสตรทเกยวกบสารพลงงานการเคลอนไหวและแรง จง

หมายถง “การศกษาทางวทยาศาสตรทเกยวกบสารพลงงานการเคลอนไหวและแรงทเกยวของกบ

วสดทประกอบกนขนเปนโลก”

ธรณฟสกสเปนการศกษาสวนตาง ๆ ของโลก ทงสวนทเปนเปลอกโลก (Crust) ประกอบดวยชนดน

และชนหน แมนเทล (Mantle) และแกนกลางของโลก (Core) โดยอาศยหลกการทวาวตถตางชนดกน

ยอมมคณสมบตทางกายภาพ (Physical properties) ทตางกน โดยการสารวจทางธรณฟสกสจะวด

ลกษณะความแตกตางกนทางคณสมบตทางกายภาพของสงตาง ๆ ทอยใตผวดนดวยเครองมอทมการ

ออกแบบมาเพอใหสามารถตรวจวดความแตกตางทางกายภาพเฉพาะตวของวตถตาง ๆ ได โดยการ

สารวจธรณฟสกสจะทาการตรวจวดทผวดนและแปลความหมายไปทระดบความลกตาง ๆ ใตผวดน

การสารวจดวยวธทางธรณฟสกสเปนการเพมขอบขายความสามารถของการสารวจใตผวดนท

ไมไดเหนไดทนท ชวยใหการเจาะหรอขดเพอพสจนทราบขอมลใตผวดนเปนไปไดอยางแมนยาขน ม

ผลใหชวยลดตนทนในการสารวจ อนงการสารวจดวยวธทางธรณฟสกสอาจไมใชวธทบอกผลท

ตองการไดทนท ตองอาศยประสบการณการแปลผลของผสารวจเปนสาคญ

เปาหมายในการสารวจดวยวธการทางธรณฟสกส ประกอบดวย- โครงสรางทางธรณวทยา (Geological structures)- สนแร (Ore)- ธรณวทยาของฐานราก (Geology of foundation)- คณสมบตทางกายภาพของหน (Physical properties of rock)

การสารวจทางธรณฟสกสจะวดคาคณสมบตทางกายภาพของวตถตวกลาง (Media) ทประกอบดวย

1. คาความยดหยน (Elasticity)2. คาความหนาแนน (Density)3. คาความเปนแมเหลก (Magnetization)4. ลกษณะทางไฟฟา (Electrical characteristics)5. คากมมนตรงส (Radioactive)

Page 2: การสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ · ความหมายของการสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ (Geophysical

การสารวจทางธรณฟสกสทาไดหลายวธ แตละวธศกษาสมบตทางกายภาพของวตถทแตกตางกน วธเหลานแสดงในตาราง

วธการสารวจ คาทวด สมบตทางกายภาพ

คลนไหวสะเทอน(Seismic)

เวลาทใชในการเดนทางของคลนไหวสะเทอน

ความหนาแนนและสมบตความยดหยน

ความถวง(Gravity)

การเปลยนแปลงความเขมสนามแรงโนมถวงของโลก

ความหนาแนน

แมเหลก(Magnetic)

การเปลยนแปลงความเขมสนามแมเหลกโลก

คาความสามารถในการเปนแมเหลกและแมเหลกคงคาง

ความตานทานไฟฟาจาเพาะ(Resistivity)

ความตานทานไฟฟา ความสามารถในการนาไฟฟา

การเหนยวนาโพลาไรเซชน(Induced polarization)

ความตางศกยของการเหนยวนาโพลาไรเซชนหรอความตานทานไฟฟาของพนดนทขนกบความถ

ความสามารถในการเกบไฟฟา

ศกยไฟฟาธรรมชาต(Self-potential)

คาความตางศกยไฟฟา ความสามารถในการนาไฟฟา

แมเหลกไฟฟา(Electromagnetic)

คาตอบสนองตอสนามแมเหลกไฟฟา

ความสามารถในการนาไฟฟาและการเหนยวนา

กมมนตรงส(Radioactive)

การแผรงสแกมมาความสมบรณของนวเคลยสทแผกมมนตรงส

Page 3: การสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ · ความหมายของการสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ (Geophysical

การสารวจทางธรณฟสกสโดยวธการวดความตานทานไฟฟาจาเพาะ

การสารวจทางธรณฟสกสโดยวธการวดคลนไหวสะเทอน

ตวอยางของลกษณะการสารวจทางธรณฟสกส

Page 4: การสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ · ความหมายของการสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ (Geophysical

การสารวจทางธรณฟสกสโดยวธการวดคาแรงโนมถวง

การสารวจทางธรณฟสกสโดยวธการวดคาสนามแมเหลกไฟฟา

ตวอยางการสารวจทางธรณฟสกส

การสารวจทางธรณฟสกสทางทะเล

Page 5: การสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ · ความหมายของการสํารวจทางธรณ ีฟิสิกส์ (Geophysical

การสารวจทางธรณฟสกสโดยวธการวดคากมมนตรงส

ตวอยางการสารวจทางธรณฟสกส

เอกสารอางอง : กองเศรษฐธรณวทยา. (2544). เทคนคการสารวจธรณวทยาแหลงแร. กรงเทพฯ: กรมทรพยากรธรณ. 315 หนาสานกธรณวทยา.(2555). คมอการสารวจทาแผนทธรณวทยา. กรงเทพฯ: กรมทรพยากรธรณ. 100 หนาสานกวชาวศวกรรมศาสตร. (2551). เอกสารประกอบการเรยนการสอนรายวชา 434308 การสารวจทางธรณฟสกส.นครราชสมา:

มหาวทยาลยเทคโนโลยสรนารสานกเทคโนโลยธรณ. (2560). สอประกอบการบรรยายเรอง “Geophysical applications used in Thailand”.กรงเทพฯ : กรมทรพยากรธรณสานกสารวจและประเมนศกยภาพนาบาดาล. (2554).สอประกอบการบรรยายเรอง “การสารวจหาแหลงนาบาดาลโดยธรณฟสกส”. กรงเทพฯ : กรมทรพยากรนาบาดาลhttp://www.dmr.go.th/more_news.php?cid=214http://www.geol.science.cmu.ac.th/gs/courseware/205482/Geophysics1_Intro.htm