27
การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมี สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข ตุลาคม 2558

การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเส่ียงอุบัติภัยทางสารเคม ี

ส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข

ตุลาคม 2558

Page 2: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี ที่ปรึกษา

ดร.นพ.ปรีชา เปรมปรี ผู้อ านวยการส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม นางจุไรวรรณ ศิริรัตน์ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญพิเศษ ดร.อรพันธ์ อันติมานนท์ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญพิเศษ

จัดท าและเรียบเรียง

ประวิทย์ นามรมย์ นักวิชาการสาธารณสุข ฐาปนี ชูเชิด นักวิชาการสาธารณสุข

รวบรวมและเผยแพร่

กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมกรมควบคุมโรค ถ.ติวานนท์ต.ตลาดขวัญอ.เมืองนนทบุรี 11000 หมายเลขโทรศัพท์ 0 2590 4380, 4389 หมายเลขโทรสาร 0 2590 4380, 4388

ปีท่ีจัดท า: ตุลาคม 2558

Page 3: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

ค าน า

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยจากสารเคมี จัดท าขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการบ่งชี้พ้ืนที่เสี่ยงต่อการ

เกิดอุบัติภัยจากสารเคมีโดยการน าข้อมูลส าคัญเช่น ข้อมูลการเกิดอุบัติภัยสารเคมีในรอบสามปี ข้อมูลสถานที่เก็บวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ สถานประกอบการที่มีความเสี่ ยงสูง 12 ประเภทตามพ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 สถิติการเกิดอุบัติเหตุทางสารเคมีย้อนหลังสามปี เป็นต้น ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิซึ่งอยู่ในหน่วยงานต่างๆได้แก่ ส านักควบคุมวัตถุอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม และศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมารวบรวมและวิเคราะห์จัดเรียงล าดับพ้ืนที่ความเสี่ยงภัยจากสารเคมีสูง พ้ืนที่เสี่ยงภัยจากสารเคมีปานกลางและพ้ืนที่เสี่ยงภัยจากสารเคมีต่ า เพ่ือช่วยในการตัดสินใจคัดเลือกพ้ืนที่ส าหรับวางมาตรการการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในระดับประเทศและในระดั บพ้ืนที่ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น

การวิเคราะห์ความเสี่ยงครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณเป็นตัวอย่างส าหรับการน าไปประยุกต์ใช้ในระดับพ้ืนที่ข้อจ ากัดของการวิเคราะห์ในครั้งนี้คือ ไม่มีการน าข้อมูลปัญหาพ้ืนเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อมเช่น ขยะ และประเด็นช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศมาประกอบการพิจารณาร่วมด้วย

ส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมหวังว่า รายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยจากสารเคมีฉบับนี้เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อเครือข่ายในการน าไปวางแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินสารเคมีในพ้ืนที่ต่อไป หากมีข้อสงสัยซักถาม ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม สามารถประสานงานไปท่ีกลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โทรศัพท์ 02 590 4393, 02 590 4395 โทรสาร 02 590 4388 หรือทางอีเมล์ที่nam_Prawit @hotmail.com , [email protected]โดยข้อเสนอแนะจะน าไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป

กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

31ตุลาคม 2558

Page 4: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

บทสรปุส าหรบัผู้บริหาร

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นผลให้มีการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตต่างๆทั้ง

ภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม จึงต้องมีการควบคุมการใช้ การจัดเก็บ การขนส่ง เพ่ือป้องกันอุบัติภัยที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งหากเกิดอุบัติภัยขึ้นจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรง ทั้งในด้านชีวิต ทรัพย์สิน เศรษฐกิจ สังคม และสภาพจิตใจ ส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งคุกคามสุขภาพทางสารเคมี และกัมมันตรังสีนิวเคลียร์ จึงได้จัดท ารายงานการวิเคราะห์พ้ืนที่เสี่ยงสารเคมีขึ้น เพ่ือใช้บ่งชี้พ้ืนที่เสี่ยง สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและรองรับอุบัติภัยสารเคมีที่อาจจะเกิดขึ้นให้กับหน่วยงานทางสาธารณสุขในพ้ืนที่ และเตือนภัยหรือชี้เป้าให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส าหรับการเฝ้าระวังและเตรียมความพร้อมตอบโต้เหตุฉุกเฉินสารเคมีต่อไป

วิธีการด าเนินงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงสารเคมีครั้งนี้ ใช้รูปแบบการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์จากข้อมูล

ทุติยภูมิที่อยู่จากหน่วยงานต่างๆได้แก่ส านักควบคุมวัตถุอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใช้ต าแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ในการก าหนดแบ่งช่วงคะแนนตามเกณฑ์แปลผลความเสี่ยง 3 ระดับ คือ ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงปานกลาง และความเสี่ยง

ผลการวิเคราะห์ จังหวัดที่มีความเสี่ยงมีจ านวน 26 จังหวัดได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ระยอง ปทุมธานี

พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สงขลา เชียงใหม่ นครราชสีมา ราชบุรี นครปฐม สระบุรี อุดรธานี นนทบุรี สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์นครศรีธรรมราช, เชียงราย, นครสวรรค์ และพิษณุโลก

จังหวัดทีม่ีความเสี่ยงปานกลาง มีจ านวน 28 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี ล าพูน กระบี่ ลพบุรี สุรินทร์ บุรีรัมย์ อ่างทอง ล าปาง กาฬสินธุ์ พิจิตร สระแก้ว ตรัง ชุมพร ศรีสะเกษ ภูเก็ต เพชรบูรณ์ สุโขทัย นครนายก, จันทบุรี เลย พังงา ชัยภูมิ สกลนคร หนองคาย แพร่ อุตรดิตถ์ และยะลา ส่วนจังหวัดอ่ืนๆ เป็นจังหวัดทีม่ีความเสี่ยงน้อย

ข้อเสนอแนะ จังหวัดพ้ืนที่ความเสี่ยงสูง ควรท าการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงซ้ าในแต่ละจังหวัดโดยค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมมา

พิจารณาความเสี่ยง และพัฒนาฐานข้อมูลในพ้ืนที่ควรประสานกับทางส านักงานสาธารณสุขจังหวัดในพ้ืนที่เพ่ือวางระบบการประสานงานและเตรียมการรองรับอุบัติภัยสารเคมี ควรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าของ ส านักป้องกันและควบคุมโรคในแต่ละพ้ืนที่ ให้มีความรู้เรื่องสารเคมีการเตรียมความพร้อมและตอบโต้อุบัติภัยสารเคมี

Page 5: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

จังหวัดพ้ืนที่เสี่ยงปานกลางควรประสานกับทางส านักงานสาธารณสุขจังหวัดในแต่ละพ้ืนที่เพ่ือวางระบบการประสานงานและเตรียมการรองรับอุบัติภัยสารเคมี ควรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าของส านักป้องกันและควบคุมโรคในแต่ละพ้ืนที่ ให้มีความรู้เรื่องสารเคมีและการเตรียมความพร้อมและตอบโต้อุบัติภัยสารเคมี

จังหวัดพ้ืนที่เสี่ยงน้อย ถึงแม้ว่าจะเป็นพ้ืนที่ที่มีความเสี่ยงต่อการอุบัติภัยน้อย แต่ควรจะมีการเตรียมการ โดยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลในพื้นท่ี และท าการเฝ้าระวังเหตุการณ์อุบัติภัย

Page 6: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

สารบัญ เรื่อง หน้า

ค าน า สารบัญ กิตติกรรมประกาศ

บทที่ 1 บทน า

- สถานการณ์และความส าคัญ 1 - วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง 1

บทที่ 2วิธีการวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง

- รูปแบบการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง 2 - แนวทางการด าเนินงาน 2 - ข้อมูลและเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์พ้ืนที่เสี่ยง 2

โรงงานที่มีความเสี่ยงสูง 12 ประเภท 3 สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ 6

สถิติเรื่องการร้องเรียนที่เก่ียวข้องกับสารเคมีและวัตถุอันตราย 9 สถิติการเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีและวัตถุอันตราย 11

บทที่ 3สรุปผลการวิเคราะห์และข้อเสนอแนะ

- สรุปผลการวิเคราะห์คะแนนความเสี่ยงในแต่ละด้าน 14

- สรุปผลการวิเคราะห์และข้อเสนอแนะ 17

บรรณานุกรม 20

Page 7: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

กิตติกรรมประกาศ

การวิเคราะห์และประเมินพ้ืนที่เสี่ยงอุบัติภัยจากสารเคมีฉบับนี้ส าเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ข้อมูลและข้อเสนอแนะจากหลายหน่วยงานและผู้เชี่ยวชาญหลายท่านส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมกรมควบคุมโรคขอขอบพระคุณหน่วยงานและบุคคลต่างๆดังนี้

ขอขอบพระคุณส านักควบคุมวัตถุอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม, หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นอย่างยิ่งส าหรับการอนุเคราะห์ข้อมูลเช่นฐานข้อมูลสถานประกอบการหรือโรงงานความเสี่ยงสูง 12 ประเภท, สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ, ข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีและวัตถุอันตราย และสถิติการเกิดอุบัติภัยสารเคมีในแต่ละจังหวัด เป็นต้นซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีความส าคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการประเมินพ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัยจากสารเคมีครั้งนี้

ขอขอบพระคุณ ดร.นพ .ปรีชา เปรมปรี (ผู้อ านวยการส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ) คณะกรรมการวิชาการด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และดร.อรพันธ์ อันติมานนท์ ที่สนับสนุนการด าเนินงานให้ค าปรึกษาและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในกระบวนการประเมินความเสี่ยงครั้งนี้จนส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

Page 8: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 1

บทที ่1

บทน า 1.1 สถานการณ์และความส าคัญ

ปัจจุบันสารเคมีมีส่วนส าคัญและเก่ียวข้องกับชีวิตประจ าวันอย่างมาก เป็นส่วนประกอบหรือวัตถุดิบของ อาหาร ยาเวชภัณฑ์ ของใช้อุปโภคบริโภค เป็นส่วนผสมในกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ในปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลงที่ใช้ในการเกษตร ในขณะเดียวกัน หากการจัดการ การจัดเก็บ การขนส่ง การก าจัด ไม่ถูกวิธีหรือไม่ได้มาตรฐาน ย่อมเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม สภาพจิตใจ เศรษฐกิจ และอ่ืนๆตามมาอีกมากมาย ตัวอย่างเช่นพิษจากโลหะหนักที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมเนื่องจากก าจัดที่ไม่ถูกวิธี โรคทางเดินหายใจเนื่องจากฝุ่นควันพิษที่โรงงานปล่อยออกมา การหกหล่นของสารเคมีหรือการเกิดอุบัติภัยของสารเคมีจากการขนส่งสารเคมีอันตราย เนื่องจากการขนส่งที่ไม่ได้มาตรฐาน การปนเปื้อนสารพิษของพืชและสัตว์เนื่องจากการลักลอบทิ้งกากสารเคมหีรือเหตุการณ์อุบัติภัยด้านสารเคมี

การเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีอันตรายมีตั้งแต่การลุกไหม้ การระเบิด การรั่วไหลเล็กน้อยภายในโรงงานจนถึงจ านวนมากและมีผลกระทบต่อชุมชน การจัดการป้องกัน ควบคุมอุบัติการณ์เหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพขึน้อยู่กับการวางแผนเตรียมความพร้อม และซ้อมแผนโดยอาศัยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนรวมถึงชุมชน ที่มีสารเคมีอันตรายแต่ละชนิดจัดเก็บอยู่ การวิเคราะห์สิ่งคุกคามในพ้ืนที่เสี่ยง นับว่าเป็นขั้นตอนแรกที่ส าคัญในการจัดท าแผนปฏิบัติการและจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอ รองรับการเกิดเหตุการณ์ ดังนั้นส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมจึงได้รวบรวมข้อมูลที่ส าคัญและเก่ียวข้อง เช่น จ านวนสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ สถิติเรื่องการร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีและวัตถุอันตรายหรือสถิติการเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีและวัตถุอันตรายเป็นต้น มาประกอบการพิจารณาจัดล าดับความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัยทางสารเคมีให้แต่ละจังหวัด เป็นข้อมูลประกอบการสนับสนุนให้จังหวัดที่มีความเสี่ยงสูง และปานกลาง มีการจัดท าแผนเตรียมความพร้อมรองรับการเกิดอุบัติภัย การจัดสรรทรัพยากร ทั้งคน เงินและวัสดุอุปกรณ์ และมีการซ้อมแผนร่วมกับหน่วยงานอ่ืนๆที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้เป็นฐานข้อมูลในการวางแผนและก าหนดนโยบายที่ควรด าเนินการในอนาคตข้อจ ากัดในการวิเคราะห์พ้ืนที่เสี่ยงทางด้านสารเคมีในครั้งนี้คือไม่ได้น าปัญหาพ้ืนเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อมเช่น ขยะ และประเด็นช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศมาประกอบการพิจารณาด้วย

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง 1.2.1 เพ่ือจัดล าดับความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัยทางสารเคมีของจังหวัด 1.2.2 เพ่ือให้ส านักงานป้องกันควบคุมโรค น าข้อมูลที่ได้ไปสนับสนุนการเตรียมความพร้อมให้กับจังหวัด

ในพ้ืนที ่1.2.3 เพ่ือน าผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงมาเตือนภัยหรือชี้เป้าให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Page 9: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 2

บทที ่2

วิธีการวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง 2.1 รูปแบบการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง

การวิเคราะห์พ้ืนที่เสี่ยงครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์จากข้อมูลทุติยภูมิที่อยู่จากหน่วยงานต่างๆได้แก่ส านักควบคุมวัตถุอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม,หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.2 แนวทางการด าเนินงาน 2.2.1 ก าหนดเกณฑ์หรือปัจจัยที่จะน ามาวิเคราะห์ความเสี่ยง 2.2.2 รวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้อง 2.2.3 วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงและจัดอันดับพ้ืนที่เสี่ยง 2.2.4 เผยแพร่ข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2.3 ข้อมูลและเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง ข้อมูลและเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์พ้ืนที่เสี่ยงของพ้ืนที่กรณีอุบัติภัยจากสารเคมี แต่ละหน่วยงานหรือ

ผู้ท าการประเมินอาจใช้ข้อมูลที่มีความหลากหลายได้ขึ้นอยู่กับการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะใช้ โดยในครั้งนี้เป็นตัวอย่างของข้อมูลที่น ามาใช้ในการประเมินพ้ืนที่เสี่ยงซึ่งผู้ท าการประเมินได้พิจารณาแล้วจะใช้ข้อมูลดังรายละเอียดต่อไปนี้

ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงประกอบด้วย 2.3.1 จ านวนสถานประกอบการหรือโรงงานที่มีความเสี่ยงสูง12ประเภทโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม

2.3.2 จ านวนสถานทีเ่ก็บรักษาวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม 2.3.3 สถิติเรื่องการร้องเรียนที่เก่ียวข้องกับสารเคมีและวัตถุอันตรายในรอบ 3 ปี (วันที่ 1 ม.ค. 55 – 30

เม.ย. 2558) โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม 2.3.4 สถิติการเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีและวัตถุอันตรายและ/หรือจังหวัดที่เคยเกิดอุบัติเหตุทาง

สารเคมีและวัตถุอันตราย ในรอบ 3 ปี (วันที่ 1 ม.ค. 55 – 30 เม.ย. 2558) โดยเว็บไซต์Chemtrack.com

เกณฑ์การให้คะแนนส าหรับการจัดอันดับความส าคัญแบ่งออกเป็น 4 อันดับโดยมีความหมายดังนี้ ระดับคะแนน 1 หมายถึงน้อย ระดับคะแนน 2 หมายถึงปานกลาง ระดับคะแนน 3 หมายถึงมาก ระดับคะแนน 4 หมายถึงมากท่ีสุด

Page 10: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 3

ในการก าหนดเกณฑ์การแบ่งช่วงคะแนนเฉลี่ยเพ่ือการแปลผล เนื่องจากข้อมูลแต่ละชุด มีการกระจายตัวสูงมาก จึงใช้ต าแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ เป็นค่าที่แสดงต าแหน่งข้อมูลเพ่ือเทียบกับจ านวนข้อมูลทั้งหมด เป็นเกณฑ์จัดระดับคะแนน

โรงงานที่มีความเสี่ยงสูง 12 ประเภท

โรงงานประเภทที่มีความเสี่ยงสูง 12 ประเภท ของกระทรวงอุตสาหกรรม มีจ านวนทั้งหมด 4,944 แห่ง ใน 77 จังหวัด ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

ตารางที่ 1 ประเภทของโรงงานที่มีความเสี่ยงสูง 12 ประเภท รายการที่ ล าดับที ่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีท้ายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)

ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 1 7 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ ามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันสตัว์ เฉพาะที่ใช้สารตัวท าละลาย

ในการสกัด (1) การสกดัน้ ามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว ์(2) การท าน้ ามันจากพืช หรือสัตว ์หรือไขมันจากสัตว์ให้บริสุทธ์ิ

2 42 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์ สารเคมี หรือวัสดเุคมี ซึ่งมิใช่ปุ๋ยอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี ้(1) การท าเคมีภณัฑ์ สารเคมี หรือวัสดุเคมี (2)การเก็บรักษา ล าเลียง แยก คัดเลือก หรือแบ่งบรรจุเฉพาะเคมภีณัฑ์อันตราย

3 43 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับปุย๋ หรือสารป้องกันก าจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ ยกเว้นการผลิตปุย๋อินทรีย์ และการผลิตปุ๋ยเคมีทีไ่ม่มกีารใช้แอมโมเนียไนเตรท (Ammonium Nitrate) หรือโปแตสเซียมคลอเรต (Potassium Chlorate) (1) การท าปุ๋ย หรือสารป้องกันหรอืก าจัดศัตรูพืชหรือสัตว ์(2)การเก็บรักษาหรือแบ่งบรรจปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือก าจัดศตัรูพชืหรือสัตว์

4 44 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติก หรือเส้นใยสังเคราะห์ซึงมิใช่ใยแกว

5 45 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสี (Paints) น้ ามันชักเงาเชลแล็ก แลก็เกอร์ หรือผลิตภัณฑ์ส าหรับใช้ยาหรืออุดอย่างใดอย่างหน่ึง หรอืหลายอย่าง ดังต่อไปนี ้(1)การท าสสี าหรับใช้ทา พ่น หรือเคลือบ (2)การท าน้ ามันชักเงา น้ ามันผสมสี หรือน้ ายาล้างส ี(3) การท าเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรอืผลิตภัณฑ์ส าหรับใช้น้ ายาหรืออุด

6 48 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภณัฑส์ารเคมี อย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ (4)การท าไม้ขีดไฟ วัตถุระเบิด หรอืดอกไม้เพลิง (6)การท าหมึกหรือคาร์บอนด า

7 49 โรงกลั่นน้ ามันปิโตรเลียม 8 50 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภณัฑ์จากปิโตรเลียม ถ่านหิน หรือลิกไนต์ อย่างใดอย่างหน่ึง

หรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี ้ (4) การผสมผลติภณัฑ์จากปโิตรเลยีมเข้าด้วยกัน หรือการผสมผลิตภณัฑ์จากปโิตรเลียมกับวัสดุอื่น 9 89 โรงงานผลติก๊าซ ซึ่งมิใช่ก๊าซธรรมชาติ ส่ง หรือจ าหน่ายก๊าซ 10 91 โรงงานบรรจสุินค้าในภาชนะ โดยไม่มีการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่งหรอืหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ (2)การบรรจุก๊าซ

Page 11: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 4

รายการที่ ล าดับที ่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีท้ายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

11 92 โรงงานห้องเย็น เฉพาะที่ใช้แอมโมเนียเป็นสารท าความเย็น 12 99 โรงงานผลติ ซ่อมแซม ดัดแปลง เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด หรือสิ่งอื่นใดท่ีมีอ านาจในการ

ประหาร ท าลายหรือท าให้หมดสมรรถภาพในท านองเดียวกับอาวุธปนื เครื่องกระสุน ปืนหรือวัตถุระเบดิ และรวมถึงสิ่งประกอบของสิ่งดังกล่าว

ตารางที่ 2 เกณฑ์ระดับคะแนนในการพิจารณาระดับคะแนนจากจ านวนโรงงานที่มีความเสี่ยงสูง

จ านวนโรงงาน (แห่ง) ระดับคะแนน 1-17 1 18-32 2 33-89 3 ≥90 4

ตารางที่ 3 จ านวนและคะแนนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยงสูง 12 ประเภท ทั้ง 77 จังหวัด

ล าดับ จังหวัด จ านวนโรงงาน (แห่ง) คะแนน 1 สมุทรปราการ 449 4 2 สมุทรสาคร 296 4 3 นครปฐม 288 4 4 ระยอง 259 4 5 ปทุมธาน ี 239 4 6 กรุงเทพมหานคร 211 4 7 ชลบุร ี 183 4 8 กาญจนบุร ี 138 4 9 นครราชสมีา 132 4 10 สุราษฎร์ธาน ี 119 4 11 เชียงใหม ่ 114 4 12 ราชบุร ี 111 4 13 สระบรุ ี 108 4 14 ฉะเชิงเทรา 103 4 15 พระนครศรีอยุธยา 102 4 16 สงขลา 97 4 17 ประจวบครีีขันธ ์ 96 4 18 นนทบุรี 92 4 19 สุพรรณบุร ี 90 4 20 ขอนแก่น 88 3 21 อุบลราชธาน ี 82 3 22 เพชรบูรณ ์ 65 3 23 ชุมพร 65 3 24 กระบี ่ 65 3

Page 12: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 5

ล าดับ จังหวัด จ านวนโรงงาน (แห่ง) คะแนน 25 ปราจีนบุร ี 58 3 26 ตราด 58 3 27 นครสวรรค ์ 58 3 28 ลพบุร ี 56 3 29 นครนายก 49 3 30 นครศรีธรรมราช 49 3 31 จันทบุร ี 44 3 32 เชียงราย 43 3 33 อุดรธาน ี 43 3 34 สระแก้ว 41 3 35 ก าแพงเพชร 41 3 36 พิจิตร 38 3 37 กาฬสินธุ ์ 38 3 38 บุรีรัมย ์ 35 3 39 พิษณุโลก 31 2 40 ล าพูน 30 2 41 ตรัง 30 2 42 ชัยภูม ิ 29 2 43 สุรินทร ์ 29 2 44 ล าปาง 28 2 45 เลย 28 2 46 เพชรบุร ี 26 2 47 ตาก 24 2 48 พังงา 24 2 49 ปัตตาน ี 23 2 50 สมุทรสงคราม 22 2 51 ร้อยเอ็ด 22 2 52 ศรีสะเกษ 22 2 53 สกลนคร 21 2 54 อุตรดิตถ ์ 19 2 55 สุโขทัย 19 2 56 สตูล 19 2 57 อ านาจเจรญิ 18 2 58 สิงห์บุร ี 17 1 59 ระนอง 16 1 60 อ่างทอง 14 1 61 มหาสารคาม 13 1 62 นครพนม 13 1 63 มุกดาหาร 13 1 64 นราธิวาส 13 1 65 ชัยนาท 12 1

Page 13: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 6

ล าดับ จังหวัด จ านวนโรงงาน (แห่ง) คะแนน 66 น่าน 12 1 67 พะเยา 12 1 68 แพร่ 12 1 69 ยโสธร 12 1 70 ยะลา 12 1 71 บึงกาฬ 11 1 72 พัทลุง 11 1 73 อุทัยธาน ี 10 1 74 หนองคาย 10 1 75 ภูเก็ต 10 1 76 หนองบัวล าภ ู 9 1 77 แม่ฮ่องสอน 5 1

ที่มา : รายชื่อโรงงานที่ได้รับอนุญาตใหป้ระกอบกิจการ ณ เดือนเมษายน 2558 ซ่ึงไม่รวมโรงงานเลิกประกอบกิจการ, กรมโรงงานอุตสาหกรรม

สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ

จากข้อมูลการกระจายตัวของสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายของประเทศที่รวบรวมโดยส านักควบคุมวัตถุอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งได้ด าเนินการรวบรวมและจัดท าขอมูลรายชื่อสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายของผู้ประกอบการที่ด าเนินการขออนุญาตน าเข้า-ส่งออก ผลิต และมีไว้ในครอบครอง พบว่ามีสถานประกอบการที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุรวมทั้งหมด 4,510 แห่ง ใน 71 จังหวัด โดยมีรายละเอียด และเกณฑ์ในการจัดอันดับคะแนน ดังนี้

ตารางที่ 4 เกณฑ์ระดับคะแนนพิจารณาจากผลรวมของสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ

จ านวนสถานทีเ่ก็บรักษา (แห่ง) ระดับคะแนน 1-2 1 3-10 2 11-49 3 ≥50 4

ตารางที่ 5 จ านวนและคะแนนของสถานที่จัดเก็บวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ

ล าดับ จังหวัด สถานที่เก็บวัตถุอันตราย

สถานที่เก็บของเสียเคมีวัตถุ

จ านวนรวม )แห่ง(

คะแนน

1 สมุทรสาคร 99 799 898 4

2 สมุทรปราการ 416 28 444 4

3 กรุงเทพมหานคร 421 1 422 4

Page 14: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 7

ล าดับ จังหวัด สถานที่เก็บวัตถุอันตราย

สถานที่เก็บของเสียเคมีวัตถุ

จ านวนรวม )แห่ง(

คะแนน

4 ชลบุร ี 207 139 346 4

5 ระยอง 248 42 290 4

6 ปทุมธาน ี 139 100 239 4

7 ขอนแก่น 6 228 234 4

8 สระบรุ ี 35 164 199 4

9 พระนครศรีอยุธยา 113 51 164 4

10 สงขลา 51 56 107 4

11 นครราชสมีา 22 77 99 4

12 ฉะเชิงเทรา 90 2 92 4

13 นครศรีธรรมราช 3 89 92 4

14 เชียงใหม ่ 16 71 87 4

15 เชียงราย 0 65 65 4

16 นครปฐม 55 8 63 4

17 ราชบุร ี 13 40 53 4

18 นนทบุรี 47 3 50 4

19 ล าพูน 34 15 49 3

20 สุโขทัย 0 45 45 3 21 สุพรรณบุร ี 1 41 42 3 22 ปราจีนบุร ี 28 8 36 3 23 ล าปาง 1 35 36 3 24 อุดรธาน ี 1 29 30 3 25 สุราษฎร์ธาน ี 4 20 24 3 26 ยโสธร 0 20 20 3 27 สุรินทร ์ 0 20 20 3 28 กาฬสินธุ ์ 0 18 18 3

29 เพชรบุร ี 12 4 16 3 30 เลย 2 11 13 3 31 ประจวบครีีขันธ ์ 1 12 13 3 32 นครสวรรค ์ 3 9 12 3 33 พิษณุโลก 4 8 12 3 34 อ่างทอง 1 11 12 3 35 พิจิตร 3 8 11 3 36 เพชรบูรณ ์ 0 11 11 3 37 อุบลราชธาน ี 0 11 11 3 38 มหาสารคาม 1 9 10 2 39 ชัยนาท 1 7 8 2

Page 15: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 8

ล าดับ จังหวัด สถานที่เก็บวัตถุอันตราย

สถานที่เก็บของเสียเคมีวัตถุ

จ านวนรวม )แห่ง(

คะแนน

40 หนองคาย 2 6 8 2 41 มุกดาหาร 0 8 8 2 42 กาญจนบุร ี 4 3 7 2 43 ลพบุร ี 3 4 7 2 44 ชัยภูม ิ 0 7 7 2 45 ร้อยเอ็ด 0 7 7 2 46 กระบี ่ 1 5 6 2 47 ตาก 2 4 6 2 48 พัทลุง 0 6 6 2 49 สกลนคร 0 6 6 2 50 พะเยา 0 5 5 2 51 บุรีรัมย ์ 0 4 4 2 52 ศีรสะเกษ 0 4 4 2 53 นครนายก 1 2 3 2 54 ยะลา 3 0 3 2 55 ชุมพร 0 3 3 2 56 สระแก้ว 0 3 3 2 57 แพร่ 1 1 2 1 58 ตรัง 2 0 2 1 59 นราธิวาส 2 0 2 1 60 ภูเก็ต 1 1 2 1 61 สตูล 1 1 2 1 62 ตราด 0 2 2 1 63 พังงา 0 2 2 1 64 ระนอง 0 2 2 1 65 อุตรดิตถ ์ 0 2 2 1 66 สมุทรสงคราม 1 0 1 1 67 จันทบุร ี 0 1 1 1 68 นครพนม 0 1 1 1 69 บึงกาฬ 0 1 1 1 70 หนองบัวล าภ ู 0 1 1 1 71 อ านาจเจรญิ 0 1 1 1

สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย จ านวนทั้งหมด 2,102 แห่ง ใน 47 จังหวัดสถานที่เก็บรักษาของเสียเคมีวัตถุ จ านวนทั้งหมด 2,408 แห่ง ใน 69 จังหวัดข้อมูล ณ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557

Page 16: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 9

สถิติเรื่องการร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีและวัตถุอันตราย

จากข้อมูลเรื่องร้องเรียนจ าแนกรายจังหวัด ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ที่มีปัญหาสาเหตุจากการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายได้แก่ ปัญหาร้องเรียนเรื่องกลิ่นเหม็นสารเคมี ปัญหาร้องเรียนเรื่องไอสารเคมี ปัญหาร้องเรียนกากของเสียสารเคมี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 ถึง วันที่ 30 เมษายน 2558 มีจ านวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 2,129 เรื่อง ใน 65 จังหวัด เกณฑ์ในการแบ่งระดับคะแนน และมีรายละเอียดรายจังหวัด ดังนี้

ตาราง 6 เกณฑ์การแบ่งระดับคะแนนเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีและวัตถุอันตราย

จ านวนเรื่องร้องเรียน (เรื่อง) ระดับคะแนน 1-2 1 3-7 2 8-22 3 ≥23 4

ตารางที่ 7 จ านวนและระดับคะแนนเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีและวัตถุอันตรายรายจังหวัด

ล าดับ พื้นที่จังหวัด จ านวนเรื่องร้องเรียน (เรื่อง) คะแนน กลิ่น ไอสารเคม ี กากของเสีย รวม

1 กรุงเทพมหานคร 428 171 42 641 4 2 สมุทรปราการ 132 66 19 217 4 3 สมุทรสาคร 90 22 9 121 4 4 ชลบุร ี 62 27 17 106 4 5 นนทบุรี 67 28 9 104 4 6 ปทุมธาน ี 57 22 13 92 4 7 ระยอง 48 20 17 85 4 8 นครปฐม 65 9 4 78 4 9 ฉะเชิงเทรา 31 16 12 59 4 10 ราชบุร ี 40 9 7 56 4 11 สงขลา 19 17 4 40 4 12 นครราชสมีา 26 5 4 35 4 13 เชียงใหม ่ 18 9 4 31 4 14 พระนครศรีอยุธยา 20 5 6 31 4 15 ปราจีนบุร ี 21 5 3 29 4 16 สระบรุ ี 12 7 4 23 4 17 อุดรธาน ี 18 1 4 23 4 18 สุพรรณบุร ี 15 5 2 22 3 19 สุราษฎร์ธาน ี 17 4 1 22 3 20 นครศรีธรรมราช 14 3 2 19 3

Page 17: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 10

ล าดับ พื้นที่จังหวัด จ านวนเรื่องร้องเรียน (เรื่อง) คะแนน กลิ่น ไอสารเคม ี กากของเสีย รวม

21 ภูเก็ต 2 16 0 18 3 22 พังงา 11 1 5 17 3 23 ขอนแก่น 10 3 3 16 3 24 อ่างทอง 11 2 1 14 3 25 บุรีรัมย ์ 10 1 3 14 3 26 กาญจนบุร ี 10 1 1 12 3 27 ลพบุร ี 9 2 1 12 3 28 แพร่ 5 3 4 12 3 29 นครสวรรค ์ 7 3 1 11 3 30 ชุมพร 10 1 0 11 3 31 ตรัง 8 3 0 11 3 32 หนองคาย 6 3 1 10 3 33 ประจวบครีีขันธ ์ 6 2 0 8 3 34 กระบี ่ 5 2 1 8 3 35 ก าแพงเพชร 6 0 1 7 2 36 ศรีสะเกษ 5 1 1 7 2 37 ล าพูน 4 2 1 7 2 38 น่าน 6 1 0 7 2 39 เชียงราย 5 1 1 7 2 40 พิษณุโลก 4 3 0 7 2 41 สุรินทร ์ 2 2 2 6 2 42 สระแก้ว 4 0 1 5 2 43 อุบลราชธาน ี 5 0 0 5 2 44 ยะลา 2 1 2 5 2 45 ชัยภูม ิ 3 1 0 4 2 46 เพชรบุร ี 4 0 0 4 2 47 ระนอง 3 1 0 4 2 48 หนองบัวล าภ ู 0 0 3 3 2 49 มหาสารคาม 3 0 0 3 2 50 อุตรดิตถ ์ 3 0 0 3 2 51 พะเยา 2 0 1 3 2 52 กาฬสินธุ ์ 2 0 1 3 2 53 มุกดาหาร 2 1 0 3 2 54 สมุทรสงคราม 3 0 0 3 2 55 พัทลุง 2 1 0 3 2 56 ปัตตาน ี 2 1 0 3 2 57 นครนายก 2 0 0 2 1 58 เลย 2 0 0 2 1 59 ร้อยเอ็ด 1 1 0 2 1 60 สกลนคร 2 0 0 2 1

Page 18: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 11

ล าดับ พื้นที่จังหวัด จ านวนเรื่องร้องเรียน (เรื่อง) คะแนน กลิ่น ไอสารเคม ี กากของเสีย รวม

61 นครพนม 2 0 0 2 1 62 ล าปาง 1 0 1 2 1 63 พิจิตร 1 1 0 2 1 64 ชัยนาท 1 0 0 1 1 65 ตราด 1 0 0 1 1 66 สุโขทัย 1 0 0 1 1 67 สตูล 0 1 0 1 1 68 นราธิวาส 1 0 0 1 1

ที่มา:ส านักควบคุมวัตถุอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม

สถิติการเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีและวัตถุอันตราย

จากสถิติการเกิดอุบัติ เหตุจากสารเคมีและวัตถุ อันตราย ในรอบ 3 ปีที่ ผ่ านมา ข้อมูลตั้ งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2555 ถึง วันที่ 30 เมษายน 2558 พบว่ามีสถิติการเกิดอุบัติเหตุรวมทั้งหมด 221 ครั้ง ใน 51 จังหวัด เกณฑ์ในการแบ่งระดับคะแนน และมีรายละเอียดรายจังหวัด ดังนี้

ตาราง 8 เกณฑ์การแบ่งระดับคะแนนการเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีและวัตถุอันตราย

จ านวนเรื่องร้องเรียน (เรื่อง) ระดับคะแนน 1-2 1 3-4 2 5-10 3 ≥11 4

ตารางที่ 9 จ านวนและระดับคะแนนการเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีและวัตถุอันตรายรายจังหวัด

ล าดับ พื้นที่จังหวัด ประเภทกิจกรรม (ครั้ง) คะแนน ภายใน

อาคารหรือสถานท่ีเก็บ

รักษา

การขนส่ง อื่นๆ รวม (ครั้ง)

1 กรุงเทพฯ 18 8 7 33 4 2 ระยอง 9 2 7 18 4 3 ปทุมธาน ี 10 3 4 17 4 4 สมุทรปราการ 6 3 6 15 4 5 พระนครศรีอยุธยา 4 2 6 12 4 6 ชลบุร ี 2 4 4 10 3 7 ฉะเชิงเทรา 3 0 6 9 3 8 สงขลา 2 4 1 7 3

Page 19: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 12

ล าดับ พื้นที่จังหวัด ประเภทกิจกรรม (ครั้ง) คะแนน ภายใน

อาคารหรือสถานท่ีเก็บ

รักษา

การขนส่ง อื่นๆ รวม (ครั้ง)

9 เชียงใหม ่ 4 0 2 6 3 10 สมุทรสาคร 3 1 2 6 3 11 พิษณุโลก 1 2 2 5 3 12 อุดรธาน ี 2 2 1 5 3 13 สุพรรณบุร ี 2 0 2 4 2 14 อ่างทอง 2 0 2 4 2 15 นครราชสมีา 4 0 0 4 2 16 ล าพูน 2 0 1 3 2 17 สุรินทร ์ 0 0 3 3 2 18 ปราจีนบุร ี 0 0 3 3 2 19 กาญจนบุร ี 0 0 3 3 2 20 ภูเก็ต 0 0 3 3 2 21 จันทบุร ี 3 0 0 3 2 22 ราชบุร ี 3 0 0 3 2 23 ตรัง 3 0 0 3 2 24 ล าปาง 0 3 0 3 2 25 ตาก 1 0 1 2 1 26 ขอนแก่น 1 0 1 2 1 27 ลพบุร ี 1 0 1 2 1 28 สุราษฎร์ธาน ี 0 1 1 2 1 29 อุตรดิตถ ์ 1 1 0 2 1 30 เชียงราย 1 1 0 2 1 31 สระบรุ ี 1 1 0 2 1 32 สกลนคร 0 1 1 2 1 33 สระแก้ว 0 2 0 2 1 34 นครปฐม 0 2 0 2 1 35 บุรีรัมย ์ 0 0 2 2 1 36 นครสวรรค ์ 2 0 0 2 1 37 ยโสธร 0 0 1 1 1 38 ศรีสะเกษ 0 0 1 1 1 39 อ านาจเจรญิ 0 0 1 1 1 40 น่าน 0 0 1 1 1 41 แพร่ 0 0 1 1 1 42 นครพนม 0 1 0 1 1 43 ประจวบครีีขันธ ์ 0 1 0 1 1 44 ชุมพร 0 1 0 1 1 45 ยะลา 0 1 0 1 1

Page 20: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 13

ล าดับ พื้นที่จังหวัด ประเภทกิจกรรม (ครั้ง) คะแนน ภายใน

อาคารหรือสถานท่ีเก็บ

รักษา

การขนส่ง อื่นๆ รวม (ครั้ง)

46 นราธิวาส 0 1 0 1 1 47 กระบี ่ 0 1 0 1 1 48 ระนอง 0 1 0 1 1 49 อุบลราชธาน ี 0 1 0 1 1 50 พิจิตร 0 1 0 1 1 51 ชัยนาท 1 0 0 1 1

Page 21: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 14

บทที่ 3

สรุปผลการวิเคราะหแ์ละข้อเสนอแนะ

3.1 สรุปผลการวิเคราะห์คะแนนความเสี่ยงในแต่ละด้าน

จากการรวบรวมข้อมูลข้างต้น เพ่ือน าข้อมูลที่ได้มาพิจารณาความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัยสารเคมี โดยมี

คะแนนรวม 16 คะแนน ประกอบด้วยข้อมูลและเกณฑ์ต่างๆได้แก่

- ข้อมูลจ านวนสถานประกอบการหรือโรงงานความเสี่ยงสูง 12 ประเภท (แห่ง)คะแนนเต็ม 4

คะแนน

- ข้อมูลจ านวนสถานที่จัดเก็บวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุคะแนนเต็ม 4 คะแนน

- ข้อมูลจ านวนข้อร้องเรียนจากสารเคมีและวัตถุอันตราย คะแนนเต็ม 4 คะแนน

- ข้อมูลจ านวนสถิติการเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมีและวัตถุอันตราย คะแนนเต็ม 4 คะแนน

โดยใช้เกณฑ์การแบ่งดังนี้ ตารางที่ 10 เกณฑ์การแบ่งพ้ืนที่ความเสี่ยง

คะแนนความเสี่ยงรวม ระดับความเสี่ยง 1-5 น้อย 6-9 ปานกลาง ≥10 มาก

ตารางที่ 11 ผลการวิเคราะห์พ้ืนที่เสี่ยงคะแนนความเสี่ยงทั้ง 77 จังหวัด

ล าดับ จังหวัด คะแนน

ความเส่ียง

รวม

จ านวนโรงงาน 12

ประเภท

สถานที่จัดเก็บวัตถุ

อันตรายและสารเคมี

สถิติร้องเรียน สถิติการเกิดอุบัติภยั

คะแนน จ านวน

(แห่ง)

คะแนน จ านวน

(แห่ง)

คะแนน จ านวน

(เรื่อง)

คะแนน จ านวน

(ครั้ง)

1 กรุงเทพฯ 16 4 211 4 422 4 641 4 33 2 สมุทรปราการ 16 4 449 4 444 4 217 4 15 3 ระยอง 16 4 259 4 290 4 85 4 18 4 ปทุมธาน ี 16 4 239 4 239 4 92 4 17 5 พระนครศรีอยุธยา 16 4 102 4 164 4 31 4 12

Page 22: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 15

ล าดับ จังหวัด คะแนน

ความเส่ียง

รวม

จ านวนโรงงาน 12

ประเภท

สถานที่จัดเก็บวัตถุ

อันตรายและสารเคมี

สถิติร้องเรียน สถิติการเกิดอุบัติภยั

คะแนน จ านวน

(แห่ง)

คะแนน จ านวน

(แห่ง)

คะแนน จ านวน

(เรื่อง)

คะแนน จ านวน

(ครั้ง)

6 สมุทรสาคร 15 4 296 4 898 4 121 3 6 7 ชลบุร ี 15 4 183 4 346 4 106 3 10 8 ฉะเชิงเทรา 15 4 103 4 92 4 59 3 9 9 สงขลา 15 4 97 4 107 4 40 3 7 10 เชียงใหม ่ 15 4 114 4 87 4 31 3 6 11 นครราชสมีา 14 4 132 4 99 4 35 2 4 12 ราชบุร ี 14 4 111 4 53 4 56 2 3 13 นครปฐม 13 4 288 4 63 4 78 1 2 14 สระบรุ ี 13 4 108 4 199 4 23 1 2 15 อุดรธาน ี 13 3 43 3 30 4 23 3 5 16 นนทบุรี 12 4 92 4 50 4 104 0 0 17 สุพรรณบุร ี 12 4 90 3 42 3 22 2 4 18 ปราจีนบุร ี 12 3 59 3 36 4 29 2 3 19 ขอนแก่น 11 3 88 4 234 3 16 1 2 20 สุราษฎร์ธาน ี 11 4 119 3 24 3 22 1 2 21 กาญจนบุร ี 11 4 138 2 7 3 12 2 3 23 นครศรีธรรมราช 10 3 49 4 92 3 19 0 0 24 เชียงราย 10 3 43 4 65 2 7 1 2 25 นครสวรรค ์ 10 3 58 3 12 3 11 1 2 26 พิษณุโลก 10 2 31 3 12 2 7 3 5 27 อุบลราชธาน ี 9 3 82 3 11 2 5 1 1 28 ล าพูน 9 2 30 3 49 2 7 2 3 29 กระบี ่ 9 3 65 2 6 3 8 1 1 30 ลพบุร ี 9 3 56 2 7 3 12 1 2 31 สุรินทร ์ 9 2 29 3 20 2 6 2 3 32 บุรีรัมย ์ 9 3 35 2 4 3 14 1 2 33 อ่างทอง 9 1 14 3 12 3 14 2 4 34 ล าปาง 8 2 28 3 36 1 2 2 3 35 กาฬสินธุ ์ 8 3 38 3 18 2 3 0 0 36 พิจิตร 8 3 38 3 11 1 2 1 1 37 สระแก้ว 8 3 41 2 3 2 5 1 2 38 ตรัง 8 2 30 1 2 3 11 2 3 39 ชุมพร 7 3 65 2 3 1 1 1 1 40 เพชรบุร ี 7 2 26 3 16 2 4 0 0 41 ศรีสะเกษ 7 2 22 2 4 2 7 1 1 42 ภูเก็ต 7 1 10 1 2 3 18 2 3

Page 23: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 16

ล าดับ จังหวัด คะแนน

ความเส่ียง

รวม

จ านวนโรงงาน 12

ประเภท

สถานที่จัดเก็บวัตถุ

อันตรายและสารเคมี

สถิติร้องเรียน สถิติการเกิดอุบัติภยั

คะแนน จ านวน

(แห่ง)

คะแนน จ านวน

(แห่ง)

คะแนน จ านวน

(เรื่อง)

คะแนน จ านวน

(ครั้ง)

43 เพชรบูรณ ์ 6 3 65 3 11 0 0 0 0 44 สุโขทัย 6 2 19 3 45 1 1 0 0 45 นครนายก 6 3 49 2 3 1 2 0 0 46 จันทบุร ี 6 3 44 1 1 0 0 2 3 47 เลย 6 2 28 3 13 1 2 0 0 48 พังงา 6 2 24 1 2 3 17 0 0 49 ชัยภูม ิ 6 2 29 2 7 2 4 0 0 50 สกลนคร 6 2 21 2 6 1 2 1 2 51 หนองคาย 6 1 10 2 8 3 10 0 0 52 แพร่ 6 1 12 1 2 3 12 1 1 53 อุตรดิตถ ์ 6 2 19 1 2 2 3 1 2 54 ยะลา 6 1 12 2 3 2 5 1 1 55 ตราด 5 3 58 1 2 1 1 0 0 56 ก าแพงเพชร 5 3 41 0 0 2 7 0 0 57 ยโสธร 5 1 12 3 20 0 0 1 1 58 ตาก 5 2 24 2 6 0 0 1 2 59 ร้อยเอ็ด 5 2 22 2 7 1 2 0 0 60 สมุทรสงคราม 5 2 22 1 1 2 3 0 0 61 มหาสารคาม 5 1 13 2 10 2 3 0 0 62 มุกดาหาร 5 1 13 2 8 2 3 0 0 63 ระนอง 5 1 16 1 2 2 4 1 1 64 ชัยนาท 5 1 12 2 8 1 1 1 1 65 พัทลุง 5 1 11 2 6 2 3 0 0 66 พะเยา 5 1 12 2 5 2 3 0 0 67 ปัตตาน ี 4 2 23 0 0 2 3 0 0 68 สตูล 4 2 19 1 2 1 1 0 0 69 อ านาจเจรญิ 4 2 18 1 1 0 0 1 1 70 น่าน 4 1 12 0 0 2 7 1 1 71 นครพนม 4 1 13 1 1 1 2 1 1 72 นราธิวาส 4 1 13 1 2 1 1 1 1 73 หนองบัวล าภ ู 4 1 9 1 1 2 3 0 0 74 บึงกาฬ 2 1 11 1 1 0 0 0 0 75 สิงห์บุร ี 1 1 17 0 0 0 0 0 0 76 อุทัยธาน ี 1 1 10 0 0 0 0 0 0 77 แม่ฮ่องสอน 1 1 5 0 0 0 0 0 0

Page 24: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 17

3.2 สรุปผลการวิเคราะห์และข้อเสนอแนะ

จังหวัดที่มคีวามเสี่ยงต่ออุบัติภัยสารเคมี จ าแนกออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่

กลุ่มสีแดง คือ จังหวัดที่มีความเสี่ยงอุบัติภัยสารเคมีสูงมีคะแนนความเสี่ยงมากกว่า 10 คะแนนมีจ านวน 26 จังหวัด

กลุ่มสีเหลือง คือ จังหวัดที่มีความเสี่ยงอุบัติภัยสารเคมีปานกลางมีคะแนนระหว่าง 6 ถึง 9 คะแนนมีจ านวน 28 จังหวัด

กลุ่มสีเขียว คือ จังหวัดที่มีความเสี่ยงอุบัติภัยน้อยมีคะแนนระหว่าง 1 ถึง 5 คะแนน มีจ านวน 23 จังหวัด

ตารางที่ 12 สรุปผลการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงสารเคมีและข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน ระดับความ

เสี่ยง จังหวัด พื้นที่สคร. ข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน

สูง กรุงเทพมหานคร 13 - เป็นพื้นที่ท่ีมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติภัยสารเคมี ดังนั้น ควรที่จะท าการวิเคราะห์พื้นท่ีเสี่ยงซ้ าในแตล่ะจังหวัด โดยค้นหาข้อมูลเพิ่มเตมิมาพิจารณาความเสี่ยง และพัฒนาฐานข้อมูลในพ้ืนท่ี

- ควรประสานกับทางสสจ.เพื่อวางระบบการประสานงานและเตรียมการรองรับอุบัติภยัสารเคมี ควรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าของสคร.ให้มีความรูเ้รื่องสารเคมี และการเตรียมความพร้อมและตอบโต้อุบัติภัยสารเคม ี

สูง สมุทรปราการ 6 สูง ระยอง 6 สูง ปทุมธาน ี 4 สูง พระนครศรีอยุธยา 4 สูง สมุทรสาคร 5 สูง ชลบุร ี 6 สูง ฉะเชิงเทรา 6 สูง สงขลา 12 สูง เชียงใหม ่ 1 สูง นครราชสมีา 9 สูง ราชบุร ี 5 สูง นครปฐม 5 สูง สระบรุ ี 4 สูง อุดรธาน ี 8 สูง นนทบุรี 4 สูง สุพรรณบุร ี 5 สูง ปราจีนบุร ี 6 สูง ขอนแก่น 7 สูง สุราษฎร์ธาน ี 11 สูง กาญจนบุร ี 5 สูง ประจวบครีีขันธ์ 5 สูง นครศรีธรรมราช 11 สูง เชียงราย 1 สูง นครสวรรค ์ 3 สูง พิษณุโลก 2

Page 25: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 18

ระดับความเสี่ยง

จังหวัด พื้นที่สคร. ข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน

ปานกลาง อุบลราชธาน ี 10 - ควรประสานกับทาง สสจ.เพื่อวาง

ระบบการประสานงานและเตรียมการรองรับอุบัติภยัสารเคม ี

- ควรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าของ สคร.ให้มีความรูเ้รื่องสารเคมีและการเตรียมความพร้อมและตอบโต้อุบัติภัยสารเคม ี

- ถึงแม้ว่าจะเป็นพ้ืนท่ีที่มีความเสี่ยงต่อการอุบัติภัยน้อย แต่ควรจะมีการเตรียมการ โดยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลในพ้ืนท่ี และท าการเฝ้าระวังเหตุการณ์อุบัติภัย

ปานกลาง ล าพูน 1 ปานกลาง กระบี ่ 11 ปานกลาง ลพบุร ี 4 ปานกลาง สุรินทร ์ 9 ปานกลาง บุรีรัมย ์ 9 ปานกลาง อ่างทอง 4 ปานกลาง ล าปาง 1 ปานกลาง กาฬสินธุ ์ 7 ปานกลาง พิจิตร 3 ปานกลาง สระแก้ว 6 ปานกลาง ตรัง 12 ปานกลาง ชุมพร 11 ปานกลาง เพชรบุร ี 5 ปานกลาง ศรีสะเกษ 10 ปานกลาง ภูเก็ต 11

ปานกลาง เพชรบูรณ ์ 2 ปานกลาง สุโขทัย 2 ปานกลาง นครนายก 4

ปานกลาง จันทบุร ี 6 ปานกลาง เลย 8 ปานกลาง พังงา 11 ปานกลาง ชัยภูม ิ 9 ปานกลาง สกลนคร 8 ปานกลาง หนองคาย 8 ปานกลาง แพร่ 1 ปานกลาง อุตรดิตถ ์ 2 ปานกลาง ยะลา

12

น้อย ตราด 6 - ถึงแม้ว่าจะเป็นพ้ืนท่ีที่มีความเสี่ยงต่อ

การอุบัติภัยน้อย แต่ควรจะมีการเตรียมการ โดยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลในพ้ืนท่ี และท าการเฝ้าระวังเหตุการณ์อุบัติภัย

น้อย ก าแพงเพชร 3 น้อย ยโสธร 10 น้อย ตาก 2 น้อย ร้อยเอ็ด 7 น้อย สมุทรสงคราม 5 น้อย มหาสารคาม 7 น้อย มุกดาหาร 10 น้อย ระนอง 11 น้อย ชัยนาท 3 น้อย พัทลุง 12

Page 26: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 19

ระดับความเสี่ยง

จังหวัด พื้นที่สคร. ข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน

น้อย พะเยา 1

น้อย ปัตตาน ี 12 น้อย สตูล 12

น้อย อ านาจเจรญิ 10 น้อย น่าน 1 น้อย นครพนม 8

น้อย นราธิวาส 12 น้อย หนองบัวล าภ ู 8

น้อย บึงกาฬ 8 น้อย สิงห์บุร ี 4

น้อย อุทัยธาน ี 3 น้อย แม่ฮ่องสอน 1

Page 27: การวิเคราะห์ความเสี่ยง อุบัติภัยทางสารเคมีenvocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/EditedChemicalRiskAssessment... ·

การวิเคราะห์ความเสี่ยงอุบัติภัยทางสารเคมี หน้า 20

บรรณานุกรม

1. สถิติอุบัติภัยวัตถุเคมีฐานความรู้เรื่องความปลอดภัยด้านสารเคมี. ค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2558. จากแหล่งสืบค้น URL; http://www.chemtrack.org/Stat-Accident-Number.asp

2. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. สถิติจ านวนโรงงาน. ค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2558.จากแหล่งสืบค้นURL;http://www.diw.go.th/hawk/content.php?mode=spss58

3. ส านักควบคุมวัตถุอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม. สถิติข้อร้องเรียนการจัดการสารเคมี. 10 มิถุนายน 2558

4. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. สถานที่จัดเก็บวัตถุอันตรายและของเสียเคมีวัตถุ. 23 มิถุนายน 2558