16
ผลงานประกอบการพิจารณาประเมินบุคคล เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษ (ดานการพยาบาลทั่วไป) เรื่องที่เสนอใหประเมิน 1. ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา เรื่อง โครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส 2. ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภามากขึ้น เรื่อง โครงการฝกอบรมการชวยชีวิตขั้นพื้นฐานอาสาสมัครสาธารณสุข เสนอโดย นางชณุภา จึงเจริญนรสุข ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการ (ดานการพยาบาล) (ตําแหนงเลขทีศบส. (63)6) หัวหนาพยาบาล กลุมงานการพยาบาลและการบริหารทั่วไป ศูนยบริการสาธารณสุข 63 สมาคมแตจิ๋วแหงประเทศไทย สํานักอนามัย

เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

ผลงานประกอบการพจิารณาประเมินบุคคล เพื่อแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ

ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษ (ดานการพยาบาลท่ัวไป)

เร่ืองที่เสนอใหประเมิน

1. ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานท่ีผานมา เร่ือง โครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส 2. ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพ่ือพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภามากข้ึน เร่ือง โครงการฝกอบรมการชวยชีวิตขั้นพ้ืนฐานอาสาสมัครสาธารณสุข

เสนอโดย

นางชณุภา จึงเจริญนรสุข

ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการ (ดานการพยาบาล)

(ตําแหนงเลขที่ ศบส. (63)6) หัวหนาพยาบาล

กลุมงานการพยาบาลและการบริหารทั่วไป

ศูนยบริการสาธารณสุข 63 สมาคมแตจ๋ิวแหงประเทศไทย สํานักอนามัย

Page 2: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

ผลงานท่ีเปนผลการดําเนินงานท่ีผานมา

1. ช่ือผลงาน โครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส 2. ชวงระยะเวลาท่ีดําเนินการ 12 เดือน (วันที่ 1 ตุลาคม 2552 – วันที่ 30 กันยายน 2553) 3. ความรูทางวิชาการ หรือแนวคิดท่ีใชในการดําเนินการ การดําเนินโครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส ไดทบทวนเอกสารและวรรณกรรมเก่ียวของ ดังตอไปน้ี 1)ความรูเรื่องโรคเอดส 1.1) ความหมาย เอช ไอ วี หรือเอดส คือโรคติดตอชนิดหน่ึงท่ีกอใหเกิดภูมิตานทานบกพรอง ภายใน 5 - 10 ปอาการจึงแสดงออกมา และเสียชีวิตในที่สุด แตถาผูไดรับการดูแลรักษาอยางถูกตอง จะสามารถยืดชีวิตออกไปไดนานขึ้น (สุรเกียรติ อาชานานุภาพ, 2553) 1.2) สาเหตุ โรคเอดสเกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหน่ึงเรียกวาเอช ไอ วี ไวรัสชนิดน้ีจะติดตอ ในคน ไมติดตอในสัตวอื่นๆ เปาหมายการทําลายของเช้ือเอช ไอ วี น้ีคือเม็ดเลือดขาวชนิดหน่ึง ซ่ึงทางการแพทยเรียกวา ซี ดี โฟ หรือที โฟ เซลลเม็ดเลือดขาวน้ีมีความสําคัญมากในการกระตุน และควบคุมภูมิคุมกันหรือภูมิตานทานของรางกาย ดังน้ันเม่ือเชื้อเอช ไอ วี เขาสูรางกายอยาง คอยเปนคอยไป ในท่ีสุดเกิดภาวะภูมิคุมกันเสียหรือบกพรองไป (นิกร ดุสิตสิน และคณะ,2553) 1.3) การติดตอ การแพรกระจายของเชื้อไวรัสแบงไดเปน 3 ทาง คือ(นิกร ดุสิตสินและคณะ,2553) 1)ติดตอทางเพศสัมพันธ พบวาเช้ือไวรัส เอช ไอ วี ติดตอดวยวิธีน้ีมากที่สุด 2)ติดตอทางกระแสเลือด แบงไดเปน 3 ทาง ไดแก 2.1) ติดเชื้อเอช ไอ วี โดยการถายเลือดหรือไดรับเลือด ผลิตภัณฑจากเลือดท่ีมีเชื้อเอช ไอ วี อยู รวมท้ังอุปกรณที่ใช หรือเขาทางบาดแผล 2.2) ติดเชื้อเอช ไอ วี จากการถายเปล่ียนอวัยวะตางๆ เชน ไต หัวใจ ไขกระดูก หรือ การผสมเทียมโดยไดรับอสุจิจากผูติดเชื้อเอช ไอ วี ซ่ึง ในปจจุบันไดมีการตรวจคัดกรองอยางดี ทําใหมีความเส่ียงนอยลงมาก 2.3) ติดเชื้อไวรัสโดยใช เข็มฉีดยารวมกันในกลุมผูติดยา โดยเฉพาะในกรณีที่ใชฉีดเขาเสนโลหิต การเจาะหูและการสัก ตามสวนตางๆ ของรางกาย 3)การติดตอจากแมไปสูทารก มารดาท่ีติดเชื้อเอช ไอ วี จะถายทอดเชื้อ เอช ไอ วี ไปสูทารกในระหวางตั้งครรภในระยะคลอด และในระยะที่เล้ียงดูหลังคลอด ทารกท่ีเกิดจากมารดาที่ ติดเช้ือเอช ไอ วี มีประมาณรอยละ 30 เทาน้ันที่ติดเชื้อไวรัสได ในปจจุบันมียาตานเชื้อ เอช ไอ วี ที่มีประสิทธิภาพ และไมเปนอันตรายตอทารกถาแมไดรับยาตานไวรัสจะลดอัตราเสี่ยง ในการติดเช้ือเอช ไอ วี เหลือเพียงรอยละ 3 เทาน้ัน 1.4)อาการและอาการแสดงอาการของการติด เชื้ อ เอช ไอ วี มี 3 ระยะที่ สํ า คัญ คือ (พรสิณี อมรวิเชษฐ และ ยุพา พูนขํา, 2551) ระยะที่ 1)เปนระยะที่ไมมีอาการอะไร แบงไดดังน้ี 1.1)ภายใน 2 - 3 อาทิตยแรกหลังจากไดรับเชื้อเอดสเขาไป ผูติดเชื้อจะมีอาการคลายๆ ไขหวัดเปนอยู 10 - 14 วัน ก็จะหายไปเอง 1.2)ภายใน 6 - 8 สัปดาหภายหลังติดเชื้อ ถาตรวจเลือด จะพบเชื้อเอช ไอ วี สวนใหญจะตรวจพบวามีเลือดเอดสบวกภายหลัง 3 เดือนไปแลว โดยท่ีผูติดเช้ือจะไมมีอาการอะไรเลย และสามารถแพรโรคใหกับคนอื่นได 1.3) คนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง เชน มีเพศสัมพันธ โดยไมไดใส ถุงยางอนามัย ตรวจเลือดหลังมีเพศสัมพันธ 3 เดือน แลว ไมพบเช้ือ อีก 6 เดือนตองตรวจเลือดซํ้า

Page 3: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

2 ในระหวางน้ันก็ตองใสถุงยางอนามัยทุกคร้ังเวลามีเพศสัมพันธ และหามบริจาคโลหิต ระยะท่ี 2) เปนระยะเร่ิมมีอาการหรือระยะท่ีมีอาการสัมพันธ กับเอดส มีไขเร้ือรัง นํ้าหนักลด หรือทองเสียเร้ือรังโดยไมทราบสาเหตุอาจมีเช้ือราในชองปาก งูสวัด เริมในชองปากหรืออวัยวะเพศ ผ่ืนคันตามแขนขา และลําตัวคลายคนแพนํ้าลายยุง ระยะที่ 3) เปนระยะโรคเอดสเต็มข้ัน หรือระยะปวยเปนโรคเอดส เปนระยะท่ีภูมิตานทานของรายกายเสียไปมากแลว มีอาการของการติดเชื้อฉวยโอกาส (opportunistic infection) บอย ๆ และมีโอกาสเปนมะเร็งบางชนิด เชน มะเร็งของหลอดเลือด (Kaposi's sarcoma) มะเร็งตอมนํ้าเหลือง และมะเร็งปากมดลูก เปนตน 1.5) การวินิจฉัย การวินิจฉัยโรคเอดสมีดังน้ี (สุรเกียรติ อาชานานุภาพ, 2553) 1)การเจาะเลือด หาปริมาณเช้ือเอช ไอ วี ในเลือด (viral load) เปนการเจาะเลือดเพ่ือตรวจหาภูมิคุมกันของโรค มีดังน้ี 1.1) เจาะเลือดตรวจหาภูมิคุมกันโดยวิธี enzyme - linked immunoabsorbent assay (ELISA) ถาให ผลบวก ตองยืนยันการวินิจฉัยโดยวิธีการ Western Blot แตมีขอเสีย คือ ไมสามารถใหการวินิจฉัย ไดเร็ว เน่ืองจากหลังไดรับเชื้อประมาณ 6 เดือน จึงใหผลบวก 1.2) การตรวจ เชื้อเอช ไอ วี โดยวิธี PCR เปนการตรวจหาตัวเช้ือหลังจากสัมผัสโรคโดยท่ีภูมิคุมกันยังไมขึ้น 2) การเจาะเลือดหาเซลล CD4 จะบงบอกสภาพภูมิคุมกันของรางกาย เซลล CD4 ย่ิงตํ่า ภูมิคุมกันย่ิงบกพรองมากข้ึนเทาน้ัน หากไมไดรักษาเช้ือเอช ไอ วี จะทําลายระบบภูมิคุมกันอยางมาก ทําใหรางกายติดเช้ือฉวยโอกาส โดยเฉพาะปริมาณเซลล CD4 นอยกวา 300 ถาหากต่ํากวา 100 จะมีการติดเช้ือรุนแรง 1.6) การรักษา ผูที่ไดรับเช้ือเอช ไอ วี หากรูวาติดเช้ือเอชไอวี ต้ังแตเร่ิมแรกการใหยาปองกันโรคเอดสจะไดผลดี กลุมยา ตานไวรัส ปจจุบันมี 3 กลุม คือ(สุรเกียรติ อาชานานุภาพ , 2553) 1) กลุมยา NRTI เชน AZT, ddI, d4T, 3TC, ABC 2) กลุมยา NNRTI เชน NVP, EFV 3.) กลุมยา PI เชน RTV, SQV, IDV, NFV สูตรการรักษาท่ีเปนมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขในปจจุบัน คือ สูตรยา 3 ชนิด ผสมกันโดย ใชยาจาก 2 กลุม เชน 3TC + d4T + NVP ซ่ึงองคการเภสัชกรรมไดมีการผลิตรวมไว ในเม็ดเดียวกัน ช่ือ GPO Vir ควรเร่ิมรักษาดวยยาตานไวรัส เม่ือตรวจพบอาการดังน้ี 1)เร่ิมเม่ือระดับ CD4 ต่ํากวา 200 หรือ 2)เม่ือปวยหรือเคยปวยดวยโรคติดเชื้อฉวยโอกาสชนิดใดชนิดหน่ึงท่ี บงชี้วา ภูมิคุมกันบกพรอง เชน มีเชื้อราในปาก ร้ิวขาวขางล้ิน เปนผ่ืนคัน ยาตานไวรัสที่มีอยูในปจจุบันไมสามารถกําจัดไวรัสเอช ไอ วี ใหหมดไปจากรางกายได ดังน้ันผูท่ีรักษาดวยยาตานเอดส จึงตองรับประทานยาตอเน่ืองตลอดเวลา 1.7)การปองกันการติดเช้ือไวรัสเอดส การปองกันการติดเชื้อ เอช ไอ วี ที่สําคัญมี 4 วิธี ดังน้ี (สุรเกียรติ อาชานานุภาพ , 2553) 1) การติดเช้ือเอช ไอ วี เกิดจากพฤติกรรมเส่ียงทั้งหลาย เชน การฉีดยาเสพติดเขาเสนเลือด การมีเพศสัมพันธ ที่ไมปลอดภัยหากเราปรับเปล่ียนพฤติกรรมเหลาน้ี จะสามารถลดการเกิดอัตราติดเชื้อเอช ไอ วี ได 2)การปองกันการติดเชื้อเอช ไอ วี จากการมีเพศสัมพันธ วิธีปองกันที่ไดผลมากท่ีสุด คือการไมมีเพศสัมพันธกับผูอื่น การปองกันตัวเองทุกครั้งท่ีมีเพศสัมพันธโดยใชถุงยางอนามัยหากตองการใช สารหลอล่ืนอ่ืน ๆ มาทาเพ่ิมบนถุงยางอนามัย ควรเลือกใชแต สารหลอล่ืนที่ละลายนํ้าเทาน้ัน เชนK-Y jelly, Q-C jelly, Duragel, Duracream, Generic contraceptive

Page 4: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

3 gel, Senselle และpolyethylene glycol และหามใชสารหลอล่ืนที่เปนไขมันเพราะจะทําใหถุงยางรั่วได สําหรับผูที่มีเพศสัมพันธโดยท่ีไมไดปองกัน ไมวาทางทวารหรือทางปกติ oral sex กับผูที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี หรือกลุมเส่ียง ควรจะไดรับยาปองกันภายใน 3 วันหลังสัมผัส และหากทราบวาตัวเองติดเชื้อ เอช ไอ วี และรวมเพศกับคนท่ีไมไดติดเช้ือ ตองแจงใหคูนอนทราบภายใน 72 ช่ัวโมง เพ่ือที่คูนอน จะไดรับยาปองกันการติดเชื้อเอช ไอ วี 3) การปองกันการติดเช้ือสําหรับผูที่ฉีดยาเสพติดเขาเสนเลือด เชื้อเอช ไอ วี สามารถติดตอผานทางเข็มฉีดยาที่ใชรวมกัน ดังน้ันวิธีปองกันการติดเช้ือ ทําไดดังน้ี 3.1)หยุดยาเสพติดและเขารับการบําบัด 3.2) หลีกเล่ียงการใชเข็มฉีดยารวมกัน 3.3) สําหรับผูที่ ยังไมเปล่ียนพฤติกรรมการใชเข็มรวมกัน ก็ใหลางเข็มใหสะอาดดวยนํ้า โดยการฉีดลางกระบอกฉีดยา และแชเข็มในนํ้ายาฆาเช้ือนาน 1 นาที 4) การปองกันการติดเชื้อเอช ไอ วี ในหญิงตั้งครรภ 4.1) เด็กท่ีคลอดจากแมที่มีเชื้อเอช ไอ วี สามารถรับเชื้อจากแมขณะตั้งครรภและการคลอดหากหญิงตั้งครรภ ติดเชื้อเอช ไอ วี แพทยจะพิจารณาใหยา AZT ซ่ึงสามารถลดอัตราการติดเช้ือลง 4.2) การปองกัน การติดเชื้อเอช ไอ วี หลังสัมผัสโรค ในเจาหนาท่ีสาธารณสุขท่ีถูกเข็มตํา การให AZT หลังถูกเข็มตํา จะสามารถลดอุบติัการณการติดเช้ือลงไดรอยละ 80 2. แนวทางการดําเนินงานการควบคุม และการปองกันโรคเอดส กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กําหนดแนวทางปองกันและแกปญหาโรคเอดส ป2554 ดังตอไปน้ี (สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2553) 1)การเรงรัดการปองกันหรือไมเพ่ิมผูติดเชื้อรายใหมในกลุมประชากรเฉพาะ ไดแก กลุมเยาวชน มีการพัฒนาระบบบริการดูแลสุขภาพที่เปนมิตร สงเสริมการใชถุงยางอนามัย 100 เปอรเซ็นต 2)ลดการเสียชีวิตเน่ืองจากการติดเชื้อเอช ไอ วี โดยปรับเกณฑการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอช ไอ วีและผูปวยเอดสเร่ิมใหยาตานไวรัสเร็วข้ึน จากระดับภูมิคุมกัน (CD4) นอยกวา 200 เปนนอยกวาหรือเทากับ 350 ใหบริการตจรวจเลือดหา การติดเชื้อเอช ไอ วี ฟรีปละ 2 คร้ัง ที่โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 3)ไมมีการเลือกปฏิบัติกับผูติดเชื้อเอช ไอ วี ดวยแนวทางท่ีเปนรูปธรรม 3. แนวคิดเก่ียวกับครอบครัว ครอบครัวเปนสถาบันแหงแรกของสังคมในการกําหนดพฤติกรรมของมนุษยใหเปนไปตามระเบียบแบบแผน ซ่ึงมีการกําหนดมาตรฐานความประพฤติของครอบครัว การส่ือสารในครอบครัว มีความสําคัญอยางย่ิง การพูดคุยกันหรือการสื่อสารกัน นอกจากจะส่ือสารกันดวยคําพูดแลว ยังอาศัย ส่ิงท่ีไมไดเปนคําพูด คือสวนของภาษาทาทาง จะทําใหพูดจากันไดเขาใจงายข้ึน 4. กระบวนการท่ีสําคัญในการเรียนรู แบนดูรา (Bandura1977) ไดอธิบายถึง กระบวนการที่สําคัญในการเรียนรูพฤติกรรมของมนุษยวาเปนกระบวนการทางสติปญญาอยางตอเน่ือง มี 4 กระบวนการ ดังน้ี คือ 1)กระบวนการ ความใสใจ (attention process) 2)กระบวนการการจดจํา (retention process) 3)กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนแบบอยาง(reproduction Process) 4)กระบวนการการจูงใจหรือการเสริมแรง (motivational process or reinforcement process) ดังน้ันการเรียนรูตามองคประกอบขางตน จึงเปน

Page 5: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

4 องคประกอบท่ีจําเปนที่ขาดไมได ถาขาดกระบวนการใดกระบวนการหน่ึงจะทําใหการเรียนรู ขาดความสมบูรณ และสภาพแวดลอมทางสังคมของมนุษยที่มีอิทธิพลตอการหลอหลอมใหเกิดการเรียนรูและนําไปสูพฤติกรรมหรือการกระทํา เม่ือมองตามทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม (Social Learning Theory) จะพบวา สภาพแวดลอมทางสังคมท่ีเปนตัวแบบ (model) ใหมนุษยสามารถเรียนรู เลียนแบบ และจูงใจใหกระทําพฤติกรรมใดๆ ไดมากที่สุด ก็คือ ตัวมนุษยน่ันเอง 5. บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชนในการควบคุมปองกันโรคเอดสในชุมชน พยาบาลอนามัยชุมชนมีบทบาทสําคัญในการควบคุมปองกันโรคเอดสในชุมชน ดังน้ี 1)สํารวจและศึกษาปญหาโดยการกําหนดปญหา และทําการศึกษาถึงสภาพท่ีแทจริงของปญหาท่ีเกิดข้ึนในแตละพ้ืนที่ เพ่ือดําเนินการหาแนวทางการแกไขไดอยางถูกตอง วิเคราะหถึงความสําคัญและความจําเปนในการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนเพ่ือการดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ 2)เฝาระวังปองกัน แกไขปญหาและใหคําแนะนํา โดยดําเนินการเชิงรุกเพ่ือปองกันปญหาท่ีจะเกิดข้ึน และเม่ือมีปญหาเกิดข้ึน ก็ทําการแกไขปญหาพรอมทั้งใหคําแนะนําอยางมีประสิทธิภาพ 3) พัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ ครอบครัว เพ่ือสนับสนุนใหครอบครัวในพ้ืนท่ีมีความเขมแข็งและอบอุน โดยการจัดกิจกรรมและ การประสานงานรวมกับเครือขายภายในพ้ืนที่ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนในชุมชน

4. สรุปสาระสําคัญของเรื่องและขั้นตอนการดําเนินการ 4.1) สรุปสาระสําคัญของเรื่อง ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมในปจจุบัน สงผลใหเด็กและเยาวชน มีพฤติกรรมและวิถีชีวิตท่ีสุมเส่ียงตอภัยคุกคามทางสุขภาพหลากหลายประการ โดยเฉพาะ ดานพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุและการใช สารเสพติด ที่ทําใหเด็กและเยาวชนกลายเปนกลุมที่เปราะบาง มีโอกาสไดรับเช้ือเอดส และการปองกันเอดสจากการมีเพศสัมพันธโดยใชถุงยางอนามัยยังมีนอยในกลุมคูรัก กลุมคูนอนท่ีเปนคนรูจัก คุนเคยและกลุมคนรูจักผิวเผิน เปนสาเหตุทําใหการติดเชื้อเอดสยังมีการแพรระบาดอยางไมหยุดย้ัง (กรมควบคุมโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ สํานักอนามัย,2553) ศูนยบริการสาธารณสุข 13 ไมตรีวานิช พบจํานวนผูปวยเอดสและผูปวยเอดสที่เสียชีวิต ในกรุงเทพมหานคร (ยอดสะสม) จําแนกตามพ้ืนที่เขตที่ไดรับรายงาน ตั้งแตเดือนกันยายน 2527 ถึงเดือน กรกฎาคม 2552 พบวาเขตสัมพันธวงศ มีผูปวยเอดสจํานวน 192 คนคิดเปน รอยละ 0.48 ของประชากรท้ังหมด ผูปวยเอดสที่เสียชีวิตจํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ 0.14 ของประชากรทั้งหมด ไดจัดทําโครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดสขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหเยาวชนและผูปกครองไดรับความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดสที่ถูกตองมีทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเร่ืองเพศศึกษาและ โรคเอดสในครอบครัวท่ีถูกตอง 4.2) ข้ันตอนการดําเนินงาน 1)จัดทําโครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส และแตงตั้งคณะทํางานพรอมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค มอบหมายหนาท่ีความรับผิดชอบ 2)จัดทําเครื่องมือที่ใชในการดําเนินโครงการ ประกอบดวย 2.1) การจัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธจํานวน 9 กิจกรรม 2.2) เคร่ืองมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถามประกอบดวย 5 สวน คือ

Page 6: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

5 สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป สวนที่ 2 แบบสอบถามความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส สวนท่ี 3 แบบสอบถามทัศนคติเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส สวนท่ี 4 แบบสอบถามทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเรื่องเพศและเอดสในครอบครัว สวนท่ี 5 แบบประเมินความพึงพอใจตอการเขารวมกิจกรรมในโครงการ 3.)กําหนดกลุมตัวอยาง เปนเยาวชนและผูปกครองในชุมชนสะพานหัน เขตสัมพันธวงศ จํานวน 15 ครอบครัว ประกอบดวยผูปกครองครอบครัวละ 1 คน จํานวน 15 คน เยาวชนหญิงหรือชาย อายุ 12 – 14 ป ครอบครัวละ 1 คนจํานวน 15 คน 4.)กําหนดแผนการดําเนินกิจกรรม ประกอบดวย กิจกรรมคร้ังท่ี 1 วันที่ 23 - 24 มกราคม 2553 แบบพักคาง ณ ศูนยฝกอบรมสถาบันพัฒนาขาราชการกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ดําเนินกิจกรรม 9 กิจกรรม กิจกรรมคร้ังท่ี 2 วันที่ 9 เมษายน 2553 นําเสนอการนําความรูที่ไดรับไปใชในชีวิตจริง และวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 เวลา 9.00-12.00 น. สรุปปญหาท่ีพบ เสนอแนะแนวทางแกไข และประเมินผล การ เข า ร วม กิจกรรมโครงการ ครอบครั ว สัม พันธป อง กัน เอดส ณ หองประ ชุม ช้ัน 3 ศูนยบริการสาธารณสุข 13 ไมตรีวานิช 5) ดําเนินกิจกรรมตามแผนที่กําหนด 6) เก็บรวบรวมขอมูลโดยใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถามความรูเร่ือง เพศศึกษาและโรคเอดส ทัศนคติเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส และทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเร่ืองเพศและเอดสในครอบครัว กอนและหลังการดําเนินการ แบบประเมินความพึงพอใจตอการเขารวมกิจกรรมในโครงการหลังดําเนินการ 7)วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป 7.1) ขอมูลทั่วไป ใชสถิติคาความถ่ีและรอยละ 7.2) ความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส ทัศนคติเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส ทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเรื่องเพศศึกษาและโรคเอดสในครอบครัว และความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ ใชคาคะแนนเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 7.3) เปรียบเทียบความแตกตางของความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส ทัศนคติเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส และทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเร่ืองเพศและเอดสในครอบครัว กอนและหลังเขารวมโครงการ โดยใชสถิติทดสอบทีรายคู (Paired t-test) กําหนดระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 8)สรุปผลการดําเนินโครงการจัดทําเปนผลงานทางวิชาการ ตรวจสอบความถูกตองและนําเสนอตามลําดับ

5. ผูรวมดําเนินการ 1. นางมาลินี บัวเปย สัดสวนงาน รอยละ 10 2. นางประพิณพร ทวมเจริญ สัดสวนงาน รอยละ 10

6. สวนของงานท่ีผูเสนอเปนผูปฏิบัติ สัดสวนของงานท่ีผูเสนอเปนผูปฏิบัติ รอยละ 80 โดยดําเนินการดังน้ี 1.)ศึกษาความรูทางวิชาการจากตําราและวรรณกรรมที่เก่ียวของ 2)จัดทําโครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดสเพ่ือขออนุมัติพรอมทั้งแตงตั้งคณะทํางาน 3) กําหนดกลุมตัวอยาง เปนเยาวชนและผูปกครองในชุมชนสะพานหัน เขตสัมพันธวงศ จํานวน 15 ครอบครัว ประกอบดวยผูปกครองครอบครัวละ 1 คน จํานวน 15 คน เยาวชนหญิงหรือชายอายุ 12 – 14 ป ครอบครัวละ 1 คน จํานวน 15 คน 4) จัดทําเครื่องมือที่ใชในการดําเนินโครงการ ประกอบดวย 4.1) กิจกรรมครอบครัวสัมพันธ 9 กิจกรรม ประกอบดวย กิจกรรมความคาดหวัง กิจกรรมชวนคุยชวนคิดเพ่ือพิชิตเอดส กิจกรรม ฝกทักษะการส่ือสารเพ่ือตานภัยเอดส กิจกรรมครอบครัวคุยกัน (สุนทรียสนทนา) กิจกรรม

Page 7: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

6 การแพรระบาดของเช้ือเอดสในวิถีชีวิตทางเพศ กิจกรรมคืนความสดใสใหชีวาและผอนคลายความเครียดดวยดนตรีบําบัด กิจกรรมดูละครแลวยอนดูตัว กิจกรรมใครเส่ียงกวากัน และกิจกรรม การสร าง เค รือข าย เอดส 4 .2) เครื่ องมือที่ ใช ในการรวบรวมขอมูล ใชแบบสอบถามของ สุพัตรา ศรีวณิชชากร (2552) และนํามาประยุกตใช ประกอบดวย 5 สวน คือ สวนท่ี 1 แบบสอบถามขอมูลท่ัวไป จํานวน 5 ขอ สวนท่ี 2 แบบสอบถามความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส จํานวน 11 ขอ สวนท่ี 3 แบบสอบถามทัศนคติเก่ียวกับเรื่องเพศศึกษาและโรคเอดส จํานวน 10 ขอ สวนที่ 4 แบบสอบถามทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเรื่องเพศและเอดสในครอบครัว จํานวน 9 ขอ การแปลผลความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส แบงเปน 3 ระดับ คือ 0.68 - 1.00 = สูง, 0.34 - 0.67 = ปานกลาง, 0.00 - 0.33 = ตํ่า ทัศนคติเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส และทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเรื่องเพศศึกษาและโรคเอดสในครอบครัว แบงเปน 3 ระดับ คือ 1.33 - 2.00 = สูง, 0.67 - 1.32 = ปานกลาง, 0.00 - 0.66 = ต่ํา (Best, 1977) สวนท่ี 5 แบบประเมินความพึงพอใจ จํานวน 6 ขอ การแปลผลแบงเปน 3 ระดับคือ 3.68 – 5.00 = มาก, 2.34 – 3.67 = ปานกลาง, 1.00 – 2.33 = ต่ํา การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยนําแบบสอบถามไปทดลองใชกับผูปกครองและเยาวชนท่ีไมใชกลุมตัวอยาง วิเคราะหหาความคงท่ีภายในดวยวิธีสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) (ยุวดี ฤาชา, 2543) มีคาความเชื่อมั่น = 0.82 และ 0.80 ตามลําดับ 5.) ดําเนินกิจกรรม ซ่ึงประกอบดวยกิจกรรมโครงการครอบครัวสัมพันธ 2 ครั้งโดย ครั้งท่ี 1 วันท่ี 23 - 24 มกราคม 2553 แบบพักคาง ประกอบดวย กิจกรรมท่ี 1) กิจกรรมความคาดหวัง โดยแจกกระดาษรูปหัวใจและสีเมจิก ใหผูเขารวมกิจกรรม คนละ 1 ชุด ใหครอบครัวเขียนความคาดหวังท่ีจะไดจากการมารวมกิจกรรมเม่ือเขียนเสร็จนํากระดาษไปติดท่ีกระดาษฟลิ๊บชารดใหญหลังหอง วิทยากรสรุปความคาดหวัง ของผูเขารวมกิจกรรม กิจกรรมท่ี 2)กิจกรรมชวนคุยชวนคิดเพ่ือพิชิตเอดส โดยแบงกลุมผูปกครองและเยาวชน แลวใหกลุมผูปกครองพูดคุยกันถึงการเปนวัยรุนของตนเองในอดีต ตามหัวขอที่กําหนด คือ 2.1)อวัยวะในรางกายท่ีพิถีพิถันและดูแลเปนพิเศษ 2.2)แฟชั่นในสมัยวัยรุน 2.3)บุคคลที่ตนเองชื่นชม 2.4)กิจกรรมที่โปรดปราน 2.5)วีรกรรมท่ีโดดเดน (ผูใหญไมรู เก็บเปนความลับ) 2.6)พฤติกรรมอะไรบางของลูกท่ีเรารูสึกหนักใจ สวนกลุมเยาวชนพูดคุยกันถึงการเปนวัยรุนของตนเอง ตามหัวขอที่กําหนด คือ 2.1)ความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในรางกาย 2.2)อวัยวะใดที่ตนชื่นชอบ บอกเหตุผลท่ีชื่นชอบ 2.3)แฟช่ัน บุคคลและกิจกรรมท่ีชื่นชอบ 2.4)เร่ืองหนักใจ ปวดหัว หรือมีความกังวลสวนตัว 2.5)วีรกรรมที่โดดเดน (ความลับที่พอแมไมรู) 2.6)เร่ืองท่ีพอแมไมรู กิจกรรมที่ 3)กิจกรรมฝกทักษะการส่ือสารเพ่ือตานภัยเอดส โดยแบงกลุมเปน 3 กลุม แตละกลุม มีทั้งผูปกครองและเยาวชน ทํากิจกรรม Walk Rally 3 ฐาน ฐานละ 5 คู ไดแก 3.1)ฐานปดตาพาเดิน ใหผูปกครองใชผาท่ีแจกให ปดตาเยาวชนแลวพาเดินไปถึงจุดหมายท่ีกําหนด 3.2)ฐานเกมโซน ถายทอดสดแตไมถายทอดเสียง ใหผูปกครองหรือเยาวชนจับคูกันกําหนดวา ใครจะเปนคนอานขอความและทําทาทางให คนท่ีเหลือทาย แลวแจกกระดาษท่ีมีขอความใหคูละ 1 แผน ใหอานขอความที่กําหนดแลวทําทาทางใหคูของตนดู 3.3)ฐานความรูสึกของฉัน และวิธีการแสดงความรักของคนในครอบครัว โดยใหแตละคูเลือกแผนการดความรูสึก แลวใหคูของตนผลัดกัน

Page 8: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

7 บอกเหตุผลท่ีเลือกการดแสดงความรูสึกตามท่ีเลือกมา กิจกรรมท่ี 4)กิจกรรมครอบครัวคุยกัน (สุนทรียสนทนา) โดยแบงกลุมแยกกลุมเยาวชน 1 กลุม และกลุมผูปกครอง 1 กลุม แจกกระดาษ ฟล๊ิบชารดให กลุมละ 2 - 3 แผน ใหเขียนส่ิงท่ีชอบและไมชอบลงในกระดาษและนําเสนอทีละกลุม กิจกรรมท่ี 5)กิจกรรมการแพรระบาดของเช้ือเอดสในวิถีชีวิตทางเพศ ใชกิจกรรมแลกนํ้าโดย 5.1) ขอตัวแทนผูรวมกิจกรรม 10 คน แจกแกวนํ้า (ที่ประกอบดวยนํ้าบริสุทธิ์ 9 แกว และนํ้าผสมโซเดียมไฮดรอกไซด 1 แกว) กระบอกฉีดยา (Syring) แกผูรวมกิจกรรมทุกคน คนละ 1 อัน 5.2) แจกแกวนํ้า (ที่ประกอบดวย นํ้าบริสุทธ์ิ) ใหผูรวมกิจกรรมที่เหลือ และ กระบอกฉีดยา (Syring) แกผูรวมกิจกรรมทุกคน คนละ 1 อัน 5.3)ใหผูรวมกิจกรรมจับคูกัน แลวใชกระบอกฉีดยา (Syring) ดูดนํ้าในแกวของตัวเอง ฉีดใสลงในแกวของเพ่ือน (ผูปกครองและเยาวชน) สลับคูกันไปเรื่อยโดย ทําจนครบทุกคน 5.4)ทดสอบสารละลายในแตละแกว โดยการเติมสารท่ีใชทดสอบ 5.5)วิทยากรสรุปผลการทดลองใหผูเขารวมกิจกรรมฟง กิจกรรมที่ 6)กิจกรรมคืนความสดใสใหชีวาและผอนคลายความเครียดดวยดนตรีบําบัด ใชกิจกรรมบายศรี โดยแบงกลุมเยาวชนใหผูปกครองน่ังเกาอี้ ใหเยาวชนเดินเขามาทีละคน ใหน่ังเกาอี้ใหตรงกับผูปกครอง หร่ีไฟ ในหอง จุดเทียน วิทยากรพรรณนาถึงชวง การต้ังครรภของแมและการดูแลของพอแมต้ังแตเล็กจนโต ระหวางน้ันใหผูปกครองผูกขอมือเยาวชน เปดเพลงอิ่มอุน เปดโอกาสใหผูปกครองและเยาวชนไดพูดคุยกัน อยากขอบคุณ และขอโทษในเร่ืองตางๆ ที่ผานมา กิจกรรมท่ี 7)ดูละครแลวยอนดูตัว โดยแบงกลุม 3 กลุม กลุมละ 5 ครอบครัว กลุมวิทยากรแสดงบทบาทสมมติเร่ือง “ปญหาครอบครัว” หลังแสดงจบ วิทยากรต้ังคําถาม 3 ขอ ใหแตละกลุมตอบคําถามตามท่ีวิทยากรแจกใหกลุม และแลกเปล่ียนเรียนรูในกลุมใหญ คําถามที่ใชมีดังน้ี 7.1) ดูเร่ืองราวน้ีแลวคุณรูสึกอยางไรตอสถานการณน้ี และคุณคิดวาเพราะอะไรถึงเกิดเหตุน้ีขึ้น ในครอบครัว 7.2)คุณคิดวาหากปลอยใหครอบครัวเปนอยางน้ีตอไปจะเกิดอะไรขึ้นบาง 7.3)หากไมอยากเปนเหมือนครอบครัวน้ีจะมีทางแกปญหาอยางไร กิจกรรมท่ี 8)กิจกรรมใครเส่ียงกวากัน โดยวิทยากรอานคําถามเก่ียวกับพฤติกรรมหรือกิจกรรมท่ีเสี่ยงตอการติดเชื้อเอดสใครเห็นดวย ใหยืนขางขวา ใครไมเห็นดวยใหยืนขางซาย วิทยากรถามเหตุผลที่ผูเขารวมกิจกรรมเลือกยืนขางขวาหรือขางซาย (ใชคําถาม 6 - 10 คําถาม) กิจกรรมท่ี 9)กิจกรรมการสรางเครือขายเอดส โดยใหผูรวมกิจกรรม น่ังลอมวงเปนวงกลมวงใหญ วิทยากรใหผูเขารวมกิจกรรมทุกคนไดพูดถึงส่ิงท่ีเรียนรูและความรูสึก ที่ไดมาเขารวมกิจกรรม และอยากทําอะไรเม่ือกลับไป อยากบอกอะไรใคร อยากขอบคุณใคร วิทยากรสรุปและขอบคุณผูเขารวมกิจกรรมโครงการ และถายรูปรวมกัน และ กําหนดวันนัดหมายและสถานที่ครั้งตอไป วันที่ 9 เมษายน 2553 และ วันที่ 12 กรกฎาคม 2553 เวลา 9.00-12.00 น. ณ หองประชุมช้ัน 3 ศูนยบริการสาธารณสุข 13 ไมตรีวานิช คร้ังท่ี 2 กิจกรรมที่ดําเนินการ คือ วันที่ 9 เมษายน 2553 เวลา 9.00-12.00 น. เปนวิทยากรหลักของกิจกรรม โดยแบงกลุมผูเขารวมกิจกรรมออกเปน 3 กลุม ใหแตละกลุม ไดพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูปกครองและเยาวชน ถึงการนําความรูที่ไดรับไปใชในชีวิตจริง เพ่ือใหผูเขารวมกิจกรรมในแตละกลุมไดแลกเปล่ียนประสบการณการนําความรูที่ไดรับจากการเขารวมกิจกรรม ครั้งท่ี 1 ไปใชในชีวิตจริง และสงตัวแทนออกมานําเสนอ และ

Page 9: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

8 เปดโอกาสใหผูปกครองและเยาวชนซักถามปญหาและขอสงสัยในการนําความรู ที่ไดรับจากไปใช ในชีวิตจริง แลววิทยากรสรุป วันที่ 12 กรกฎาคม 2553 เวลา 9.00-12.00 น. เปนวิทยากรหลักของกิจกรรม โดยใหผูปกครองและเยาวชน ทําแบบสอบถามหลังเขารวมโครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส (Post - test) และให ผูปกครองและเยาวชน ประเมินความพึงพอใจในการเขารวมโครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส วิทยากรสรุปคะแนนแบบสอบถาม กอนและหลังเขารวมโครงการครอบครัวสัมพันธปองกันเอดส (Post - test) และแจงใหผูเขารวมกิจกรรมทราบ เปดโอกาสใหผูปกครองและเยาวชนซักถามปญหาและขอสงสัยในการจัดกิจกรรม และขอบคุณผูเขารวมกิจกรรม 6)ประเมินผลโครงการ จากการตอบแบบสอบถามของผูเขารวมโครงการกอนและหลังเขารวมโครงการ มาวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ไดแก แบบสอบถามขอมูลท่ัวไป ใชคาความถ่ีและรอยละ แบบสอบถามความ ทัศนคติเก่ียวกับเรื่องเพศศึกษาและโรคเอดส ทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส ในครอบครัว ใชคาคะแนนเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกตางของ ความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส ทัศนคติเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส ทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเร่ืองเพศและโรคเอดสในครอบครัวกอนและหลังเขารวมโครงการ โดยใชสถิติทดสอบดวยคาที (Paired t-test) และความพึงพอใจ ใชคาคะแนนเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

7. ผลสําเร็จของาน 7.1)ความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส พบวา กอนเขารวมโครงการกลุมผูปกครองมีความรูโดยรวม อยูในระดับปานกลาง ( x = 0.53, S.D. = 0.51) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวากลุมผูปกครองมีความรู สวนใหญอยูในระดับปานกลาง ( x = 0.53, S.D. = 0.51) ยกเวนขอคําถามท่ี 8 มีความรูอยูในระดับตํ่า ( x = 0.33, S.D. = 0.48) หลังเขารวมโครงการ กลุมผูปกครองมีความรู โดยรวมอยูในระดับสูง ( x = 0.78, S.D. = 0.41) เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวากลุมผูปกครองมีความรูสวนใหญอยูในระดับสูง ยกเวน ขอคําถามท่ี 5,8,11 มีความรู สวนใหญอยูในระดับปานกลาง ( x = 0.67, S.D. = 0.48) กอนเขารวมโครงการ กลุมเยาวชนมีความรู โดยรวมอยูในระดับปานกลาง ( x = 0.51, S.D. = 0.50 ) เม่ือพิจารณาเปนรายขอพบวา กลุมเยาวชนมีความรูสวนใหญอยูในระดับปานกลาง ยกเวนขอคําถามที่ 1 และ 8 มีความรูอยูในระดับตํ่า ( x = 0.33, S.D. = 0.48) และ( x = 0.27, S.D. = 0.45) ตามลําดับ หลังเขารวมโครงการ พบวากลุมเยาวชนมีความรูโดยรวมอยูในระดับสูง ( x = 0.87, S.D. = 0.30 ) เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมเยาวชนมีความรูอยูในระดับสูงทุกขอ การเปรียบเทียบความแตกตางคาคะแนนเฉล่ียความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดสของกลุมผูปกครองและกลุมเยาวชน กอนและหลังเขารวมโครงการ พบวา คาคะแนนเฉล่ียความรูของกลุมผูปกครองและกลุมเยาวชน หลังเขารวมโครงการ มีคาสูงขึ้นกวากอนเขารวมโครงการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 7.2)ทัศนคติเก่ียวกับเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส พบวา กอนเขารวมโครงการ กลุมผูปกครองมีทัศนคติ โดยรวมอยูในระดับปานกลาง ( x = 1.14, S.D. = 0.26) เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมผูปกครอง มีทัศนคติสวนใหญอยูในระดับปานกลาง ยกเวนขอคําถามท่ี 8 มีทัศนคติ อยูในระดับสูง ( x = 1.67, S.D. = 0.245) หลังการเขารวมโครงการ พบวา กลุมผูปกครองมีทัศนคติ โดยรวมอยูในระดับสูง ( x = 1.97,S.D. = 0.10 ) เม่ือพิจารณาเปนรายขอพบวา กลุมผูปกครองมีทัศนคติอยูในระดับสูงทุกขอ

Page 10: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

9 กอนเขารวมโครงการ กลุมเยาวชนมีทัศนคติโดยรวม อยูในระดับปานกลาง ( x = 1.07, S.D. = 0.21) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวากลุมเยาวชนมีทัศนคติ อยูในระดับปานกลางทุกขอ หลังเขารวมโครงการ พบวา กลุมเยาวชนมีทัศนคติโดยรวม อยูในระดับสูง ( x = 1.97, S.D. = 0.17) เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมเยาวชนมีทัศนคติ อยูในระดับสูงทุกขอ การเปรียบเทียบความแตกตางคาคะแนนเฉล่ียของทัศนคติเก่ียวกับเรื่องเพศศึกษา และโรคเอดส ของกลุมผูปกครองและกลุมเยาวชน พบวา คาคะแนนเฉล่ียของทัศนคติเก่ียวกับเรื่องเพศศึกษา และโรคเอดส ของกลุมผูปกครองและกลุมเยาวชน หลังเขารวมโครงการมีทัศนคติสูงข้ึนกวากอนเขารวมโครงการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 7.3)ทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเรื่องเพศและโรคเอดสในครอบครัว พบวา กอนเขารวมโครงการ กลุมผูปกครอง มีทัศนคติ โดยรวมอยูในระดับปานกลาง ( x = 1..03, S.D. = 0.10) เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวาทัศนคติ อยูในระดับปานกลางทุกขอ หลังเขารวมโครงการ พบวากลุมผูปกครองมีทัศนคติโดยรวม อยูในระดับสูง ( x = 1.94,S.D. = 0.17) เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมผูปกครองมีทัศนคติ อยูในระดับสูงทุกขอ กอนเขารวมโครงการ กลุมเยาวชนมีทัศนคติโดยรวม อยูในระดับปานกลาง ( x = 1.10, S.D. = 0.26) เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมเยาวชนมีทัศนคติ อยูในระดับปานกลางทุกขอ หลัง เขารวมโครงการ พบวา กลุมเยาวชนมีทัศนคติโดยรวมอยูในระดับสูง ( x = 1.89, S.D. = 0.29) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมเยาวชนมีทัศนคติ อยูในระดับสูงทุกขอ การเปรียบเทียบความแตกตางของคาคะแนนเฉล่ียทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเรื่องเพศและโรคเอดสในครอบครัว ของกลุมผูปกครองและกลุมเยาวชน พบวา ทัศนคติเก่ียวกับการส่ือสารเร่ืองเพศและโรคเอดสในครอบครัว ของกลุมผูปกครองและกลุมเยาวชน หลังเขารวมโครงการ มีคาสูงขึ้นกวากอนเขารวมโครงการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 7.4)การประเมินความพึงพอใจ พบวา ผูปกครองและเยาวชนที่ เขารวมโครงการ มีความพึงพอใจ โดยรวมอยูในระดับมาก ( x = 4.46, S.D. = 0.53)

8. การนําไปใชประโยชน 1)ใชเปนแนวทางในการสรางหลักสูตรการอบรมครอบครัวสัมพันธปองกันเอดสใหกับพ้ืนที่อื่น 2) ใชเปนแนวทางในการดําเนินการเพ่ือพัฒนาและปองกันการเกิดโรคอ่ืนๆ 3)สรางเครือขายของชุมชนในการปองกันและแกไขปญหาเอดส เพ่ือการดําเนินงานท่ีตอเน่ือง และ เกิดความย่ังยืน

9. ความยุงยาก ปญหา อุปสรรคในการดําเนินงาน 1)กลุมตัวอยางมีขอจํากัดเรื่องเวลาผูศึกษาตองปรับขั้นตอนการดําเนินงานโดยการประสานงานการนัดหมายเวลาใหชัดเจนเพ่ือใหโครงการสมบูรณ 2)กลุมตัวอยางมีความแตกตาง ดานพ้ืนฐานทางสังคม วัฒนธรรม มีความเขาใจในการจัดกิจกรรม ไมเทากัน ทําใหตองใชเวลาในการชี้แจงทําความเขาใจ

10. ขอเสนอแนะ 1) ควรมีการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินโครงการน้ีอยางตอเน่ือง ใหครอบคลุมพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร 2)ควรมีเครือขายท้ังภาครัฐและเอกชน รวมทั้งชุมชน ในการดําเนินงานปองกันปญหาเอดส ในกลุมเยาวชน ในระดับพ้ืนท่ีอยางชัดเจน 3)สรางเครือขายของชุมชนในการปองกันและแกไขปญหาเอดส เพ่ือการดําเนินงานที่ตอเน่ือง และเกิดความย่ังยืน

Page 11: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ
Page 12: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพ่ือพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน ของ นางชณุภา จึงเจริญนรสุข

เพ่ือประกอบการแตงต้ังใหดํารงตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษ (ดานการพยาบาลท่ัวไป)(ตําแหนงเลขที่ ศบส. (63) 6) หัวหนาพยาบาลกลุมงานการพยาบาลและการบริหารท่ัวไป ศูนยบริการสาธารณสุข 63 สมาคมแตจ๋ิวแหงประเทศไทย สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร เรื่อง โครงการฝกอบรมการชวยชีวิตขั้นพ้ืนฐาน อาสาสมัครสาธารณสุข หลักการและเหตุผล ระบบบริการการแพทยฉุกเฉินในประเทศไทย เร่ิมต้ังแต พ.ศ. 2480 โดยมูลนิธิปอเต็กตึ้งชวยเหลือผูประสบภัยในลักษณะสังคมสงเคราะหและกูภัย โดยควบคูไปกับการเก็บศพผูเสียชีวิต ตอมา พ.ศ. 2513 มูลนิธิรวมกตัญู เขามามีสวนรวมในการดําเนินการ มีการจัดทําแผนรวมกันระหวางโรงพยาบาลตางๆ ในกรุงเทพมหานคร กับศูนยสงกลับของกรมตํารวจในสมัยน้ัน โดยมีการพัฒนาเครือขายวิทยุส่ือสารรวมกัน อยางไรก็ตามยังพบปญหาในเรื่องความรูของบุคลากรในการดูแลและนําสงผูบาดเจ็บอยางถูกตอง ขาดอุปกรณ ที่ เหมาะสม ขาดความรวมมือจากโรงพยาบาลตางๆ ซ่ึงมีสังกัดตางกันจนถูกวิจารณวาทําให ผูปวย เกิดการสูญเสีย และพิการ (สํานักงานระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน ศูนยนเรนทร กระทรวงสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2548: 1) ศูนยบริการสาธารณสุข 63 สมาคมแตจ๋ิว แหงประเทศไทย จึงไดทําการสํารวจความตองการอบรม เชิงปฏิบัติการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานของอาสาสมัครสาธารณสุข จํานวน 72 คน ในปงบประมาณ 2554 พบวา อาสาสมัครสาธารณสุขมีความตองการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน จํานวน 48 คน คิดเปนรอยละ 66.67 และจากแบบสอบถามความรูเก่ียวกับการปฏิบัติการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานของ อาสาสมัครสาธารณสุข พบวาอาสาสมัครสาธารณสุขมีระดับความรูเก่ียวกับการปฏิบัติการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานสวนใหญอยูในระดับต่ํา จํานวน 52 คน คิดเปนรอยละ 72.2 ดังน้ันผูขอรับการประเมินปฏิบัติหนาท่ีหัวหนาพยาบาล เห็นความสําคัญในปญหาดังกลาวจึงไดมีแนวคิดในการดําเนินการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ืองการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานแกอาสาสมัครสาธารณสุขขึ้น เพ่ือใหอาสาสมัครสาธารณสุขที่ผานการอบรม เชิงปฏิบัติการเรื่องการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน สามารถทําการปฏิบัติการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานไดอยางถูกตอง ซ่ึงจะสามารถชวยชีวิตผูปวยและ/หรือผูประสบภัยเบ้ืองตนปลอดภัยไดทันทวงทีกอนท่ีจะนําสงโรงพยาบาลเพ่ือ รับการรักษาจากแพทยตอไป

Page 13: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

2

วัตถุประสงคและ/หรือเปาหมาย วัตถุประสงค เพ่ือใหอาสาสมัครสาธารณสุขของศูนยบริการสาธารณสุข 63 สมาคมแตจ๋ิว แหงประเทศไทย ที่ เขารับการอบรมมีความรูในการปฏิบัติการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานไดอยางถูกตอง และ สามารถปฏิบัต ิ การชวยชีวิตขั้นพ้ืนฐานไดอยางถูกตอง เปาหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขของศูนยบริการสาธารณสุข 63 สมาคมแตจ๋ิว แหงประเทศไทย เขตสาทร จํานวน 40 คน

กรอบการวิเคราะห แนวคิด ขอเสนอ การอบรมเชิงปฏิบัติการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานของอาสาสมัครสาธารณสุข เปนการฝกอบรม ที่ตองใชความรูทางวิชาการ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติจากผูที่มีความรูความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติการชวยชีวิต ขั้นพ้ืนฐาน ในเร่ืองของขั้นตอนการปฏิบัติการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน อันตรายจากการปฏิบัติการชวยชีวิต ขั้นพ้ืนฐานท่ีไมถูกวิธี เพราะการชวยฟนคืนชีพขั้นพ้ืนฐาน คือ การชวยชีวิตคนหัวใจหยุดเตนหรือคนท่ี หยุดหายใจอยางกระทันหันโดยไมตองใชเคร่ืองมือทางการแพทยแตอยางไร เพียงใชแรงมือกดท่ีหนาอกและการผายปอด ก็สามารถทําใหหัวใจที่หยุดเตน สามารถกลับมาเตนใหมได เพ่ือใหมีการหายใจและการไหลเวียนเลือดกลับคืนสูสภาพปกติ ปองกันเน้ือเย่ือไดรับอันตรายจากการขาดออกซิเจนอยางถาวร มีเลือดไปเลี้ยงสมองได ทําใหเราสามารถชวยชีวิตคนที่เรารักหรือคนที่เราพบเห็นได

ความรูในการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน การชวยฟนคืนชีพขั้นพ้ืนฐาน คือ การชวยชีวิตคนหัวใจหยุดเตนหรือคนที่หยุดหายใจอยางกระทันหัน โดยไมตองใชเคร่ืองมือทางการแพทยแตอยางไร เพียงใชแรงมือกดท่ีหนาอกและการผายปอด ก็สามารถทําใหหัวใจท่ีหยุดเตน สามารถกลับมาเตนใหมได เพ่ือใหมีการหายใจและการไหลเวียนเลือดกลับคืนสูสภาพปกติ ปองกันเน้ือเย่ือไดรับอันตรายจากการขาดออกซิเจนอยางถาวร มีเลือดไปเล้ียงสมองได ทําใหเราสามารถชวยชีวิตคนที่เรารักหรือคนที่เราพบเห็นได ขั้นตอนการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน เม่ือเกิดภาวะหัวใจหยุดเตนและภาวะหยุดหายใจขึ้น ประชาชนผูใหการชวยเหลือ สามารถใชหลักการจําขั้นตอนท่ีสําคัญ โดยการใชอักษรยอ C-A-B เปนแนวทางในการปฏิบัติ คือ (โสภณ กฤษณะรังสรรค และคณะ, 2554) C : Circulation (การเตนของหัวใจ) ; ชวยโดยการกดนวดหนาอก A : Airway (การเปดทางเดินหายใจ) ; ชวยโดยการกดหนาผากเชยคาง B : Breathing (การชวยหายใจ) ; ชวยโดยการเปาปาก

Page 14: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

3

ขั้นตอนท่ี 1 เมื่อพบผูปวยท่ีหมดสติไมหายใจ หายใจไมปกติ เชน หายใจเฮือก ใหโทรศัพทตามหนวยกูชีพจากโรงพยาบาลท่ีอยูใกลที่สุด เพ่ือเตรียมช็อกไฟฟาดวยเคร่ือง AED (Automated External Defibrillator : เคร่ืองช็อกไฟฟาหัวใจ อัตโนมัติ) เพราะถาทีมชวยเหลือมาถึงเร็วเทาใดโอกาสรอดชีวิตของผูปวยก็จะมีมากขึ้นซ่ึงตามเกณฑมาตรฐาน ในพ้ืนที่ปกติทางบก ชุดชวยเหลือตองถึงจุดท่ีพบผูปวยฉุกเฉินใชเวลาประมาณ 10 นาที ตรวจดูวาผูปวยหายใจหรือไม หากไมหายใจหรือหายใจเฮือก ใหปฏิบัติตามขั้นที่ 2 ขั้นตอนท่ี 2 C : Circulation (การเตนของหัวใจ) ; ชวยโดยการกดนวดหนาอก หลังการตรวจเช็คไดวาผูปวยไมตอบสนอง ไมขยับ ไมไอ หายใจเฮือก หรือไมหายใจ ใหผูชวยเหลือจัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพ้ืนท่ีแข็งผูชวยเหลือน่ังคุกเขาอยูทางดานขางของผูปวย แลวทําการกดนวดหัวใจทันที โดยตําแหนงที่ใชในการกดนั้น ใหวางส้ันมือลงไปใหขนานกับแนวก่ึงกลางหนาอก (ก่ึงกลางระหวางหัวนมทั้งสองขาง ของผูปวย) แลวนํามืออีกดานมาประกบ ประสานน้ิว และทําการล็อคน้ิว กระดกขอมือข้ึน โดยใหสนมือสัมผัสกับผนังหนาอกเทาน้ัน โนมตัวมาใหแนวแขนตั้งฉากกับหนาอกของผูปวย พรอมกับกดลงไปโดยใชแรงจากหัวไหล จุดหมุนอยูตรงสะโพก กดใหหนาอกยุบลงไปอยางนอย 2 น้ิว หรือ 5 เซนติเมตร โดยที่สนมือ ไมหลุดออกจากผนังหนาอก แขนตรงและตึง กดหนาอกแบบเร็วและแรงอัตราความเร็วอยางนอย 100 คร้ัง ตอนาที เปนการนวดหัวใจดวยวิธี Hand only (นวดหัวใจเพียงอยางเดียว) คือเนนที่การกดหนาอกลึกและเร็ว ที่ตําแหนงตรงกลางหนาอกและทําตามคําแนะนําของเจาหนาท่ีศูนยส่ังการทางโทรศัพท ผูชวยเหลือควรทําการกดหนาอกของผูหมดสติอยางตอเน่ือง จนเครื่องกระตุนหัวใจ (AED) มาถึงและพรอมใช หรือมีเจาหนาท่ีกูชีพชั้นสูงมาดูแลตอเน่ือง เพราะการกดหนาอกกอนจะทําใหมีเลือดเล้ียงอวัยวะท่ีสําคัญ เชน หัวใจและสมอง ถามีผูชวยเหลือมากกวา 1 คน ใหทําการเปดทางเดินหายใจตามข้ันตอนที่ 3 ขั้นตอนท่ี 3 A : Airway (การเปดทางเดินหายใจ) โดยปกติทั่วไป เมื่อผูปวยหมดสติ ไมรูสึกตัว จะทําใหกลามเน้ือทุกสวนของรางกายคลายตัว และท่ีเปนอันตรายที่สุด คือ การคลายตัวของกลามเน้ือบริเวณ ล้ิน ที่อาจเปนเหตุใหล้ินตกไปอุดกล้ันทางเดินหายใจ นอกจากน้ีในกรณีที่ผูหมดสติยังหายใจได ในจังหวะหายใจเขาจะเกิดแรงดูดเอาล้ินลงไปอุดกล้ันทางเดินหายใจมากกวาเดิม ตองชวยยกกระดูกขากรรไกรลางข้ึน ลิ้นซ่ึงอยูติดกับกระดูกขากรรไกรลางจะถูกยกข้ึน ทําใหทางเดินลมหายใจเปดโลง การเปดทางเดินลมหายใจ ทําโดยวิธีดันหนาผากและดึงคาง (Head tilt-chin lift) โดยการเอาฝามือขางหน่ึงดันหนาฝาก น้ิวชี้และน้ิวกลางของมืออีกขางหน่ึงยกคางข้ึน (เฉพาะกระดูกขากรรไกรลางโดยไมกดเน้ือออนใตคาง) ถามีส่ิงขัดขวางทางเดินหายใจ เชน เศษอาหาร หรือส่ิงแปลกปลอมอยูในปาก ใหใชมือลวงออกเพ่ือทําใหทางเดินหายใจโลง ขั้นตอนท่ี 4 B : Breathing (การชวยหายใจ) จะทําในกรณีที่ผูปวยเปนญาติสนิทและม่ันใจวา ไมเปนโรคติดตอใดๆ หรือมีอุปกรณชวยปองกันการติดเช้ือ การเปาลมเขาปอด 1 ครั้งใชเวลา 1 วินาที โดย ดันหนาผากและดึงคาง ใหเล่ือนหัวแมมือและน้ิวชี้ของมือที่ดันหนาผากอยูมาบีบที่จมูก ผูหมดสติ ใหรูจมูก ปดสนิท สูดลมหายใจเขาตามปกติ แลวครอบปากเขากับปากของผูหมดสติ ตาชําเลืองมองหนาอกผูหมดสติ พรอมกับเปาลม เขาไปจนหนาอกของผูหมดสติขยับขึ้น แลวถอนปากออก ใหลมหายใจของผูหมดสติ

Page 15: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ

4

ผานออกมาทางปาก หลังการเปาลมเขาปอด 2 คร้ัง ใหเร่ิม กดหนาอกตอเน่ือง 30 ครั้งทันที สลับกับการเปาลมเขาปอด 2 ครั้ง (การกดนวดหนาอกตอการเปาลมเขาปอดเปน 30 : 2) จํานวน 5 รอบ (ใชเวลาประมาณ 2 นาที) จนกระท้ัง ผูปวยมีการเคล่ือนไหว หายใจ หรือไอ มีคนนําเคร่ืองช็อกไฟฟาหัวใจอัตโนมัติ (AED) มาถึง และ มีทีมชวยเหลือมาถึง ขั้นตอนท่ี 5 การจัดใหอยูในทาพักฟน (Recovery position) ถาผูหมดสติรูตัว หรือหายใจไดเองแลว ควรจัดใหผูปวยนอนในทาพักฟน โดยจับหนาผูปวยตะแคงไปขางหน่ึง ผูชวยเหลือใชมือที่อยูดานบน มารองแกมไมใหหนาคว่ํามากเกินไปเพราะถาตะแคงคว่ํามากเกินไป กะบังลมจะขยับไดนอย ทําใหปริมาณอากาศท่ีหายใจเขา-ออกมีนอยลง ซ่ึงขั้นตอนท่ี 5 น้ี อาจเกิดข้ึนในกรณีที่อาสาฉุกเฉินชุมชนชวยสําเร็จกอนท่ีหนวยกูชีพมาถึง หรือมาถึงแลวและชวยไดในท่ีเกิดเหตุสําเร็จ หรือหากมีการกระตุกหัวใจดวย AED และเคล่ือนยายผูปวยไปสถานพยาบาลแลว การชวยชีวิตสําเร็จ ตองใหความสําคัญกับการดูแลหลังจากชวยกูชีวิตสําเร็จ แบบผสมผสานอยางบูรณาการ

บทบาทหนาท่ีของอาสาสมัครสาธารณสุข หนาท่ีความรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) (กองสงเสริมสุขภาพ สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร, 2551) เปนผูส่ือขาวสารสาธารณสุข แกประชาชนในชุมชน เปนแกนนําสุขภาพภาคประชาชน ครอบคลุมมิติดานการสงเสริมสุขภาพ ในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ปฏิบัติงานบริการสาธารณสุขพ้ืนฐานตามสภาพปญหาสุขภาพในพ้ืนที่และตามความตองการของประชาชนในชุมชน ครอบคลุมทั้ง 14 องคประกอบ วางแผนแกไขปญหาสาธารณสุขของชุมชนรวมกับทุกภาคสวน มีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนกรุงเทพมหานคร โดยใชหลักการมีสวนรวม การดํารงชีวิตบนพ้ืนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเปนแกนนําในการประสานงานรวมกับหนวยงานที่เ ก่ียวของท้ังในและนอกสํานักอนามัย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ือรวมกันในการพัฒนาชุมชนของตนเองแบบบูรณาการ

ขอเสนอ การอบรมเชิงปฏิบัติการเร่ืองการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานแกอาสาสมัครสาธารณสุข เปนการพัฒนาภาคีเครือขายภาคประชาชนท่ีทํางานเก่ียวกับดานสุขภาพ ซ่ึงสอดคลองกับนโยบายการพัฒนาบุคลากร ใหไดมาตรฐานในการใหบริการขั้นพ้ืนฐานแกประชาชน ซ่ึงจะทําใหประชาชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตท่ีดีตอไป ผูศึกษาจึงไดจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเร่ืองการชวยชีวิตข้ันพ้ืนฐานแกอาสาสมัครสาธารณสุข มีขั้นตอนการดําเนินงานดังน้ี

ขั้นตอนในการดําเนินการ 1. จัดทําโครงการเสนอผูอํานวยการศูนยบริการสาธารณสุข 63 สมาคมแตจ๋ิว แหงประเทศไทย เพ่ือขออนุมัติโครงการ 2. คัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขที่ตองการเขารับการอบรมจากการสํารวจความตองการอบรมเชิงปฏิบัติการชวยชีวิตขั้นพ้ืนฐานของอาสาสมัครสาธารณสุข ในปงบประมาณ 2555 จํานวน 40 คน

Page 16: เรื่ี่เสนอใหองท ประเมิน203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nures551004.pdfต าแหน งพยาบาลว ชาช พชานาญการ