1
สถานการณ์ของโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางยังคงระบาดในต่างประเทศ สำาหรับประเทศไทย พบผู้ป่วยชาวตะวันออกกลาง 1 ราย ที่เดินทางเข้ามาในกรุงเทพฯและรักษาหายเป็นปกติ เมื่อ 18 มิถุนายน 2558 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางหรือโรคเมอร์ส ในเขตสุขภาพที่ 10 ระหว่างเดือนมกราคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยศึกษาจากผู้ป่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวังฯ หรือผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงเดินทางผ่านประเทศแถบตะวันออกกลางที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เขตสุขภาพที่ 10 ทุกราย เก็บตัวอย่างจากระบบทางเดินหายใจบรรจุในอาหารเลี้ยงเชื้อ (VTM) แช่เย็น ตลอดเวลา ตรวจด้วยวิธี Real-time RT-PCR รายงานผลภายใน 8 ชั่วโมง ผลการศึกษามีตัวอย่าง ส่งตรวจ 13 ราย ตรวจไม่พบเชื้อทุกราย ผู้ป่วยมีภูมิลำาเนาในภาคอีสาน ทุกรายมีไข้อุณหภูมิเฉลี่ย 38.2 องศาเซลเซียส มาพบแพทย์ภายใน 1-2 วัน หลังมีไข้ ยังไม่พบผู้ป่วยในเขตสุขภาพที่ 10 ผลการศึกษาใช้ประโยชน์ในการเฝ้าระวัง เตรียมความพร้อมรับมือ และป้องกันการระบาดของโรค ในพื้นที่ต่อไป อดิชัย แสนทวีสุข สุทิศ จันทร์พันธ์ และ จินตนา ว่องวิไลรัตน์ Adichai Saentaweesuk Sutit Janpan and Jintana Wongvilairat ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี Regional Medical Sciences Center 10 th Ubon Ratchathani โรคติดเชื้อไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ MERS-CoV (Middle East Respiratory Syndrome Corona Virus) หรือ โรคติดเชื้อโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2012 กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศเป็นโรคติดต่อ อันตราย ตามพรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2523 สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสที่จัดอยู่ในวงศ์(Family) Coronaviri- dae เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอสายเดี่ยว (Single-stranded RNA) แบ่งย่อยออกเป็น3 สกุล (Genus) : Alphacoronavirus, Betacoronavirus และ Gammacoronavirus โรคติดเชื้อโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2012 จัดเป็นสมาชิกใหม่ของ (Genus) : Betacoronavirus มีความใกล้ชิดกับไวรัสโคโรนาที่พบในค้างคาว มีขนาดจีโนมหรือสารพันธุกรรมประมาณ 30.1 กิโลเบส ซึ่งแยกออกเป็นclade A และ clade B โดยมี Lipid envelop หุ้มสารพันธุกรรม มีความแตกต่างจากเชื้อโคโรน่าสายพันธุ์อื่นๆ คือ ก่อโรคทางเดินหายใจ ในคน เช่น สายพันธุ์ NL63, 229E, OC43 และเชื้อ SARS CoVที่ระบาดในปี พ.ศ. 2546 ซึ่งก่อให้เกิด โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรือโรคซาร์ส ข้อมูลล่าสุดจากการศึกษาจีโนมเชื้อ MERS-CoV ที่แยกจากผู้ป่วยรายที่ 10 ของประเทศเกาหลีใต้ พบว่าแนวโนมทั้งหมดยังมีความเหมือนกับเชื้อตัวแรกที่แยก ได้จากผู้ป่วยในประเทศซาอุดิอาระเบียเมื่อปี พ.ศ.2555 ร้อยละ 99.55 – 99.82 จึงยังไม่พบการกลายพันธุที่ประชาชนหวั่นวิตก การแพร่ระบาดของเชื้อ อาจจะแพร่จากละอองฝอย น้ำามูก น้ำาลาย (Droplet) ของ ผู้ป่วยโดยการไอ จาม ผ่านเข้าทางระบบทางเดินหายใจ หรือสัมผัสที่ปนเปื้อนเสื้อผ้า ของใช้ของผู้ป่วย ระยะฟักตัวของโรคเฉลี่ย 2-14 วัน อัตราการเสียชีวิตร้อยละ 27-40 จะมีอาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ค่อนข้างรุนแรงและเฉียบพลัน ไข้ ไอ หายใจหอบลำาบากและมีอาการไตวายร่วมหรือท้องเสีย สามารถตรวจพบ ในผู้ป่วยและผู้ติดเชื้อที่ไม่แสดงอาการ ในวันที่ 18 มิถุนายน 2558 พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อไวรัสทางเดินหายใจ ตะวันออกกลางในประเทศไทย จำานวน 1 ราย และมีการแพร่ระบาดที่ประเทศเกาหลีใต้ กระทรวงสาธาณสุข กรมควบคุมโรคและกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และหน่วยงานอื่นๆออกมาตราการแนะนำาและคัดกรองผู้มีความเสี่ยง และให้แนวทางการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อและการแพร่กระจายของโรคกับทุกหน่วยงาน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเครือข่ายศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง โดยศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี รับผิดชอบตรวจวิเคราะห์โรคติดเชื้อไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ MERS-CoV โดยวิธี Real-times RT-PCR จำานวน 3 ยีน คือ UpE ,ORF1a และ RnaseP ในเขตสุขภาพที่ 10 และออกรายงานผลภายใน 8 ชั่วโมง และส่งตรวจยืนยันที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรณีให้ผลบวก เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงและยืนยันผู้ป่วย และทำาให้การใช้มาตราการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป เพื่อตรวจหาสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ MERS-CoV เขตสุขภาพที่ 10 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลผลการตรวจของผู้ป่วยแสดงเป็นจำานวนและร้อยละ การศึกษาเป็นแบบ prospective study ใช้กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยหรือผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยเข้าข่าย หรือผู้ป่วยยืนยัน ตามนิยามผู้ป่วยที่ต้องสอบสวนโรค กรมควบคุมโรคคือ ผู้ป่วยติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ส่วนบน ผู้ป่วยอาการปอดบวม และผู้ป่วยปอดบวมรุนแรงไม่ทราบสาเหตุ ที่มีประวัติเดินทาง จากตะวันออกกลางหรือพื้นที่ระบาดที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทุกรายในเขตสุขภาพที่ 10 และใกล้เคียง เก็บตัวอย่างจากระบบทางเดินหายใจ (ตามตารางที่1) แช่.ในกระติกน้ำาแข็งทันที หรือ เก็บที่ 4-8 องศาเซนเซียส ส่งห้องปฏิบัติการภายใน 72 ชม. กรณีไม่สามารถส่งได้ภายใน 72 ชม. ให้เก็บที่ตู้แช่แข็ง – 70 องศาเซนเซียส ทำาการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Real-time RT-PCR ใช้ชุดสกัด Qiagen ใช้ primer และ probe จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ใช้นำายา master mix สำาเร็จรูปคือ Invitrogen superscript III platinum one-step qRT-PCR system เพิ่มปริมาณ สารพันธุกรรมโดยเครื่อง Thermocycler Applied Biosystems (ABI 7500) และ Guanstudio 5 การตรวจหายีน 3 ชนิด คือ Up-E, ORF-1a ต่อเชื้อ MERS-CoV และ RNaseP ของเซลล์เยื่อ บุทางเดินหายใจ (ยีนนี้ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพตัวอย่าง กรณีที่ RNaseP ยีนให้ผลลบ บ่งชี้ถึง ตัวอย่างมีเซลล์เยื่อบุทางเดินหายใจซึ่งเป็นที่ไวรัสเจริญหรืออาศัยอยู่ไม่มากพอ จึงไม่สามารถตรวจพบ เชื้อไวรัส ซึ่งอาจจะเกิดจากการเก็บตัวอย่างที่ไม่ถูกต้อง) พร้อมด้วย Postive และ Negative Contol ทั้ง 3 ยีน ในการตรวจวิเคราะห์จนถึงรายงานผล ใช้เวลาประมาณ 8 ชั่วโมง กรณีผลการตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อ MERS-CoV คือ 1. ยีน Ep-E และ ORF-1a เป็นผลลบ ทั้งคู่ รายงานผลลบ ได้เลย 2. ยีน Ep-E และ ORF-1a เป็นผลบวก ทั้งคู่หรื้อผลบวกยีนใดยีนหนึ่ง ให้ส่งต่อยืนยันทีสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ตรวจ 2 วิธี คือ วิธี Real-time RT-PCR ต่อ ยีน ORF-1a gene และ ORF-1b gene เวลา 8 ชม. การตรวจลำาดับนิวคลีโอไทด์ (Nucleotide sequencing) ต่อยีน RdRp หรือ N gene ใช้เวลา 24 ชั่วโมง ระยะเวลาดำาเนินการศึกษา 1 ปี ระหว่าง 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2558 มีตัวอย่างผู้ป่วยหรือผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยัน ตามนิยามผู้ป่วยที่ต้องสอบสวนโรค กรม ควบคุมโรคคือ ผู้ป่วยติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน ผู้ป่วยอาการปอดบวม และผู้ป่วยปอดบวม รุนแรงไม่ทราบสาเหตุ ที่มีประวัติเดินทางจากตะวันออกกลางหรือพื้นที่ระบาดส่งตรวจจากโรงพยาบาล ในเขตสุขภาพที่ 10 จำานวน 5 จังหวัด คือ ศรีสะเกษ ยโสธร อุบลราชธานี อำานาจเจริญ และมุกดาหาร จำานวน 13 ราย กรายมีอาการไข้เฉลี่ย 38.2 องศาเซลเซียส พบแพทย์ภายใน 2 วัน หลังมีไข้ ได้ผลดังแสดงตามตาราง ดังนีผลการตรวจหาสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ MERS-CoV เขตสุขภาพที่ 10 จากตัวอย่างผู้ป่วยหรือผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยัน ตามนิยามผู้ป่วยที่ต้องสอบสวนโรค จำานวน 13 ราย พบว่า ไม่สารพันธุกรรม MERS-CoV ทั้ง 2 ยีน คือ Ep-E และ ORF-1a ทั้ง 13 ราย โดยมีการส่งตรวจ ในช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2558 ในช่วงเวลาเดียวกันกับที่พบผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย ในประเทศไทย และการแพร่ระบาดที่ประเทศเกาหลีใต้ และมีการส่งตรวจซ้ำา จำานวน 7 ราย ผลคือ ไม่พบสารพันธุกรรม MERS-CoV ทั้งหมด ทั้งนี้ได้ตรวจวิเคราะห์หาชนิดและสายพันธุ ์ไข้หวัดใหญ่ร่วมด้วย ทั้งชนิด A และ B ทั้ง 13 ราย พบว่าเป็นไข้หวัดใหญ่ชนิด A สายพันธุ์ H3 จำานวน 1 ราย ไม่พบหาชนิดและสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ จำานวน 12 ราย เปรียบเทียบข้อมูลการตรวจวิเคราะห์เชื้อ MERS-CoV ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 ศูนย์ฯช่วงเดือน สิงหาคม 2558 พบว่า จำานวนผู้ป่วยจำานวนทั้งหมด 459 ราย พบเชื้อ MERS-CoV 1 ราย .ไข้หวัดใหญ่ชนิด A สายพันธุ์ H1pdm09 จำานวน 11 ราย, ไข้หวัดใหญ่ชนิด A สายพันธุ์ H3 จำานวน 25 ราย, ไข้หวัดใหญ่ชนิด A (รอยืนยัน)สายพันธุจำานวน 3 ราย และ ไข้หวัดใหญ่ชนิด B จำานวน 20 ราย เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือ พบการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ ตามฤดูกาลร่วมด้วยทำาให้มีความจำาเป็นต้องตรวจเฝ้าระวังร่วมกันต่อไป ทั ้งนี้ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี ได้ตอบสนองนโนบายในการรับตัวอย่าง และตรวจวิเคราะห์ตลอด 24 ชั่วโมง และรายงานผลภายใน 8 ชั่วโมง หลังจากรับตัวอย่างเข้าศูนย์ฯ โดยได้ประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 สำานักงานสาธารณสุขจังหวัด 5 จังหวัด, สำานักควบคุมและป้องกันโรคที่ 10 อุบลราชธานี โรงพยาบาลทุกแห่ง ในการให้ความรู้และแนะนำา ในการเก็บตัวอย่างที่ถูกต้อง และส่งต่อตัวอย่างที่รวดเร็วและมีความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เพื่อรองรับ สถานการณ์หากมีการระบาดของเชื้อไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ MERS-CoV ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ตลอดจนเตรียมรับมือกับเชื้อไวรัสชนิดอื่นๆได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพต่อไป บทคัดย่อ บทนำา การรายงานผล ระยะเวลาดำาเนินการ ผลการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล วัตถุประสงค์ วัสดุวิธีการ สรุปและวิจารณ์ สถานการณ์โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางปี 2558 เขตสุขภาพท่ 10 Situation of Middle East Respiratiry Syndrome on 2015 in Regional Public Health 10 th ยีนที่พบ ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค รวม Ep-E - - - - - - - - - - - - 0 ORF-1a - - - - - - - - - - - - 0 RNaseP - - - - - 5 6 2 - - - - 13 (100.0%) Total of test - - - - - 5 6 2 - - - - 13 (100.0%) ¡ÃÁÇÔ·ÂÒÈÒʵáÒÃá¾·Â DEPARTMENT OF MEDICAL SCIENCES ตารางที่ 1 แสดงชนิดและวิธีการเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อ MERS- CoV และเชื้อไวรัสชนิดอื่นๆ ด้วยวิธี Real-time PCR ตำาแหน่งเก็บสิ่งส่งตรวจ (อาการ) ชนิดสิ่งส่งตรวจ คำาแนะนำาเพิ่มเติม ทางเดินหายใจส่วนล่าง (ปอดบวม ปอดอักเสบ) Bronchoalveola lavage ,Tracheal aspirate, tracheal suction, sputum ใส่ภาขนะปลอดเชื้อ ไม่ต้องใส่ VTM (ยกเว้น ET-tube ใส่ VTM) ควรเก็บตัวอย่างจากทางเดินหายใจ ส่วนบนควบคู่ไปด้วย (เพิ่มโอกาสการพบเชื้อ) ทางเดินหายใจส่วนบน (คล้ายไข้หวัดใหญ่) Nasopharyngeal aspirate,nasopharyngeal wash,ใส่ภาขนะปลอดเชื้อไม่ต้องใส่ VTM Nasopharyngeal swab ร่วมกับ Throat swab ใสใน VTM หลอดเดียวกัน ใช้ Dacron หรือ Rayon swab ที่ก้านทำาด้วยลวดหรือพลาสติก และไม่มีสาร calcium alginate ทางเดินอาหาร (ท้องร่วง) เก็บอุจจาระใส่ภาชนะปลอดเชื้อ 10-20 มล. หรือประมาณ 5-10 กรัม - ทางเดินปัสสาวะ (ไตวาย) เก็บปัสสาวะใส่ในภาชนะปลอดเชื้อ 10-20 มล. - เอกสารอ้างอิง 1. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบล่าและไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลางทางห้องปฏัติการ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 1 2558. 2. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการปฏิบัติงานป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2012 สำาหรับบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข. สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 1 2557. 3. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. มาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจวิเคราะห์เชื้อไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ A(H1N1) ทางห้องปฏัติการชันสุตรสาธาณสุข. กรุงเทพฯ : พัฒนาออนไลน์ ; .2553. 4. WHO Laboratory Testing for Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus.Interim Guidance,(Revised) June 2015. 5. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำาหรับบุคลากรสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข 2551. ตารางที่ 2 แสดงผลการตรวจหาสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ MERS-CoV เขตสุขภาพที่ 10 ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2558

สถานการณ์โรคทางเดินหายใจ ... อดิ...โรคทางเด นหายใจเฉ ยบพล นร นแรงหร อโรคซาร

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สถานการณ์โรคทางเดินหายใจ ... อดิ...โรคทางเด นหายใจเฉ ยบพล นร นแรงหร อโรคซาร

สถานการณของโรคทางเดนหายใจตะวนออกกลางยงคงระบาดในตางประเทศ สำาหรบประเทศไทย

พบผปวยชาวตะวนออกกลาง 1 ราย ทเดนทางเขามาในกรงเทพฯและรกษาหายเปนปกต เมอ 18 มถนายน

2558 การศกษานมวตถประสงคเพอศกษาสถานการณโรคทางเดนหายใจตะวนออกกลางหรอโรคเมอรส

ในเขตสขภาพท 10 ระหวางเดอนมกราคมถงธนวาคม พ.ศ. 2558 โดยศกษาจากผปวยทเขาขายเฝาระวงฯ

หรอผสมผสทมความเสยงเดนทางผานประเทศแถบตะวนออกกลางทเขารบการรกษาในโรงพยาบาล

เขตสขภาพท 10 ทกราย เกบตวอยางจากระบบทางเดนหายใจบรรจในอาหารเลยงเชอ (VTM) แชเยน

ตลอดเวลา ตรวจดวยวธ Real-time RT-PCR รายงานผลภายใน 8 ชวโมง ผลการศกษามตวอยาง

สงตรวจ 13 ราย ตรวจไมพบเชอทกราย ผปวยมภมลำาเนาในภาคอสาน ทกรายมไขอณหภมเฉลย

38.2 องศาเซลเซยส มาพบแพทยภายใน 1-2 วน หลงมไข ยงไมพบผปวยในเขตสขภาพท 10

ผลการศกษาใชประโยชนในการเฝาระวง เตรยมความพรอมรบมอ และปองกนการระบาดของโรค

ในพนทตอไป

อดชย แสนทวสข สทศ จนทรพนธ และ จนตนา วองวไลรตนAdichai Saentaweesuk Sutit Janpan and Jintana Wongvilairat

ศนยวทยาศาสตรการแพทยท 10 อบลราชธานRegional Medical Sciences Center 10th Ubon Ratchathani

โรคตดเชอไวรสทางเดนหายใจตะวนออกกลาง หรอ MERS-CoV (Middle East Respiratory Syndrome

Corona Virus) หรอ โรคตดเชอโคโรนาสายพนธใหม 2012 กระทรวงสาธารณสขไดประกาศเปนโรคตดตอ

อนตราย ตามพรบ.โรคตดตอ พ.ศ. 2523 สาเหตเกดจากเชอไวรสทจดอยในวงศ(Family) Coronaviri-

dae เปนไวรสชนดอารเอนเอสายเดยว (Single-stranded RNA) แบงยอยออกเปน3 สกล (Genus) :

Alphacoronavirus, Betacoronavirus และ Gammacoronavirus โรคตดเชอโคโรนาสายพนธใหม

2012 จดเปนสมาชกใหมของ (Genus) : Betacoronavirus มความใกลชดกบไวรสโคโรนาทพบในคางคาว

มขนาดจโนมหรอสารพนธกรรมประมาณ 30.1 กโลเบส ซงแยกออกเปนclade A และ clade B

โดยม Lipid envelop หมสารพนธกรรม มความแตกตางจากเชอโคโรนาสายพนธอนๆ คอ กอโรคทางเดนหายใจ

ในคน เชน สายพนธ NL63, 229E, OC43 และเชอ SARS CoVทระบาดในป พ.ศ. 2546 ซงกอใหเกด

โรคทางเดนหายใจเฉยบพลนรนแรงหรอโรคซารส ขอมลลาสดจากการศกษาจโนมเชอ MERS-CoV

ทแยกจากผปวยรายท 10 ของประเทศเกาหลใต พบวาแนวโนมทงหมดยงมความเหมอนกบเชอตวแรกทแยก

ไดจากผปวยในประเทศซาอดอาระเบยเมอป พ.ศ.2555 รอยละ 99.55 – 99.82 จงยงไมพบการกลายพนธ

ทประชาชนหวนวตก การแพรระบาดของเชอ อาจจะแพรจากละอองฝอย นำามก นำาลาย (Droplet) ของ

ผปวยโดยการไอ จาม ผานเขาทางระบบทางเดนหายใจ หรอสมผสทปนเปอนเสอผา ของใชของผปวย

ระยะฟกตวของโรคเฉลย 2-14 วน อตราการเสยชวตรอยละ 27-40 จะมอาการตดเชอระบบทางเดนหายใจ

คอนขางรนแรงและเฉยบพลน ไข ไอ หายใจหอบลำาบากและมอาการไตวายรวมหรอทองเสย สามารถตรวจพบ

ในผปวยและผตดเชอทไมแสดงอาการ ในวนท 18 มถนายน 2558 พบผปวยยนยนตดเชอไวรสทางเดนหายใจ

ตะวนออกกลางในประเทศไทย จำานวน 1 ราย และมการแพรระบาดทประเทศเกาหลใต กระทรวงสาธาณสข

กรมควบคมโรคและกรมวทยาศาสตรการแพทยและหนวยงานอนๆ ออกมาตราการแนะนำาและคดกรองผมความเสยง

และใหแนวทางการปองกนและควบคมการตดเชอและการแพรกระจายของโรคกบทกหนวยงาน

กรมวทยาศาสตรการแพทย และเครอขายศนยวทยาศาสตรการแพทย 14 แหง โดยศนยวทยาศาสตร

การแพทยท 10 อบลราชธาน รบผดชอบตรวจวเคราะหโรคตดเชอไวรสทางเดนหายใจตะวนออกกลาง

หรอ MERS-CoV โดยวธ Real-times RT-PCR จำานวน 3 ยน คอ UpE ,ORF1a และ RnaseP

ในเขตสขภาพท 10 และออกรายงานผลภายใน 8 ชวโมง และสงตรวจยนยนทสถาบนวจยวทยาศาสตร

สาธารณสข กรมวทยาศาสตรการแพทย กรณใหผลบวก เพอคดกรองผมความเสยงและยนยนผปวย

และทำาใหการใชมาตราการควบคมและปองกนการแพรระบาดของโรคเปนไปอยางมประสทธภาพตอไป

เพอตรวจหาสารพนธกรรมเชอไวรสทางเดนหายใจตะวนออกกลาง

หรอ MERS-CoV เขตสขภาพท 10

ขอมลทวไปและขอมลผลการตรวจของผปวยแสดงเปนจำานวนและรอยละ

การศกษาเปนแบบ prospective study ใชกลมตวอยางผปวยหรอผใกลชดผปวยเขาขาย

หรอผปวยยนยน ตามนยามผปวยทตองสอบสวนโรค กรมควบคมโรคคอ ผปวยตดเชอระบบทางเดนหายใจ

สวนบน ผปวยอาการปอดบวม และผปวยปอดบวมรนแรงไมทราบสาเหต ทมประวตเดนทาง

จากตะวนออกกลางหรอพนทระบาดทเขารบการรกษาในโรงพยาบาลทกรายในเขตสขภาพท 10

และใกลเคยง เกบตวอยางจากระบบทางเดนหายใจ (ตามตารางท1) แช.ในกระตกนำาแขงทนท หรอ

เกบท 4-8 องศาเซนเซยส สงหองปฏบตการภายใน 72 ชม. กรณไมสามารถสงไดภายใน 72 ชม.

ใหเกบทตแชแขง – 70 องศาเซนเซยส ทำาการตรวจวเคราะหดวยวธ Real-time RT-PCR ใชชดสกด

Qiagen ใช primer และ probe จากสถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสข ใชนำายา master mix

สำาเรจรปคอ Invitrogen superscript III platinum one-step qRT-PCR system เพมปรมาณ

สารพนธกรรมโดยเครอง Thermocycler Applied Biosystems (ABI 7500) และ Guanstudio 5

การตรวจหายน 3 ชนด คอ Up-E, ORF-1a ตอเชอ MERS-CoV และ RNaseP ของเซลลเยอ

บทางเดนหายใจ (ยนนใชในการตรวจสอบคณภาพตวอยาง กรณท RNaseP ยนใหผลลบ บงชถง

ตวอยางมเซลลเยอบทางเดนหายใจซงเปนทไวรสเจรญหรออาศยอยไมมากพอ จงไมสามารถตรวจพบ

เชอไวรส ซงอาจจะเกดจากการเกบตวอยางทไมถกตอง) พรอมดวย Postive และ Negative Contol

ทง 3 ยน ในการตรวจวเคราะหจนถงรายงานผล ใชเวลาประมาณ 8 ชวโมง

กรณผลการตรวจหาสารพนธกรรมของเชอ MERS-CoV คอ

1. ยน Ep-E และ ORF-1a เปนผลลบ ทงค รายงานผลลบ ไดเลย

2. ยน Ep-E และ ORF-1a เปนผลบวก ทงคหรอผลบวกยนใดยนหนง ใหสงตอยนยนท

สถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสข กรมวทยาศาสตรการแพทยตรวจ 2 วธ คอ

• วธ Real-time RT-PCR ตอ ยน ORF-1a gene และ ORF-1b gene เวลา 8 ชม.

• การตรวจลำาดบนวคลโอไทด (Nucleotide sequencing) ตอยน RdRp หรอ N gene ใชเวลา 24 ชวโมง

ระยะเวลาดำาเนนการศกษา 1 ป ระหวาง 1 มกราคม - 31 ธนวาคม 2558

มตวอยางผปวยหรอผใกลชดผปวยเขาขายหรอผปวยยนยน ตามนยามผปวยทตองสอบสวนโรค กรม

ควบคมโรคคอ ผปวยตดเชอระบบทางเดนหายใจสวนบน ผปวยอาการปอดบวม และผปวยปอดบวม

รนแรงไมทราบสาเหต ทมประวตเดนทางจากตะวนออกกลางหรอพนทระบาดสงตรวจจากโรงพยาบาล

ในเขตสขภาพท 10 จำานวน 5 จงหวด คอ ศรสะเกษ ยโสธร อบลราชธาน อำานาจเจรญ และมกดาหาร

จำานวน 13 ราย กรายมอาการไขเฉลย 38.2 องศาเซลเซยส พบแพทยภายใน 2 วน หลงมไข

ไดผลดงแสดงตามตาราง ดงน

ผลการตรวจหาสารพนธกรรมเชอไวรสทางเดนหายใจตะวนออกกลาง หรอ MERS-CoV เขตสขภาพท 10

จากตวอยางผปวยหรอผใกลชดผปวยเขาขายหรอผปวยยนยน ตามนยามผปวยทตองสอบสวนโรค จำานวน 13 ราย

พบวา ไมสารพนธกรรม MERS-CoV ทง 2 ยน คอ Ep-E และ ORF-1a ทง 13 ราย โดยมการสงตรวจ

ในชวงเดอนมถนายน – สงหาคม 2558 ในชวงเวลาเดยวกนกบทพบผปวยยนยน 1 ราย ในประเทศไทย

และการแพรระบาดทประเทศเกาหลใต และมการสงตรวจซำา จำานวน 7 ราย ผลคอ ไมพบสารพนธกรรม

MERS-CoV ทงหมด ทงนไดตรวจวเคราะหหาชนดและสายพนธไขหวดใหญรวมดวย ทงชนด A และ B

ทง 13 ราย พบวาเปนไขหวดใหญชนด A สายพนธ H3 จำานวน 1 ราย ไมพบหาชนดและสายพนธไขหวดใหญ

จำานวน 12 ราย เปรยบเทยบขอมลการตรวจวเคราะหเชอ MERS-CoV ของสถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสข

กรมวทยาศาสตรการแพทย และศนยวทยาศาสตรการแพทย 14 ศนยฯชวงเดอน สงหาคม 2558 พบวา

จำานวนผปวยจำานวนทงหมด 459 ราย พบเชอ MERS-CoV 1 ราย .ไขหวดใหญชนด A สายพนธ H1pdm09

จำานวน 11 ราย, ไขหวดใหญชนด A สายพนธ H3 จำานวน 25 ราย, ไขหวดใหญชนด A (รอยนยน)สายพนธ

จำานวน 3 ราย และ ไขหวดใหญชนด B จำานวน 20 ราย เปนไปในทศทางเดยวกนคอ พบการตดเชอไขหวดใหญ

ตามฤดกาลรวมดวยทำาใหมความจำาเปนตองตรวจเฝาระวงรวมกนตอไป

ทงนศนยวทยาศาสตรการแพทยท 10 อบลราชธาน ไดตอบสนองนโนบายในการรบตวอยาง

และตรวจวเคราะหตลอด 24 ชวโมง และรายงานผลภายใน 8 ชวโมง หลงจากรบตวอยางเขาศนยฯ

โดยไดประสานงานกบหนวยงานสาธารณสขในพนทเขตสขภาพท 10 สำานกงานสาธารณสขจงหวด 5 จงหวด,

สำานกควบคมและปองกนโรคท 10 อบลราชธาน โรงพยาบาลทกแหง ในการใหความรและแนะนำา

ในการเกบตวอยางทถกตอง และสงตอตวอยางทรวดเรวและมความปลอดภยในการปฏบตงาน เพอรองรบ

สถานการณหากมการระบาดของเชอไวรสทางเดนหายใจตะวนออกกลาง หรอ MERS-CoV ดงกลาวเพมขน

ตลอดจนเตรยมรบมอกบเชอไวรสชนดอนๆไดอยางถกตองและมประสทธภาพตอไป

บทคดยอ

บทนำา การรายงานผล

ระยะเวลาดำาเนนการ

ผลการศกษา

การวเคราะหขอมล

วตถประสงค

วสดวธการสรปและวจารณ

สถานการณโรคทางเดนหายใจตะวนออกกลางป 2558 เขตสขภาพท 10Situation of Middle East Respiratiry Syndrome on 2015 in Regional Public Health 10th

ยนทพบ ม.ค ก.พ ม.ค เม.ย พ.ค ม.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค รวม

Ep-E - - - - - - - - - - - - 0

ORF-1a - - - - - - - - - - - - 0RNaseP - - - - - 5 6 2 - - - - 13

(100.0%)

Total of test - - - - - 5 6 2 - - - - 13(100.0%)

¡ÃÁÇÔ·ÂÒÈÒʵÃ�¡ÒÃá¾·Â�DEPARTMENT OF MEDICAL SCIENCES

ตารางท 1 แสดงชนดและวธการเกบตวอยางเพอตรวจหาสารพนธกรรมของเชอ MERS- CoV

และเชอไวรสชนดอนๆ ดวยวธ Real-time PCRตำาแหนงเกบสงสงตรวจ

(อาการ)ชนดสงสงตรวจ คำาแนะนำาเพมเตม

ทางเดนหายใจสวนลาง(ปอดบวม ปอดอกเสบ)

Bronchoalveola lavage ,Tracheal aspirate,

tracheal suction, sputum ใสภาขนะปลอดเชอ

ไมตองใส VTM (ยกเวน ET-tube ใส VTM)

ควรเกบตวอยางจากทางเดนหายใจ

สวนบนควบคไปดวย

(เพมโอกาสการพบเชอ)

ทางเดนหายใจสวนบน(คลายไขหวดใหญ)

• Nasopharyngeal aspirate,nasopharyngeal

wash,ใสภาขนะปลอดเชอไมตองใส VTM

• Nasopharyngeal swab รวมกบ

Throat swab ใสใน VTM หลอดเดยวกน

ใช Dacron หรอ Rayon swab

ทกานทำาดวยลวดหรอพลาสตก

และไมมสาร calcium alginate

ทางเดนอาหาร (ทองรวง)เกบอจจาระใสภาชนะปลอดเชอ 10-20 มล.

หรอประมาณ 5-10 กรม

-

ทางเดนปสสาวะ (ไตวาย) เกบปสสาวะใสในภาชนะปลอดเชอ 10-20 มล. -

เอกสารอางอง 1. กรมวทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสข. คมอการตรวจวนจฉยโรคตดเชอไวรสอโบลาและไวรสทางเดนหายใจตะวนออกกลางทางหองปฏตการ. สถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสข กรมวทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสข. พมพครงท 1 2558.

2. กรมควบคมโรค กระทรวงสาธารณสข. คมอการปฏบตงานปองกน ควบคมโรคตดเชอโคโรนาไวรส 2012 สำาหรบบคลากรดานการแพทยและสาธารณสข. สำานกโรคตดตออบตใหม กรมควบคมโรค กระทรวงสาธารณสข. พมพครงท 1 2557.

3. กรมวทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสข. มาตรฐานการปฏบตงานตรวจวเคราะหเชอไขหวดใหญ สายพนธใหม A(H1N1) ทางหองปฏตการชนสตรสาธาณสข. กรงเทพฯ : พฒนาออนไลน ; .2553.

4. WHO Laboratory Testing for Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus.Interim Guidance,(Revised) June 2015.

5. กรมควบคมโรค กระทรวงสาธารณสข. แนวทางการปองกนควบคมโรคตดตออบตใหม สำาหรบบคลากรสาธารณสข. กระทรวงสาธารณสข 2551.

ตารางท 2 แสดงผลการตรวจหาสารพนธกรรมเชอไวรสทางเดนหายใจตะวนออกกลาง

หรอ MERS-CoV เขตสขภาพท 10 ระหวางวนท 1 มกราคม ถง 31 ธนวาคม 2558