45
1/17/2016 1 การจัดการเรียนการสอนแบบ ACTIVE LEARNING ดร.วิชัย เสวกงาม มีอะไรผิดปกติในการบรรยาย 3 ชั่วโมงของฉันหรือ? ปริมาณของขอมูลที่เก็บไวโดยผูเรียน จะลดลงอยางมากหลังจาก 10 นาที (Thomas, 1972) ในทางจิตวิทยา การบรรยายเพียงอยาง เดียวมีประสิทธิภาพสําหรับหาสิบนาทีถึง หนึ่งชั่วโมงเทานั้น ถาไมตองการใชวิธีสอน อื่นแทนการบรรยาย ผูสอนจําเปนตอง ผนวกวิธีสอนแบบอื่นหรือเทคนิคการสอน อื่นเขารวมดวย (Bligh, 2000)

การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

1

การจัดการเรียนการสอนแบบ ACTIVE LEARNING

ดร.วิชัย เสวกงาม

มีอะไรผิดปกติในการบรรยาย 3 ชั่วโมงของฉันหรือ?

2

ปริมาณของขอมูลที่เก็บไวโดยผูเรียนจะลดลงอยางมากหลังจาก 10 นาที

(Thomas, 1972)

ในทางจิตวิทยา การบรรยายเพียงอยางเดียวมีประสิทธิภาพสําหรับหาสิบนาทีถึงหนึ่งช่ัวโมงเทานั้น ถาไมตองการใชวิธีสอนอื่นแทนการบรรยาย ผูสอนจําเปนตองผนวกวิธีสอนแบบอื่นหรือเทคนิคการสอนอื่นเขารวมดวย

(Bligh, 2000)

Page 2: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

2

Active Teaching:the teacher keeps speaking,writing, walking, shouting,sweating…Passive Learning:students sleep, playcomputer games or talkabout the party last night

Source: http://mathsimulationtechnology.wordpress.com/2012/02/16/active-learning-passive-teaching/3

4

Page 3: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

3

“I hear and I forget.I see and I remember.I do and I understand.”Confucius

5

6

the university classroom has shifted

teaching-centric approach

standard lecture

learning-centric approach

blend of pedagogical approaches

Page 4: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

4

Point of View

ดานการจัดการศึกษาดานผูเรียน

8

มุมมองดานการจัดการศึกษา

The Premier's Technology Council. 2010. A Vision for 21st Century Education.Available at http://www.gov.bc.ca/prem/popt/technology_council/

Learning Information Learning to Learn

Data Discovery

Page 5: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

5

9The Premier's Technology Council. 2010. A Vision for 21st Century Education.Available at http://www.gov.bc.ca/prem/popt/technology_council/

One Size Fits All Tailored Learning

Testing to Assess Assessing to Learn

มุมมองดานการจัดการศึกษา

10The Premier's Technology Council. 2010. A Vision for 21st Century Education.Available at http://www.gov.bc.ca/prem/popt/technology_council/

Classroom Learning Lifelong Learning

มุมมองดานการจัดการศึกษา

Page 6: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

6

11

12

Page 7: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

7

13

14

Source: http://firstmonday.org/ojs/index.php/fm/article/view/1625/1540#k2

Page 8: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

8

15

มุมมองดานผูเรียนFunctional Numeracy and Literacy

Critical Thinking and Problem Solving

Creativity and InnovationTechnological Literacy

16

มุมมองดานผูเรียนCommunications and Media Literacy

Collaboration and TeamworkPersonal Organization

Motivation, Self-Regulation and Adaptability

Page 9: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

9

17

มุมมองดานผูเรียน

Ethics, Civic Responsibility,Cross-Cultural Awareness

ACTIVE LEARNING: ความหมายและความสําคัญ

“… strategies promoting active learning be defined as instructionalactivities involving students in doing things and thinking about what theyare doing.”

“… students must do more than just listen: They must read, write, discuss,or be engaged in solving problems. Most important, to be activelyinvolved, students must engage in such higher-order thinking tasks asanalysis, synthesis, and evaluation.” (Bonwell & Eison, 1991) 18

Page 10: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

10

19

ลักษณะที่สําคัญของ ACTIVE LEARNING

ผูเรียนมีสวนรวมมากข้ึนกวาการน่ังฟงอยูเฉยๆ

ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรม (เชน การอาน การพูด การเขียน)

การถายทอดขอมูลมีความสําคัญนอยกวาการพัฒนาทักษะของผูเรียน

เนนความสําคัญในการสํารวจทัศนคติ และคานิยมของผูเรียนใหมากข้ึน

20

ลักษณะที่สําคัญของ ACTIVE LEARNING

เพ่ิมแรงจูงใจใหกับผูเรียนมากข้ึน (โดยเฉพาะอยางย่ิงสําหรับผูเรียนที่เปนผูใหญ)

ผูเรียนสามารถไดรับขอมูลยอยกลับ (feedback) ทันทีจากผูสอน

ผูเรียนมีสวนรวมในการคิดข้ันสูง (การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา)

Page 11: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

11

21

กรอบในการจัดการเรียนรู ACTIVE LEARNING

simple tasks complex tasksThe pause procedureหยุดอยางเหมาะสม ทํากิจกรรม 2 นาทีทุกๆ 13-18 นาที ของ lecture

Cooperative Learning:The Jigsaw strategy

22

อุปสรรคขัดขวางการใช ACTIVE LEARNING

อุปสรรคที่ขัดขวางการใช Active Learning มี 2 ชุดหลัก ไดแก

1) อุปสรรคที่อาจเกิดข้ึนจากการใชกลยุทธ Active Learning2) ความเสี่ยงที่เกิดจากการใชกลยุทธ Active Learning

Page 12: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

12

23

อุปสรรคขัดขวางการใช ACTIVE LEARNING

ผูสอนไมสามารถสอนใหครอบคลุมเน้ือหาจํานวนมากในชวงเวลาที่มีอยูได

1) อุปสรรคที่อาจเกิดข้ึนจากการใชกลยุทธ Active Learning

Active Learning ใชเวลาเตรียมความพรอมกอนการเรียนการสอนมากเกินไป

ช้ันเรียนขนาดใหญ ทําใหยากตอการนํา Active Learning มาใช

24

อุปสรรคขัดขวางการใช ACTIVE LEARNING

ผูสอนสวนใหญคิดวาตัวเองเปนผูสอนแบบบรรยายไดดี

1) อุปสรรคที่อาจเกิดข้ึนจากการใชกลยุทธ Active Learning

การขาดแคลนวัสดุหรืออุปกรณที่จําเปนในการสนับสนุนการเรียนการสอนแบบ Active Learning

ผูเรียนตอตานการเรียนการสอนที่ไมใชวิธีการบรรยาย

Page 13: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

13

25

อุปสรรคขัดขวางการใช ACTIVE LEARNING

I. มีความเสี่ยงที่ผูเรียนจะไม:ก) มีสวนรวมอยางแข็งขันข) เรียนรูเน้ือหาตามหลักสูตรอยางเพียงพอค) ใชทักษะการคิดขั้นสูงง) สนุกเพลิดเพลินไปกับประสบการณ

2) ความเสี่ยงที่เกิดจากการใชกลยุทธ Active Learning

26

อุปสรรคขัดขวางการใช ACTIVE LEARNING

II. มีความเสี่ยงที่ผูสอนจะไม:ก) รูสึกวาไดควบคุมช้ันเรียนข) รูสึกมั่นใจในตัวเองค) มีทักษะที่จําเปนในการใช Active Learningง) เปนคนที่ผูอื่นเห็นวาจัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่ไดรับการยอมรับ

2) ความเสี่ยงที่เกิดจากการใชกลยุทธ Active Learning

Page 14: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

14

27

ดาน กลยุทธความเสี่ยงต่ํา กลยุทธมีความเสี่ยงสูงเวลาท่ีใชในหองเรียน คอนขางสั้น คอนขางยาวระดับของโครงสราง โครงสรางมาก โครงสรางนอยระดับของการวางแผน การวางแผนอยางพิถีพิถัน ตามธรรมชาติเนื้อหาวิชา คอนขางเปนรูปธรรม คอนขางเปนนามธรรมความรูเดิมในเนื้อหาวิชาของผูเรียน มีความรูมาก มีความรูนอยความคุนเคยกับเทคนิคการสอน คุนเคย ไมคุนเคยประสบการณในเทคนิคการสอนของผูสอน

คอนขางมาก จํากัด

รูปแบบของปฏิสัมพันธ ระหวางผูสอนและผูเรียน ระหวางผูเรียนเอง

ตารางเปรียบเทียบกลยุทธ Active Learning ที่มีความเสี่ยงต่ํากับความเสี่ยงสูง

ตัวอยางการจําแนกประเภทของกลยุทธการเรียนการสอนตามระดับของความเสี่ยง (P. 5-6)

กิจกรรมท่ีมีความเสี่ยงต่ํา Pause Procedure

Personal ResponseSystems or Clickers

Short Writes Summarize last lecture,

readings, etc.

What didn’t you understand?

Analytical lists

Journal entries

Thumbs up/thumbs downresponse to statement

Surveys or questionnaires

Formative (ungraded)quizzes

Think-Pair-Share

Brainstorming

Structured group discussions(specific questionsprovided)

กิจกรรมท่ีมีความเสี่ยงสูง Group Discussion (no

structure)

Guided lecture

Individual/grouppresentations

Pairs/groups developapplications related tolecture content

Pairs/groups write testquestions related to lecturematerial

Students analyze aproblem, poem,photography, etc.

Students work a problemthen evaluate each others’work

Role plays illustrating aconcept from lecture

Responsive lecture

28

Page 15: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

15

ปญหาที่มักเกิดขึ้นจากการใช ACTIVE LEARNING

29

ผูเรียนไมตองการใหสอนแบบ Active Learning !

ผูเรียนบนเร่ืองการใช Active Learning ของผูสอน !

ผูสอนควบคุมการสอนแบบ Active Learning ไมได !

ปญหาที่มักเกิดขึ้นจากการใช ACTIVE LEARNING

30

การสอนแบบ Active Learning ใชเวลามากเกินไป !

ผูเรียนไมทํางานรวมกันในกลุม !

ผูเรียนไมตรวจสอบผลงานอยางจริงจัง !

Page 16: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

16

31

การเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย

การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาขึ้นในตนเองจากประสบการณที่ไดรับระหวางการศกึษา

32

หลักสูตรระดับปริญญาตรีออกแบบมาเพ่ือพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ความรูความเขาใจในสาขาวิชาอยางกวางๆเนนใหรูลึกในบางสวนท่ีเก่ียวของกับการวิเคราะห การพัฒนาและผลการวิจัยลาสุดนักศึกษาควรตระหนักถึงความรูและทฤษฎีในสาขาวิชาอื่นท่ีเก่ียวของสัมพันธกันปริญญาตรีเปนคุณวุฒิขั้นพ้ืนฐานสําหรับการเขาสูอาชีพในสาขาตางๆ ท่ีใชทักษะความชํานาญสูงและการศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น ดังนั้นหลักสูตรจะตองพัฒนาผูเรียนท้ังคุณธรรม จริยธรรม ความรู และทักษะท่ีจําเปนตอการปฏิบัติในวิชาชีพ และพ้ืนฐานความรูภาคปฏิบัติและภาคทฤษฏี และการวิจัยท่ีจําเปนตอการศึกษาตอดวย

Page 17: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

17

33

หลักสูตรระดับปริญญาโทมีจุดมุงหมายท่ีจะใหมีคุณธรรม จริยธรรม ความรูและทักษะทางดานวิชาการและวิชาชีพในระดับท่ีสูงมากแกผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีท่ีมีผลการเรียนดี โดยมุงเนนการพัฒนาความชํานาญทางดานการวิจัย หรือพัฒนาความชํานาญระดับสูงทางวิชาชีพ หลักสูตรจึงอาจเนนการคนควาวิจัยท่ีนําไปสูการทําวิทยานิพนธ หรืออาจผสมผสานระหวางการศึกษารายวิชากับวิทยานิพนธ หรือการศึกษารายวิชาและการคนควาอิสระ

34

มาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย

1. ดานคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral)หมายถึง การพัฒนานิสัยในการประพฤติอยางมีคุณธรรม จริยธรรมและดวยความรับผิดชอบทั้งในสวนตนและสวนรวม ความสามารถในการปรับวิถีชีวิตในความขัดแยงทางคานิยม การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนตามศีลธรรม ทั้งในเรื่องสวนตัวและสังคม

Page 18: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

18

35

มาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย

2. ดานความรู (Knowledge)หมายถึง ความสามารถในการเขาใจ การนึกคิด และการนําเสนอขอมูล การวิเคราะหและจําแนกขอเท็จจริงในหลกัการ ทฤษฎีตลอดจนกระบวนการตางๆ และสามารถเรียนรูดวยตนเองได

36

มาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย

3. ดานทักษะทางปญญา (Cognitive Skills)หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะหสถานการณและใชความรูความเขาใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการตางๆ ในการคิดวิเคราะหและการแกปญหา เม่ือตองเผชิญกับสถานการณใหมๆ ที่ไมไดคาดคิดมากอน

Page 19: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

19

37

มาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย

4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skills and Responsibility)หมายถึง ความสามารถในการทํางานเปนกลุม การแสดงถึงภาวะผูนํา ความรับผิดชอบ ตอตนเองและสังคม ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบ ในการเรียนรูของตนเอง

38

มาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย

5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills)หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะหเชิงตัวเลข ความสามารถในการใชเทคนิคทางคณิตศาสตรและสถิติ ความสามารถในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 20: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

20

39

มาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยนอกจากผลการเรียนรูทั้ง 5 ดานนี้บางสาขาวิชาตองการทักษะทางกายภาพสูง เชน การเตนรํา ดนตรีการวาดภาพ การแกะสลัก พลศึกษา การแพทย และวิทยาศาสตรการแพทย จึงตองเพ่ิมการเรียนรูทางดานทักษะพิสัย (Domain ofPsychomotor Skill)

เพ่ิมเติม การปฏิบัติทางวิชาชีพ

40

ครุศาสตร เพิ่ม 10. ความเปนครู

Page 21: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

21

จุดมุงหมายของการจัดการเรียนการสอน

ผูเรียนรูอะไรผูเรียนรูสึกอยางไรผูเรียนทําอะไรได

Cognitive

PsychomotorAffective

41

การจัดการเรียนการเรียนรู กับ ผลการเรียนรู

การจัดการเรียนรู หมายถึงการดําเนินการหรือการจัดสภาพการณของการเรียนการสอนตามหลักการหรือทฤษฎีของผูสอน เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ตามจุดมุงหมายที่กําหนด

ผลการเรียนรู (learning outcome) หมายถึงสิ่งที่ผูเรียนสามารถทําไดอันเปนผลมาจากการเรียนรูของผูเรียน เปนการแสดงออกถึงการเรียนรูของผูเรียน ทั้งความรู ทักษะทางปญญา ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค 42

Page 22: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

22

43

44

Source: https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-pages/blooms-taxonomy/

Page 23: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

23

KRATHWOHL'S TAXONOMY OF AFFECTIVE DOMAIN

source: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html

AFFECTIVEDOMAIN 1. การรับรูหรือการยอมรับ (receiving)

เปนการแปลความหมายความรูสึกที่เกิดจากสิ่งเราหรือปรากฏการณ2. การตอบสนอง (responding)

เปนการแสดงออกมาในรูปของความเต็มใจยินยอม และพอใจตอสิ่งเรา3. การเกิดคานิยม (valuing)

เปนการเลือกปฏิบัติในสิ่งที่สังคมยอมรับ หรือปฏิบัติตามในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง จนกลายเปนความเช่ือและเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น

Page 24: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

24

AFFECTIVEDOMAIN 4. การจัดระเบียบคานิยม (organizing)

เปนการรวบรวมคานิยมใหมที่เกิดข้ึน จากแนวคิดและการจัดระบบคานิยมที่จะยึดถือตอไป หากไมสามารถยอมรับคานิยมใหม ก็จะยึดถือคานิยมเกาตอไปแตถายอมรับคานิยมใหมก็จะยกเลิกคานิยมเกาที่ยึดถือ5. การสรางลักษณะนิสัยตามคานิยมที่ยึดถือ(characterization by value)

เปนการนําคานิยมที่ยึดถือมาใชเปนตัวควบคุมพฤติกรรม ที่เปนนิสัยประจําตัวของตน ใหประพฤติปฏิบัติแตสิ่งที่ถูกตองดีงาม

DAVE'S TAXONOMY OF PSYCHOMOTOR DOMAIN

source: http://www.nwlink.com/~donclark/hrd/bloom.html

Page 25: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

25

1. การเลียนแบบ (imitation)

เปนพฤติกรรมท่ีผูเรียนรับรูหลักการปฏิบัติท่ีถูกตอง หรือเปนการเลือกหาตัวแบบท่ีสนใจ

2. กระทําตามแบบ (manipulation)

เปนพฤติกรรมท่ีผูเรียนพยายามฝกตามแบบท่ีตนสนใจและพยายามทําซํ้า เพื่อใหเกิดทักษะตามแบบท่ีตนสนใจใหได หรือสามารถปฏิบัติงานไดตามขอแนะนํา

3. ความถูกตองตามแบบ (precision)

เปนพฤติกรรมท่ีผูเรียนสามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง โดยไมตองช้ีแนะ พยายามหาความถูกตองในการปฏิบัติและพัฒนาเปนรูปแบบของตัวเอง

4. การกระทําที่มีความตอเนื่องประสานกัน(Articulation)

เปนพฤติกรรมที่ผูเรียนปฏิบัติตามรูปแบบที่ไดตัดสินใจเลือกเปนของตัวเองและจะปฏิบัติตามรูปแบบนั้นอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ จนสามารถปฏิบัติงานไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และคลองแคลว5. การทําจนธรรมชาติ (Naturalization)

เปนพฤติกรรมที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติสิ่งนั้นๆ ไดคลองแคลววองไว โดยอัตโนมัติ ดูเปนไปอยางธรรมชาติไมขัดเขิน

Page 26: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

26

51

การเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน

สิ่งที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน…

วัตถุประสงครายวิชา

What do I want students to know (knowledge)?What do I want students to be able to do (skills)?

What do I want students to feel (attitudes)?

52

การเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน

สิ่งที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน…

ลักษณะสวนบุคคลของผูสอน

Personality characteristics.Levels of control.

Preference of Teaching Methods.

Page 27: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

27

53

การเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน

สิ่งที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน…

ระดับความเสี่ยงของกิจกรรม

The fear of failure Shorter activities have less risk

54

การเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน

สิ่งที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน…

การรับรูบทบาท

Role in the classroom

Instructors assume that there is no time left for active learning activitiesto teach in the classroom or to learn outside of the classroom

Page 28: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

28

55

การเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน

สิ่งที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน…

ประสบการณของผูเรียน

Inexperienced ExperiencedLevels of student experience

56

CLASSROOM ACTIVITIES FOR ACTIVE LEARNING

Questioning Techniques

Page 29: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

29

GUIDE FOR FRAMING QUESTIONS

Knowledge: Identification and recall of information

Who, what, when, where, how…………………………………………………………………………….?Describe………………………………………………………………………………………………………………….

57

GUIDE FOR FRAMING QUESTIONS

Comprehension: Organization and selection of facts and ideas

Retell…………………………………………..…………………………………………..in your own words.

58

Page 30: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

30

GUIDE FOR FRAMING QUESTIONS

Application: Use of facts, rules, and principles

How is…………………………………………………….an example of……………………………………..?How is…………………………………………………..related to………………………………………….……?Why is…………………………………………………………………………………………………..significant?

59

GUIDE FOR FRAMING QUESTIONS

Analysis: Separation of a whole into component parts

What are the parts or features of……………………………………………………………………….?Classify……………………………………………..according to…………….…………………………………Outline/diagram……………………………………………………………………………………………………How does………………………………….compare/contrast with………………………………..….?What evidence can you list for…………………………………………………………………………..?

60

Page 31: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

31

GUIDE FOR FRAMING QUESTIONS

Synthesis: Combination of ideas to form a new whole

What would you predict/infer from……………………………………………………….………...?What ideas can you add to…………………………………………………………………..…………...?How would you create/design a new……………………………………………….………………..?What might happen if you combined………………………………………………………………..?What solutions would you suggest for……………………………………………………………….?

61

GUIDE FOR FRAMING QUESTIONS

Evaluation: Development of opinions, judgments, or decisionsDo you agree with/that…………………………………………………………………………..………....?What do you think about………………………………………………………………………..………...?What is the most important………………………………………………………………….….……….?Place the following in priority order: …………………………………………………..……………How would you decide about…………………………………………………………………………...?What criteria would you use to assess……………………………………………………………...? 62

Page 32: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

32

63

CLASSROOM ACTIVITIES FOR ACTIVE LEARNING

Small Groups

64

SMALL GROUPS

Think/Write–Pair–Share

Page 33: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

33

65

SMALL GROUPS

Buzz Groups

66

SMALL GROUPS

Three-Step Interview

Page 34: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

34

67

CLASSROOM ACTIVITIES FOR ACTIVE LEARNING

Whole Class Involvement

68

WHOLE CLASS INVOLVEMENT

The Lecture Check

Page 35: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

35

69

WHOLE CLASS INVOLVEMENT

Whole-Class Debates

70

WHOLE CLASS INVOLVEMENT

Role-Playing and Debates

Page 36: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

36

71

CLASSROOM ACTIVITIES FOR ACTIVE LEARNING

Reading & Writing Exercises

72

READING & WRITING EXERCISES

Classroom AssessmentTechniques

Page 37: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

37

เทคโนโลยีสารสนเทศการเรียนการสอน

73

• สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน หรือ CAI (Computer Aided Instruction)• ระบบการสื่อสารทางไกลหรือโทรศึกษา (tele-education)• การเรียนการสอนผานเว็บเพจ WBI (Web Based Instruction) หรือ

WBL (Web Based Learning)• การเรียนการสอนแบบ e-Learning (Electronics Learning)• หองสมุดเสมือน (Virtual Library)

เทคโนโลยีสารสนเทศการเรียนการสอน

74

เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกที่ ทุกเวลายูบิควิตัสเทคโนโลยี (Ubiquitous technology)สังคมยูบิควิตัส (Ubiquitous society)Ubiquitous เปนภาษาลาติน มีความหมายวา อยูในทุกแหง หรือ มีอยูทุกหนทุกแหง

Page 38: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

38

เทคโนโลยีสารสนเทศการเรียนการสอน

75

การเรียนการสอนในโลกดิจิตอล การเรียนรูเกิดข้ึนไดทุกที่ ทุกเวลา• ระบบ เชน Blackboard, CourseVille, Moodle• เครื่องอานหนังสือ Kindle สารานุกรม Wikipedia• เครือขายสังคม เชน MySpace, Facebook, Linkedin, Skype• เครื่องมือคนหา เชน Google, Yahoo, Bing• คลังวิดีโอ เชน Youtube, TeacherTube, Hulu

76

ท่ีมา: http://tpack.org

Pedagogical content knowledge (PCK)Shulman (1986)

Technological Pedagogical ContentKnowledge (TPACK)

Mishra & Koehler (2006)

ความรูที่จําเปนของอาจารย

Page 39: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

39

การออกแบบการเรียนการสอน(INSTRUCTIONAL DESIGN)

ADDIE MODELข้ันการวิเคราะห

ข้ันการออกแบบ

ข้ันการพัฒนา

ข้ันการนําไปใช

ข้ันการประเมินผล

Page 40: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

40

ข้ันตอนการออกแบบการเรียนการสอน

1. การกําหนดเน้ือหาสาระและมโนทัศนและการกําหนดวัตถุประสงคo การวิเคราะหสาระ ผลการเรียนรูo การวิเคราะหมโนทัศน

• มโนทัศนหลัก• มโนทัศนยอย• การเช่ือมโยงมโนทัศน

o การวิเคราะหทักษะและกระบวนการ

1. การกําหนดเน้ือหาสาระและมโนทัศนและการกําหนดวัตถุประสงคo การวิเคราะหคุณลักษณะอันพึงประสงคo การกําหนดวัตถุประสงคใหครอบคลุม 3 ดาน คือ

• ดานความรู• ดานทักษะและกระบวนการ• ดานคุณลักษณะ

ข้ันตอนการออกแบบการเรียนการสอน

Page 41: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

41

ข้ันตอนการออกแบบการเรียนการสอน

2. การกําหนดการวัดและการประเมินผล การกําหนดวัตถุประสงคใหกําหนดวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ ภาระงาน ช้ินงานแบงออกตามวัตถุประสงคได 3 ดาน คือ

• การวัดและการประเมินผลดานความรู• การวัดและการประเมินผลดานทักษะและกระบวนการ• การวัดและการประเมินผลดานคุณลักษณะ

3. การกําหนดแนวทาง / ยุทธศาสตรการเรียนการสอน

4. การกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน

7. การประเมินผลกระบวนการเรียนการสอน

5. การเขียนแผนการจัดการเรียนรู

6. การนํากระบวนการเรียนการสอนที่ออกแบบไปใช

ข้ันตอนการออกแบบการเรียนการสอน

Page 42: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

42

การออกแบบการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศกึษาและตรงกับความตองการในปจจุบัน

84

การพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF: HEd)

มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา สาขาวิชา...มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตรมคอ.3 รายละเอียดของรายวิชามคอ.4 รายละเอียดของประสบการณภาคสนามมคอ.5 รายงานผลการดําเนินการของรายวิชามคอ.6 รายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนามมคอ.7 รายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร

มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา สาขาวิชา...มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตรมคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา

Page 43: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

43

85

มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา สาขาวิชา...

oคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคoมาตรฐานผลการเรียนรูoโครงสรางหลักสูตรoหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปoหมวดวิชาเฉพาะดานoหมวดวิชาเลือกเสรี

oเนื้อหาสาระสําคัญของสาขาวิชาoกลยุทธการสอนและการประเมินผลการเรียนรู

86

มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร

oปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตรoรายวิชาoคําอธิบายรายวิชาoองคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม

oขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย (ถามี)oผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผลo Curriculum Mapping

Page 44: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

44

87

88

มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา

oจุดมุงหมายของรายวิชาoคําอธิบายรายวิชาoการพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษาoผลการเรียนรูoวิธีสอนoวิธีการประเมิน

กําหนดวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมวิธีสอน/กิจกรรมการเรียนการสอนวิธีการประเมินผล

แผนการสอนและการประเมินผล

Page 45: การจัดการเรียนการสอนแบบACTIVE LEARNINGfs.libarts.psu.ac.th/webcontent/KM/02 KM-Active Learning... · 2016. 3. 1. · การจัดการเรียนการสอนแบบactive

1/17/2016

45

89