28
1 วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการสงงานของผูเรียนหลังการใชเว็บไซต www.weebly.com กับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที1 หอง 5 ภาคเรียนที2 ปการศึกษา2556 โรงเรียนศึกษานารี โดย นางสาวมัลลิกา จันตรี รหัสนิสิต 5210602338 สาขาธุรกิจและคอมพิวเตอรศึกษา วิจัยในชั้นเรียนนี้เปนสวนหนึ่งของการฝกประสบการณวิชาชีพศึกษาศาสตร ภาคปลาย ปการศึกษา 2556 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

1

วิจัยในชั้นเรียน

เร่ือง การศึกษาพฤติกรรมการสงงานของผูเรียนหลังการใชเว็บไซต www.weebly.com กับ

นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา2556

โรงเรียนศึกษานารี

โดย

นางสาวมัลลิกา จันตรี รหัสนิสิต 5210602338

สาขาธุรกิจและคอมพิวเตอรศึกษา

วิจัยในช้ันเรียนนี้เปนสวนหนึ่งของการฝกประสบการณวิชาชีพศึกษาศาสตร

ภาคปลาย ปการศึกษา 2556

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 2: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

2

บทคัดยอ

การวิจัยในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนหลังจากการศึกษาเว็บไซต

www.weebly.com กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศึกษานารี

จํานวน 50 คนโดยการสรางเว็บไซตน้ีไดสรางขึ้นตามหลักทฤษฎีการเรียนรูของไทเลอร คือ 1.ความตอเน่ือง

นักเรียนจะไดรับการฝกฝนการใชโปรแกรม Dreamweaver อยางตอเน่ืองหลังจากการศึกษาเว็บไซต weebly 2.

การจัดชวงลําดับ ในการฝกการใชโปรแกรม Dreamweaver ครูผูสอนจะมีการจัดชวงลําดับเน้ือหาจากงายไปยาก

เพื่อใหนักเรียนไดเกิดความเขาใจในการใชโปรแกรมใหมากขึ้น 3.การบูรณาการ เมื่อนักเรียนไดศึกษาการใช

โปรแกรม Dreamweaver ผานเว็บไซต weebly แลว นักเรียนสามารถนําความรูทั้งหมดมาบูรณาการในการสราง

ชิ้นงานได ซึ่งมีเคร่ืองมือสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลในการทําวิจัยคร้ังน้ีคือ แบบสังเกตพฤติกรรมการสงงาน

นักเรียนมีพฤติกรรมการสงงานที่มากขึ้นโดยอยูที่คา T score ที่เพิ่มขึ้น 10.545%

ซึ่งจากงานวิจัยพฤติกรรมการสงงานหลังจาการศึกษาเว็บไซต weebly ของนักเรียนพบวา นักเรียนมี

พฤติกรรมการสงงานที่เพิ่มขึ้น เน่ืองจากเมื่อนักเรียนไดศึกษาเว็บไซต weebly แลว นักเรียนเกิดความเขาใจใน

เน้ือหาและไดมีการฝกฝนการใชโปรแกรมอยางตอเน่ือง สงผลใหสามารถทําชิ้นงานไดและมีงานสงตามเวลาที่

กําหนด

Page 3: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

3

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการศึกษาพฤติกรรมการสงงานหลังการศึกษาเว็บไซต weebly ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 หอง 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศึกษานารีน้ีสําเร็จลงไดดวยความกรุณาจาก ผศ.ดร.นงลักษณ มโนวลัยเลาผูซึ่งกรุณา

ใหความรู คําแนะนํา คําปรึกษา และตรวจแกไขรายงานใหเสร็จสมบูรณ

ทายสุดน้ีหากมีส่ิงขาดตกบกพรองหรือผิดพลาดประการใดผูเขียนขออภัยเปนอยางสูงในขอผิดพลาดน้ัน และหวัง

วารายงานการศึกษาพฤติกรรมการสงงานหลังการศึกษาเว็บไซต weebly ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 หอง 5 ภาคเรียนท่ี

2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศึกษานารีคงมีประโยชนตอการศึกษาไมมากก็นอย

มัลลิกา จันตรี

ผูรายงาน

Page 4: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

4

บทที่ 1

บทนํา

ชื่อผูวิจัย : นางสาวมัลลิกา จันตรี

ชื่อเร่ืองวิจัย : การศึกษาพฤติกรรมการสงงานของผูเรียนหลังการใชเว็บไซต www.weebly.com

กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศึกษานารี

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตราที่ 66 ได

ระบุไววา “ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรก ที่ทํา

ได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรูดวยตนเองไดอยาง

ตอเน่ืองตลอดชีวิต” ทางโรงเรียนศึกษานารีจึงไดจัดสอนวิชาเทคโนโลยี 1 ใหกับนักเรียนเพื่อตอบรับกับ

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เน้ือหาของวิชาเทคโนโลยี 1 ผูเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการใช

เทคโนโลยีคอมพิวเตอรที่ใชในชีวิตประจําวัน การฝกการแกปญหาที่เกิดจากการใชคอมพิวเตอรเบื้องตน การฝก

การใชโปรแกรมตางๆที่เปนพื้นฐานเพื่อที่จะนําไปใชในการแสวงหาความรูตอไปในอนาคต แตเน่ืองดวย

เน้ือหาวิชาเทคโนโลยี 1 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนศึกษานารี เปนเน้ือหาวิชาที่เนนการฝกการ

ใชโปรแกรม Dreamweaver มีนักเรียนหลายคนมีปญหาเรียนไมทันเน่ืองจากในโปรแกรม Dreamweaver มี

เคร่ืองมือการใชงานและฟงกชั่นที่หลากหลาย นักเรียนชั้นม.1 จึงไมเขาใจเกี่ยวกับการใชงานเคร่ืองมือตางๆ ทําให

ไมสามารถสรางชิ้นงานตามที่ผูสอนกําหนดได ดวยเวลาที่จํากัดเพียง 1 ชั่วโมง 40 นาทีตอสัปดาหทําใหผูสอนไม

สามารถทบทวนไดหลายคร้ังเพราะเวลามีนอยและเน้ือหาที่มีคอนขางมาก นักเรียนมีการซักถามซ้ําหลายคร้ัง

นักเรียนมีจํานวนมาก(นักเรียน50 คน/ครู 1 คน) ทําใหไมสามารถดูแลนักเรียนไดทั่วถึง สงผลใหผลงานไมเกิด

ความคืบหนา และไมไดสงชิ้นงานในที่สุด

Page 5: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

5

ปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของนักเรียนมากยิ่งขึ้น เน่ืองดวยเทคโนโลยีมีขอดี

คือสามารถใชเปนชองทางในการเผยแพรขอมูลได เพราะมีตนทุนที่ตํ่า สามารถปรับปรุงขอมูลใหมีความทันสมัย

ไดตลอดเวลา ผูเรียนสามารถเขาถึงไดทุกที่โดยไมตองอยูแตในหองเรียน ผูสอนจึงไดจัดทําเว็บไซตขึ้น เพื่อให

นักเรียนไดทบทวนเน้ือหาที่ไดเรียนไปในชั้นเรียน เพราะเว็บไซตเปนชองทางที่นักเรียนทุกคนสามารถเขาถึงได

ทุกที่ทุกเวลาผานทางคอมพิวเตอรและสมารทโฟน โดยเว็บไซตน้ีสรางขึ้นจากเว็บไซต www.weebly.com เปน

เว็บไซตที่เปดใหครูผูสอนเขาไปใชงานไดฟรีภายใตโดเมนของ weebly ครูผูสอนสามารถใสเน้ือหาไดทั้ง

ตัวอักษร รูปภาพ คลิปวิดีโอ

ดังน้ันผูทําการวิจัยในชั้นเรียนจึงไดทําการศึกษาผลการเรียนรูของผูเรียนหลักจากการใชเว็บไซต

www.weebly.com กับนักเรียนชั้นม.1 โดยยึดหลักตามทฤษฎีการเรียนรู 3 ขอ ของไทเลอร คือ 1.ความตอเน่ือง

ครูผูสอนเปดโอกาสใหนักเรียนไดมีการฝกทักษะการใชโปรแกรม Dreamweaver อยางตอเน่ืองเพื่อใหเกิดความ

ชํานาญในการใชเคร่ืองมือตางๆในโปรแกรมและใหศึกษาการใชเคร่ืองมือตางๆผาน www.weebly.com นอกเวลา

เรียนเพื่อใหนักเรียนไดฝกการใชโปรแกรมอยางตอเน่ืองจนเกิดความชํานาญ 2.การจัดชวงลําดับ ครูผูสอนไดมี

การจัดชวงลําดับของเน้ือหาจากงายไปหายากเพื่อใหนักเรียนรูลึกเกี่ยวกับโปรแกรมที่เรียน และใน

www.weebly.com ครูผูสอนไดมีการอัพเดตเน้ือหาโดยเปลี่ยนจากเน้ือหางายไปถึงยากตามละดับ เพื่อใหนักเรียน

ไดพัฒนาทักษะการใชโปรแกรมในขั้นที่สูงขึ้นไป 3.บูรณาการ ครูผูสอนใหนักเรียนนําความรูที่เรียนมาใชในการ

สรางชิ้นงานโดยบูรณาการการใชเคร่ืองมือตางๆมาสรางสรรคชิ้นงานของตนเอง

เมื่อนักเรียนสามารถทบทวนเน้ือหาไดดวยตัวเองผานเว็บไซตแลว นักเรียนจะไดทบทวนเน้ือหาเกี่ยวกับ

การสรางเว็บไซตดวยโปรแกรม Dreamweaver อยางตอเน่ืองจนเกิดความชํานาญ เกิดความเขาใจในการใช

เคร่ืองมือตางๆมากยิ่งขึ้น สงผลใหการทํางานของนักเรียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นสามารถนําความรูมาสราง

ชิ้นงานของตนเองได สงผลใหนักเรียนสามารถทํางานสงตรงตามเวลาที่ครูผูสอนกําหนดได

Page 6: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

6

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนหลังจากการศึกษาเว็บไซต www.weebly.com กับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนศึกษานารี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556

สมมุติฐาน

เ ว็บไซต www.weebly.com ชวยเพิ่มความเขาใจในการสรางชิ้นงานและเกิดความคืบหนา ในการสราง

ชิ้นงานของนักเรียนอยางตอเน่ือง

ขอบเขตของการวิจัย

1. ขอบเขตดานเน้ือหาทําการวิจัยในเน้ือหาเร่ือง Dreamweaver วิชาเทคโนโลยี 1

2. ประชากรของการวิจัยคร้ังน้ีคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 2,5 และ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา

2556 โรงเรียนศึกษานารี รวมทั้งสิ้น 148 คน

3. กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียน

ศึกษานารี รวมทั้งสิ้น 50 คน

4. ตัวแปรที่ศึกษาไดแก

4.1 ตัวแปรอิสระ คือ การใชเว็บไซต www.weebly.com

4.2 ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการสงงานของนักเรียนโดยศึกษาจากแบบสังเกตพฤติกรรมการสงงาน

Page 7: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

7

ตารางข้ันตอนการดําเนินการ

นิยามศัพทคําศัพท

ผลการเรียนรู หมายถึง สิ่งที่พัฒนาขึ้นในตัวนักเรียน ทั้งจากการเรียนในหองเรียน กิจกรรมในและนอก

หลักสูตร ปฏิสัมพันธกับนักเรียนคนอ่ืน ครู ประสบการณที่เกิดขึ้นในชวงเวลาที่เรียน

ผลการเรียนรูตองวัดได และครอบคลุมถึง สาระความรู ความเขาใจในเน้ือหาวิชา ทักษะหรือ

ความสามารถในการนําความรูไปใช พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย

เว็บไซต หมายถึง หนาเว็บเพจหลายๆหนาที่เชื่อมโยงผานลิงค สวนใหญจัดทําขึ้น เพื่อนําเสนอขอมูล

ตางๆเชน ขอมูลทางวิชาการ โดยถูกจัดเก็บไวใน www เว็บไซตโดยทั่วไปจะเปดใหใชบริการไดฟรี แตมีบาง

เว็บไซตที่จําเปนตองสมัครสมาชิกหรือเสียคาใชจาย

กิจกรม

พฤศจิกายน

2556

ธันวาคม

2556

มกราคม

2557

กุมภาพันธ

2557

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

1.ศึกษาเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรูและผลลัพธท่ีคาดหวัง

2. กําหนด www.weebly.com ในการสรางส่ือ

3. ศึกษาวิธีการออกแบบเว็บไซต

4. ออกแบบและสรางเว็บไซต

5. นําบทเรียนใหผูเช่ียวชาญเพื่อตรวจสอบแกไขปรับปรุง

6. ปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ

7. นําบทเรียนไปทดลองใชกับกลุมท่ีไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อแกไข

ปรับปรุง

8. นําบทเรียนไปใชกับกลุมทดลอง

9. สรุปและประเมินผล

Page 8: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

8

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

งานวิจัยเร่ือง “การศึกษาผลการเรียนรูของผูเรียนหลังการใชเว็บไซต www.weebly.com

กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1”

จากชื่อเร่ืองดังกลาวผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังน้ี

1. เว็บไซต

- ความหมายของเว็บไซต

- รูปแบบเว็บไซต

- องคประกอบของเว็บไซต

- ประโยชนของเว็บไซต

2. การออกแบบทางทัศนะ (Visual Design)

3. ทฤษฎีการเรียนรูที่เกี่ยวของ

- ทฤษฎีการเรียนรูของไทเลอร

1.เว็บไซต

1.1 ความหมายของเว็บไซต

เว็บไซต (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หนาเว็บเพจหลายหนา ซึ่งเชื่อมโยงกันผานทาง

ไฮเปอรลิงก สวนใหญจัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอขอมูลผานคอมพิวเตอร โดยถูกจัดเก็บไวในเวิลดไวดเว็บ หนาแรก

ของเว็บไซตที่เก็บไวที่ชื่อหลักจะเรียกวา โฮมเพจ เว็บไซตโดยทั่วไปจะใหบริการตอผูใชฟรี แตใน

ขณะเดียวกันบางเว็บไซตจําเปนตองมีการสมัครสมาชิกและเสียคาบริการเพื่อที่จะดูขอมูล ในเว็บไซตน้ัน ซึ่ง

ไดแกขอมูลทางวิชาการ ขอมูลตลาดหลักทรัพย หรือขอมูลสื่อตางๆ ผูทําเว็บไซตมีหลากหลายระดับ ต้ังแต

Page 9: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

9

สรางเว็บไซตสวนตัว จนถึงระดับเว็บไซตสําหรับธุรกิจหรือองคกรตางๆ การเรียกดูเว็บไซตโดยทั่วไปนิยม

เรียกดูผานซอฟตแวรในลักษณะของ เว็บเบราเซอร

1.2 รูปแบบของเว็บไซต

รูปแบบของเว็บไซตแบงออกเปน 2 รูปแบบ ดังน้ี

1. Static Website

เว็บไซตที่สรางดวยภาษา HTML ธรรมดา และบันทึกเปนไฟลนามสกุล .html เน้ือหาขอความ

รูปภาพในหนาเว็บเพจน้ันจะเปนไปตามที่เราเขียนกําหนดไว เมื่อมีผูเรียกดูหนาเว็บเพจน้ัน Web

Server ก็จะสงไฟลน้ันไปใหยังเคร่ืองที่รองขอ และแสดงผลออกทางโปรแกรมเว็บเบราเซอรบนเคร่ือง

ของผูชมน้ัน

ภาพท่ี 1 แสดงสวนประกอบของเว็บไซต

Page 10: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

10

2. Dynamic Website

เหมาะกับเว็บไซตที่มีขนาดใหญ จํานวนหนาเว็บเพจไมมาก ไมมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลบอยๆ

และไมมีการติดตอฐานขอมูล ถาเราจะสรางเว็บรูปแบบน้ีสามารถทําไดไมยาก โดยตองศึกษาเร่ืองการ

เขียนเว็บเพจดวย HTMLกอน ขอดีของเว็บรูปแบบน้ี คือ สามารถกําหนดรูปแบบการตกแตง และเน้ือหา

ของแตละหนาไดตามตองการ แตก็ควรควบคุมสไตลของแตละหนาใหเหมือนกัน อยาใหหนาใดโดดจน

คิดวาเปนคนละเว็บไซตกัน สวนขอเสียคือ การแกไขเปลี่ยนแปลงยุงยาก จะตองแกไขกับไฟลหนาเว็บเพจ

น้ันๆ เมื่อแกไขแลวก็ตอง Upload ไฟลน้ันขึ้นไป Web Server ใหมทุกคร้ัง และเว็บรูปแบบน้ีจะไมสามารถ

ใชงานฐานขอมูลได

1.3 องคประกอบของเว็บไซต

เว็บไซตที่ดีควรมีองคประกอบดังน้ี

1. ความเรียบงาย (Simplicity)

หมายถึง การจํากัดองคประกอบเสริมใหเหลือเฉพาะองคประกอบหลัก กลาวคือในการสื่อสาร

เน้ือหากับผูใชน้ัน เราตองเลือกเสนอสิ่งที่เราตองการนําเสนอจริง ๆ ออกมาในสวนของกราฟก สีสัน

ตัวอักษรและภาพเคลื่อนไหว ตองเลือกใหพอเหมาะ ถาหากมีมากเกินไปจะรบกวนสายตาและสรางความ

คําราญตอผูใชตัวอยางเว็บไซตที่ไดรับการออกแบบที่ดี ไดแก เว็บไซตของบริษัทใหญ ๆ อยางเชน Apple

Adobe Microsoft หรือ Kokia ที่มีการออกแบบเว็บไซตในรูปแบบที่เรียบงาย ไมซับซอน และใชงาน

อยางสะดวก

2. ความสม่ําเสมอ ( Consistency)

หมายถึง การสรางความสม่ําเสมอใหเกิดขึ้นตลอดทั้งเว็บไซต โดยอาจเลือกใชรูปแบบเดียวกัน

ตลอดทั้งเว็บไซตก็ได เพราะถาหากวาแตละหนาในเว็บไซตน้ันมีความแตกตางกันมากจนเกินไป อาจทํา

Page 11: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

11

ใหผูใชเกิดความสับสนและไมแนใจวากําลังอยูในเว็บไซตเดิมหรือไม เพราะฉะน้ันการออกแบบเว็บไซต

ในแตละหนาควรที่จะมีรูปแบบ สไตลของกราฟก ระบบเนวิเกชั่น (Navigation) และโทนสีที่มีความ

คลายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต

3. ความเปนเอกลักษณ (Identity)

ในการออกแบบเว็บไซตตองคํานึงถึงลักษณะของเน้ือหาบทเรียนเปนหลัก เน่ืองจากเว็บไซตจะ

สะทอนถึงเอกลักษณและลักษณะของวิชา การเลือกใชตัวอักษร ชุดสี รูปภาพหรือกราฟก จะมีผลตอ

รูปแบบของเว็บไซตเปนอยางมาก ตัวอยางเชน ถาเราตองออกแบบเว็บไซตที่มีเน้ือหาเกี่ยวกับอุปกรณ

คอมพิวเตอรแตกลับมีภาพตัวการตูนอยูเยอะเกินไป อาจทําใหผูใชคิดวาเปนเว็บไซตเกี่ยวกับตัวก็การตูน

ก็เปนได

4. เน้ือหา (Useful Content)

ถือเปนสิ่งสําคัญที่สุดในเว็บไซต เน้ือหาในเว็บไซตตองสมบูรณและไดรับการปรับปรุงพัฒนา

ใหทันสมัยอยูเสมอ ผูพัฒนาตองเตรียมขอมูลและเน้ือหาที่ผูใชตองการใหถูกตองและสมบูรณ เน้ือหาที่

สําคัญที่สุดคือเน้ือหาที่ทีมผูพัฒนาสรางสรรคขึ้นมาเอง และไมไปซ้ํากับเว็บอ่ืน เพราะจะถือเปนสิ่งที่

ดึงดูดผูใชใหเขามาเว็บไซตไดเสมอ แตถาเปนเว็บที่ลิงคขอมูลจากเว็บอ่ืน ๆ มาเมื่อใดก็ตามที่ผูใชทราบวา

ขอมูลน้ันมาจากเว็บใด ผูใชก็ไมจําเปนตองกลับมาใชงานลิงคเหลาน้ันอีก

5. คุณภาพของสิ่งที่ปรากฏใหเห็นในเว็บไซต (Visual Appeal)

ลักษณะที่นาสนใจของเว็บไซตน้ัน ขึ้นอยูกับความชอบสวนบุคคลเปนสําคัญ แตโดยรวมแลวก็

สามารถสรุปไดวาเว็บไซตที่นาสนใจน้ันสวนประกอบตาง ๆ ควรมีคุณภาพ เชน กราฟกควรสมบูรณไมมี

รอยหรือขอบขั้นบันไดใหเห็น ชนิดตัวอักษรอานงายสบายตา มีการเลือกใชโทนสีที่เขากันอยางสวยงาม

เปนตน

Page 12: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

12

6. ความสะดวกของการใชในสภาพตาง ๆ (Compatibility)

การใชงานของเว็บไซตน้ันไมควรมีขอบจํากัด กลาวคือ ตองสามารถใชงานไดดีใน

สภาพแวดลอมที่หลากหลาย ไมมีการบังคับใหผูใชตองติดต้ังโปรแกรมอ่ืนใดเพิ่มเติม นอกเหนือจากเว็บ

บราวเซอร ควรเปนเว็บที่แสดงผลไดดีในทุกระบบปฏิบัติการ สามารถแสดงผลไดในทุกความละเอียด

หนาจอ ซึ่งหากเปนเว็บไซตที่มีผูใชบริการมากและกลุมเปาหมายหลากหลายควรใหความสําคัญกับเร่ือง

น้ีใหมาก

7. ความคงที่ในการออกแบบ (Design Stability)

ถาตองการใหผูใชงานรูสึกวาเว็บไซตมีคุณภาพ ถูกตอง และเชื่อถือได ควรใหความสําคัญกับการ

ออกแบบเว็บไซตเปนอยางมาก ตองออกแบบวางแผนและเรียบเรียงเน้ือหาอยางรอบคอบ ถาเว็บที่จัดทํา

ขึ้นอยางลวก ๆ ไมมีมาตรฐานการออกแบบและระบบการจัดการขอมูล ถามีปญหามากขึ้นอาจสงผลให

เกิดปญหาและทําใหผูใชหมดความเชื่อถือ

8. ความคงที่ของการทํางาน (Function Stability)

ระบบการทํางานตาง ๆ ในเว็บไซตควรมีความถูกตองแนนอน ซึ่งตองไดรับการออกแบบ

สรางสรรคและตรวจสอบอยูเสมอ ตัวอยางเชน ลิงคตาง ๆ ในเว็บไซต ตองตรวจสอบวายังสามารถลิงค

ขอมูลไดถูกตองหรือไม เพราะเว็บไซตอ่ืนอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา ปญหาที่เกิดจากลิงค ก็คือ

ลิงคขาด ซึ่งพบไดบอยเปนปญหาที่สรางความรําคาญกับผูใชเปนอยางมาก

2.การออกแบบทางทัศนะ

ภาพรวมความสวยงามของเว็บเพจขึ้นอยูกับการออกแบบทางทัศนะหรือสวนประกอบตางๆที่ปรากฏบน

หนาจอ ซึ่งไมจํากัดวาจะตองอยูในลักษณะของการถายภาพกราฟก 3D แอนิเมชั่น หรือ วีดิทัศนเทาน้ัน แตอาจ

หมายรวมถึงตัวอักษร ขอความ แผนที่ กราฟ ฯลฯ ที่ปรากฏบนเว็บเพจเปนสําคัญ ซึ่งนอกจากประโยชนของการ

Page 13: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

13

ออกแบบทางทัศนะในแงของความสวยงามเพื่อการดึงดูดความสนใจของผูเรียนแลว การออกแบบทางทัศนะยังมี

ความสําคัญตอลักษณะที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับเน้ือหาที่ปรากฏบนเว็บไซตดวย กลาวคือ มีงานวิจัยที่พบวา

ผูเรียนสวนใหญชอบเว็บไซตที่มีการออกแบบทางทัศนะที่สวยงาม และระดับความสวยงามของการออกแบบทาง

ทัศนะบนเว็บไซตเปนเหตุผลหน่ึงที่ดึงดูดใหผูเรียนกลับเขามาในเว็บไซตน้ันอีกหรือไม อยางไร ก็ดีประเด็น

ของการออกแบบทางทัศนะบนเว็บไซตสําหรับการเรียนการสอนและการอบรมน้ียังเปนประเด็นที่ถกเถียงกันอยู

ทั้งน้ีเพราะสําหรับครูผูสอนสวนใหญแลวสิ่งสําคัญก็คือ เน้ือหาสาระที่ผูสอนจัดหาไวสําหรับผูเรียนบนเว็บไซต

ในขณะที่การออกแบบทางทัศนะเปนสิ่งสําคัญรองลงมา นอกจากน้ีขอจํากัดทางดานของฮารดแวรซึ่งผูเรียนใชใน

การเขาถึงเน้ือหาบนเว็บไซตก็เปนอีกปจจัยหน่ึงที่ทําใหผูออกแบบอาจไมสามารถใหความสําคัญกับการออกแบบ

ทางทัศนะไดสมบูรณเทาที่ตองการ เพราะตองใหความสําคัญในเร่ืองของประสิทธิภาพและความเร็วในการเขาถึง

ขอมูลของผูเรียนมากกวา

การออกแบบเว็บเพจอยางสมดุล

ในการออกแบบเว็บเพจน้ันตองคํานึงถึงความสมดุลระหวางการใชภาพกราฟกและขอความเพื่อใหผูใช

สามารถเปดเว็บเพจไดรวดเร็วไมตองเสียเวลาในการรอมากเกินไป นอกจากน้ีใหคํานึงอยูเสมอวาพื้นที่บนหนาจอ

คอมพิวเตอรน้ันเล็กกวาหนาที่พิมพออกมาผูออกแบบควรคํานึงวาผูเรียนสามารถเปดดูเว็บเพจไดพอดีใน 1

หนาจอหรือไมและควรคํานึงอยูเสมอวาตองพอดีกับหนาจอคอมพิวเตอรขนาด 14-15 น้ิว โดยต้ังความละเอียด

ของจอคอมพิวเตอรที่ 800 x 600 pixels ดังน้ันในการออกแบบควรอยูในพื้นที่ 760x420 pixels แตหนาจอที่

ตองการพิมพออกมาจะใหพื้นที่ 595x842pixels ตามขนาดกระดาษ A4 โดยใหขนาดของภาพกราฟกที่ใชควรมี

ขนาดไมเกิน 535x320 pixels เพื่อใหการแสดงผลพอดีกับหนาจอคอมพิวเตอร (มาตรฐานกําหนดโดยบริษัท

มาโครมีเดีย)

เทคนิคการจูงใจผูเรียน

นอกจากเทคนิคในการออกแบบเพื่อเพิ่มศักยภาพในการอานของผูเรียน ในการออกแบบทางทัศนะยังมี

เทคนิคบางประการซึ่งอาจชวยจูงใจผูเรียนใหตองการเขามาเรียนในเว็บไซตมากขึ้น เทคนิคเหลาน้ันไดแก

Page 14: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

14

1. พื้นที่วาง (Blank Space)

การปลอยใหมีพื้นที่วางทําใหวัตถุหรือสวนประกอบอ่ืนๆบนหนาตอสามารถดึงดูด

ความสนใจผูเรียนไดมากยิ่งขึ้น การปลอยใหมีพื้นที่วางยังทําใหเกิดภาพลวงตาวามีขอความที่

ตองการศึกษานอยกวาที่เปนจริง ซึ่งสงผลใหผูเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนมากขึ้น โดยปรกติ

แลวหลักในการออกแบบสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ปรากฏบนหนาจอทั่วไปควรจัดใหมีพื้นที่วางในแต

ละหนาประมาฯคร่ึงหน่ึง(50%) ของตัวอักษรที่ปรากฏบนหนาจอ

2. สี (Colors)

การเลือกใชสีน้ัน หลักทั่วไปไดแก การเลือกใชสีใหเหมาะสม และเลือกใชสีที่

แตกตางเพื่อสื่อถึงความแตกตางของสิ่งที่ตองการนําเสนอ เชน สีดําเพื่อแสดงขอความทั่วๆไป

สีแดงเพื่อเนนขอความที่สําคัญๆ สีนํ้าเงินเพื่อแสดงคําเตือนตางๆ เปนตน แตไมควรใชสีให

มากเกินกวา 3 สีในแตละหนา เพราะทําใหเปนการยากสําหรับผูเรียนในการแยกความ

แตกตางของความหมายที่สีพยายามจะสื่อ และการใชสีเพื่อสื่อความหมายที่แตกตางน้ีจะตอง

ใชอยางสม่ําเสมอในเว็บไซตเดียวกัน

3. การยอยเน้ือหา (Chunking)

เว็บเพจซึ่งเต็มไปดวยเน้ือหาน้ันจะใหความรูสึกจูงใจผูเรียนไดดีขึ้นหากเน้ือหาน้ัน

ไดรับการแบงยอยออกเปนบล็อกเล็กๆ การแบงเน้ือหาออกเปนหัวขอยอยๆและนําเสนอทีละ

หัวขอๆไป เปนเทคนิคที่มีประโยชนมาก นอกจากน้ียังมีเทคนิคอ่ืนๆ เชน การใชคําอธิบาย

ประกอบภาพแทนขอความอธิบายเพียงอยางเดียว การแยกการอางอิงออกจากขอความในยอ

หนา การใชประโยชนของบทนํา การเพิ่มแถบดานขาง หรือกลองเพื่อใสขอความสั่นๆแทนการ

เขียนเรียงกันไป การใชเสนต้ังหรือเสนนอนเพื่อแบงขอความออกเปนสวนๆและการใช

สัญลักษณแสดงหัวขอยอย เปนตน

Page 15: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

15

4. กราฟก (Graphic)

กราฟกประเภทภาพถาย ภาพวาด หรือภาพการตูนไดรับความนิยมในการใชเพื่อดึงดูด

ความสนใจของผูเรียน นอกจากน้ียังมีการใชกราฟกซึ่งเปนสัญลักษณของการเนนสิ่งสําคัญ

เชน เคร่ืองหมายตกใจ หรือเคร่ืองหมายอัญประกาศขนาดใหญ เปนตน เพื่อดึงดูดความสนใจ

ของผูเรียน เพราะสัญลักษณกราฟกเหลาน้ันสื่อความหมายวาเปนสิ่งที่ผูเรียนไมควรพลาด

อยางไรก็ดีการใชกราฟกควรใชใหเหมาะสมและไมควรทําใหผูเรียนเสียสมาธิในการเรียนแทน

5. รูปแบบการมอง (Viewing Pattern)

ธรรมชาติการมองคนคือจากซายไปขวา และบนลงลาง ดังน้ันการออกแบบควรคํานึง

ถึงธรรมชาติการอานของผูเรียน วางสิ่งสําคัญที่ตองการสิ่อสารกับผูเรียนกอนไวดานซาย และ

ออกแบบใหคํานึงถึงวิธีการที่จะนําผูเรียนเขาสูเน้ือหาตอไป

6. จํานวนสวนประกอบ (Number of Elements)

ไมวาผูออกแบบจะออกแบบใหเว็บเพจมีความสรางสรรคขนาดใด หากผูออกแบบใส

องคประกอบตางๆ มากเกินไปโดยเฉพาะอยางยิ่งขอความที่ปรากฏบนเว็บเพจแลว จะเปนการ

ยากสําหรับผูเรียนที่จะพยายามที่จะอานเน้ือหาน้ัน ทางออกคือการปรับหนาจอใหเรียบงายขึ้น

ตัดขอความหรือใชเทคนิคที่ไดกลาวมาในสวนของการยอยเน้ือหาเพื่อดึงดูดความสนใจของ

ผูเรียนมากขึ้น ใชกราฟกใหสม่ําเสมอในปริมาณที่เหมาะสม

7. เสียง (Audio)

แฟมเสียงไมควรมีความยาวเกิน 5 นาที เสียงบรรยายที่ใชจะตองเปนเสียงที่นาสนใจ

กระตือรือรน(ไมนาเบื่อ) และมีสไตลเปนของตนเอง ใชเสียงตํ่าเสียงสูงอยางเหมาะสม และที่

สําคัญคือ อานไดชัดเจน มีการปรับระดับเสียงใหคงที่ทุกเว็บเพจ และเปดโอกาสใหผูเรียน

สามารถเลือกหยุดและเปดฟงใหมไดตลอดเวลา

Page 16: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

16

8. วีดิทัศน (Video)

วีดิทัศนที่ใชจะตองเกี่ยวของกับการเรียนรูและทําความเขาใจในเน้ือหาของผูเรียน

เชนเดียวกับแฟมเสียง จะตองมีการออกแบบใหผูเรียนสามารถหยุดและเปดดูวีดิทัศนได

ตลอดเวลาเชนกัน

3.ทฤษฎีการเรียนรูที่เก่ียวของ

3.1 ทฤษฎีการเรียนรูของไทเลอร

องคประกอบของทฤษฎีการเรียนรูของไทเลอรประกอบดวย

1. ความตอเน่ือง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ตองเปดโอกาสใหมีการฝกทักษะในกิจกรรมและ

ประสบการณบอยๆ และตอเน่ืองกัน

2. การจัดชวงลําดับ (sequence) หมายถึง หรือการจัดสิ่งที่มีความงาย ไปสูสิ่งที่มีความยาก ดังน้ันการจัด

กิจกรรมและประสบการณ ใหมีการเรียงลําดับกอนหลัง เพื่อใหไดเรียนเน้ือหาที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

3. บูรณาการ (integration) หมายถึง การจัดประสบการณจึงควรเปนในลักษณะที่ชวยใหผูเรียน

ไดเพิ่มพูนความคิดเห็นและไดแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกัน เน้ือหาที่เรียนเปนการเพิ่ม

ความสามารถทั้งหมด ของผูเรียนที่จะไดใชประสบการณไดในสถานการณตางๆ กัน ประสบการณ

การเรียนรู จึงเปนแบบแผนของปฏิสัมพันธ (interaction) ระหวางผูเรียนกับสถานการณที่แวดลอม

ผูวิจัยไดสรางเว็บไซต weebly ขึ้น เพื่อเปนเคร่ืองมือในการทําการวิจัย เว็บไซตweeblyเปน

เว็บไซตประเภท Dynamic Website เพราะweebly เปนเว็บไซตที่ผูวิจัยตองทําการเปลี่ยนขอมูลบอยๆโดยขอมูล

เหลาน้ีจะไมมีการเชื่อมตอกับฐานขอมูลแตอยางใด สวนการออกแบเว็บไซตผูวิจัยไดออกแบบอยางเรียบงาย

เพื่อใหงายตอการใชงานของนักเรียน เน้ือหาในเว็บไซตผูวิจัยเปนผูสรางขึ้นมาเองเพื่อใหตรงกับเน้ือหาที่นักเรียน

กําลังเรียนมากที่สุด มีการใชวีดีโอเปนสื่อหลักในการนําเสนอเน้ือหาใหกับนักเรียน นักเรียนสามารถศึกษา

ขั้นตอนการใชโปรแกรม Dreamweaver ไดจากวีดีโอและฝกการใชโปรแกรมตามวีดีโอ

Page 17: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

17

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลการเรียนรูของนักเรียนหลังจากการศึกษาเว็บไซต

www.weebly.com กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนศึกษานารี ติดตามความคืบหนาและความตอเน่ือง

ในการสงชิ้นงาน โดยผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังน้ี

1. ศึกษาเน้ือหา จุดประสงคการเรียนรูและผลลัพธที่คาดหวัง

2. กําหนด www.weebly.com ในการสรางสื่อ

3. ศึกษาวิธีการออกแบบเว็บไซต

4. ออกแบบและสรางเว็บไซต

5. นําเว็บไซตใหผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบและแกไขปรับปรุง

6. ปรับปรุงตามขอเสนอแนะ

7. นําเว็บไซตไปทดลองใชกับกลุมที่ไมใชตัวอยางเพื่อแกไขปรับปรุง

8. นําเว็บไซตไปใชกับกลุมทดลอง

9. สรุปและประเมินผล

กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่เลือกมาศึกษาไดแกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 5 เน่ืองจากนักเรียนหองน้ี

เปนหองที่เวลาเรียนไมครบ เน่ืองจากมีกิจกรรมและวันหยุดเปนจํานวนมาก และตลอดระยะเวลา 1 เดือนที่

สังเกตพฤติกรรมการสงงาน นักเรียนม.1 หอง 5 เปนหองที่ขาดการสงงานมากที่สุด นอกจากน้ีในหองยังมี

นักเรียนทีมีระดับการเรียนรูที่แตกตางกันอยางชัดเจน จึงเลือกทําการวิจัยกับนักเรียนหอง ม.1 หอง 5

Page 18: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

18

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

1. เว็บไซต www.weebly.com

เว็บไซต www.weebly.com ครูผูสอนไดอัพโหลดเน้ือหาเกี่ยวกับการสรางเว็บไซตดวย

โปรแกรม Dreamweaver 8 โดยไดอัพโหลดคลิปวีดีโอการใชงานต้ังแตการสรางชิ้นงาน การใส

วัตถุ การปรับแตงวัตถุ จนไปถึงการบันทึกชิ้นงาน เพื่อใหนักเรียนไดศึกษา และ ทบทวน เพื่อ

นําไปสรางชิ้นงานไดอยางตอเน่ือง

2. แบบประเมินความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ

แบบประเมินความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ เปนแบบประเมินดานเทคนิคและ ความ

เที่ยงตรงเชิงเน้ือหา เพื่อประเมินคุณภาพของเว็บไซต

3. แบบสังเกตพฤติกรรมในการสงงาน

สังเกตพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนชั้นม.1หอง5อยางตอเน่ืองเปนเวลา

3 สัปดาห และนํามาเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการสงงานในเดือน ธ.ค. ที่ผานมา เพื่อศึกษาวา

หลังจากนักเรียนไดศึกษาเน้ือหาผานเว็บไซตแลว นักเรียนสามารถทํางานไดเองและมีการงาน

สงอยางตอเน่ืองหรือไม

ข้ันตอนการสรางเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยไดดําเนินการสรางเคร่ืองมือ ดังน้ี

1. เว็บไซต www.weebly.com

การสรางเว็บไซต www.weebly.com ผูวิจัยไดดําเนินการดังน้ี

1.1 ศึกษาวิธีการใชงาน www.weebly.com ตามเว็บบอรดตางๆในอินเตอรเน็ต

1.2 ศึกษาวิธีการออกแบบเว็บไซตใหนาสนใจ

- หลักในการออกแบบ

Page 19: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

19

- การออกแบบเว็บเพจ

- เทคนิคการจูงใจผูเรียน

1.3 นําเว็บไซตที่สรางเสร็จแลวใหผูเชี่ยวชาญที่เปนครูผูสอนวิชาเทคโนโลยี 1 ตรวจสอบ

ความถูกตอง ขอบกพรองตางๆ และทําการปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา

2. แบบสังเกตพฤติกรรมในการสงงาน

การสรางแบบสังเกตพฤติกรรมในการสงงาน ผูวิจัยไดดําเนินการดังน้ี

2.1 ศึกษาวิธีการสรางแบบสังเกตพฤติกรรม

2.2 ดําเนินการสรางแบบสังเกตพฤติกรรม

2.3 นําแบบสังเกตพฤติกรรมใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ

2.4 นําแบบสังเกตพฤติกรรมไปใชสังเกตพฤติกรรมในการสงงานของนักเรียน

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

ในการวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยเปนผูดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยมีขั้นตอนดังน้ี

1. นําเคร่ืองมือตางๆใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตอง

2. ทําการปรับปรุงแกไขเคร่ืองมือตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

3. นําเคร่ืองมือไปใชกับกลุมตัวอยาง

ผูเชี่ยวชาญตรวจสอบแบบสังเกตพฤติกรรม

ศึกษาวิธีการสรางแบบสังเกตพฤติกรรม

ดําเนินการสรางแบบสังเกตพฤติกรรม

นําไปใชจริง

ภาพที่ 2 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสังเกตพฤติกรรม

Page 20: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

20

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังน้ี

1. แบบประเมินความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ หาประสิทธิภาพของสื่อโดยใชสูตร IOC เปนคาดัชนี

ความสอดคลองขององคประกอบตางๆของสื่อ โดยมีระดับความเห็นดังน้ี

+1 หมายถึง รายการประเมินมีความเหมาะสม

0 หมายถึงไมแนใจรายการประเมินน้ันมีความเหมาะสม

1 หมายถึงรายการประเมินน้ันไมมีความเหมาะสม

2. แบบสังเกตพฤติกรรมในการสงงาน เปรียบเทียบพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนหลังจาก

การศึกษาเว็บไซต โดยใชการเปรียบเทียบคะแนนทีเฉลี่ย(Average T score)

t =

1)( 22

− ∑∑∑

nDDn

D

df = n -1

D แทนคาผลตางระหวางคูคะแนน

n แทนจํานวน คู

Page 21: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

21

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยขอนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลคร้ังน้ี ดังตอไปน้ี

1. ผลการวิเคราะหแบบสังเกตพฤติกรรมในการสงงาน

ตอนท่ี 1 การหาประสิทธิภาพของเว็บไซต โดยการประเมินจากผูเชี่ยวชาญ 2 ทาน ไดผลดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงผลประเมินประสิทธิภาพของเว็บไซต โดยผูเชี่ยวชาญ (N=2)

จากตารางที่ 1 พบวา จากการประเมินคาดัชนีวาสอดคลองที่ยอมรับไดตองมีคา 0.50 ขึ้นไป ซึ่งไดคาดัชนีอยูที่

0.8 แสดงวา เว็บไซตที่ผูวิจัยสรางขึ้นสามารถนําไปใชงานได

รายการตรวจ คะแนนการพิจารณา

รวม คา

IOC การแปลผล

ทานท่ี 1 ทานท่ี 2

1.เน้ือหาวิชา

1.1 ปริมาณของเน้ือหา

1.2 ความถูกตองของเน้ือหา

1.3 ความเหมาะสมของเน้ือหากับระดับผูเรียน

2. ภาษา วีดีโอ เสียง

2.1 ความถูกตองของภาษาที่ใช

2.2 วีดีโอมีความเหมาะสม

2.3 เน้ือหาในวีดีโอสอดคลองกับบทเรียน

2.4 เสียงในวีดีโอ

3.การจัดบทเรียน

3.1มีการจัดเน้ือหาที่มุงเนนใหผูเรียนฝกทักษะ

การใชโปรแกรม Dreamweaver

3.2 มีการลําดับเน้ือหาจากงายไปยาก

1

1

1

1

1

1

0

1

1

1

1

1

1

1

1

1

0

1

2

2

2

2

2

2

1

1

2

1

1

1

1

1

1

0.5

0.5

1

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

สรุปคาคุณภาพ 0.8 ใชได

Page 22: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

22

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหแบบสังเกตพฤติกรรมในการสงงาน

ผูวิจัยไดเปรียบเทียบพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 5 ภาคเรียนที่ 2

ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศึกษานารี จํานวน 50 คน ปรากฏผลดังน้ี

ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการสงงานกอนการใชเว็บไซต 3 คร้ัง และหลังการใชเว็บไซต 3คร้ัง

เลขท่ี การสงงาน(กอน) การสงงาน(หลัง) คา T (กอน) คา T (หลัง)

1. 3 2 62.78 40.65

2. 2 3 40.65 62.78

3. 1 2 34.7 40.65

4. 1 2 34.7 40.65

5. 2 2 40.65 40.65

6. 2 3 40.65 62.78

7. 1 3 34.7 62.78

8. 3 2 62.78 40.65

9. 1 2 34.7 40.65

10. 2 2 40.65 40.65

11. 2 1 40.65 34.7

12. 2 3 40.65 62.78

13. 3 2 62.78 40.65

14. 2 3 40.65 62.78

15. 1 2 34.7 40.65

16. 2 1 40.65 34.7

17. 3 2 62.78 40.65

18. 1 2 34.7 40.65

19. 1 3 34.7 62.78

20. 1 2 34.7 40.65

21. 1 2 34.7 40.65

22. 2 3 40.65 62.78

23. 2 1 40.65 34.7

24. 2 2 40.65 40.65

Page 23: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

23

25. 2 3 40.65 62.78

26. 2 3 40.65 62.78

27. 1 2 34.7 40.65

28. 2 2 40.65 40.65

29. 2 3 40.65 62.78

30. 3 3 62.78 62.78

31. 2 2 40.65 40.65

32. 2 1 40.65 34.7

33. 3 3 62.78 62.78

34. 1 3 34.7 62.78

35. 2 2 40.65 40.65

36. 3 2 62.78 40.65

37. 2 2 40.65 40.65

38. 2 3 40.65 62.78

39. 2 3 40.65 62.78

40. 1 1 34.7 34.7

41. 2 3 40.65 62.78

42. 1 2 34.7 40.65

43. 2 2 40.65 40.65

44. 3 3 62.78 62.78

45. 3 3 62.78 62.78

46. 1 2 34.7 40.65

47. 2 3 40.65 62.78

48. 3 2 62.78 40.65

49. 3 1 62.78 34.7

50. 1 2 34.7 40.65

ผลรวม (∑𝑥𝑥) 209 คา T เฉลี่ย (กอน) 43.7336

คาเฉลี่ย (𝑥𝑥) 2.09 คา T เฉลี่ย (หลัง) 48.3454

S.D. 0.71201805 คา T เฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น 4.6118

คา T เพิ่มขึ้นรอยละ 10.545

Page 24: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

24

จากตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวาพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนชั้น ม.1 หอง 5หลังจากการใชเว็บไซต

weebly มีพฤติกรรมการสงงานมากกวากอนการใชเว็บไซต โดยมีคาเฉลี่ย T ที่เพิ่มขึ้น 4.6118 หรือคิดเปน

รอยละ 10.545

Page 25: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

25

บทที่ 5 อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 5

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศึกษานารี ผูวิจัยสรุปผลและมีขอเสนอแนะตามลําดับดังน้ี

สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนหลังจากการใชเว็บไซต weebly พบวา

1. เว็บไซตมีประสิทธิภาพเหมาะสมที่จะสามารถนําไปใชงานได โดยมีคาดัชนีความสอดคลองที่ 0.8

2. นักเรียนมีพฤติกรรมการสงงานที่เพิ่มขึ้นโดยคิดเปนคา T ที่เพิ่มขึ้น 10.545%

อภิปรายผล

1. ในการหาประสิทธิภาพของเว็บไซต weebly พบวามีคาดัชนีความสอดคลองอยูที่ 0.8 แสดงวา

เว็บไซตที่ผูวิจัยสรางขึ้นเหมาะสมในการนําไปใชงาน เมื่อนําไปใชจริงนักเรียนสามารถทําความ

เขาใจกับเว็บไซตไดเอง มีวีดีโอใหนักเรียนทบทวนและสามารถฝกการใชโปรแกรม Dreamweaver

ไปพรอมๆกันได

2. จากการวิจัยน้ีไดศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการสงงานของนักเรียน ผูวิจัยไดจัดทําเว็บไซตweebly

ใหสอดคลองกับทฤษฎีของไทเลอร คือ เน้ือหาเปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกการใชโปรแกรมอยาง

ตอเน่ือง โดยผูวิจัยไดเรียงเน้ือหาจากงายไปหายาก และสามารถนําความรูที่มีอยูมาบูรณาการในการ

สรางชิ้นงานได โดยผลการศึกษาพฤติกรรมพบวานักเรียนมีการสงงานมากขึ้นหลังจากการใช

เว็บไซต โดยมีคา T ที่เพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 10.545 แสดงวาเมื่อนักเรียนเกิดความเขาใจในเน้ือหา

และไดฝกทักษะการใชโปรแกรมดวยตัวเองแลวก็จะสงผลใหนักเรียนสามารถสงงานไดอยาง

ตอเน่ือง

Page 26: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

26

ขอเสนอแนะ

1. การใชเว็บไซตสรางสื่อเพื่อใหนักเรียนเขาไปทบทวนเน้ือหา ผูสอนตองศึกษาเกี่ยวกับขอจํากัดของ

เว็บไซตน้ันๆวาสามารถทําอะไรกับเว็บไซตไดบาง

2. การทําการวิจัยในชั้นเรียนภาคเรียนที่ 2 ผูวิจัยจะตองมีการวางแผนการวิจัยเปนอยางดี เน่ืองจากภาคเรียนที่

2 จะมีวันหยุดเยอะและทางโรงเรียนแตละแหงจะจัดกิจกรรมตางๆมากมาย

Page 27: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

27

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก. แบบประเมินความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ

ภาคผนวก ข. แบบสังเกตพฤติกรรมการสงงานของนักเรียนชั้นม.1/5

ภาคผนวก ค. ตัวอยางเว็บไซต http://dreamweaverforstudent.weebly.com

ภาคผนวก ง. ตัวอยางผลงานนักเรียน

Page 28: วิจัยในชั้นเรียน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedundl/upload/5210602338-2556-2-2.pdf ก บน กเร ยนช นม ธยมศ กษาป

28

บรรณานุกรม

วุฒิชัย ประสารสอย. การใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : บุค พอยท, 2545.

สุคนธ สินธพานนท. นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพองเยาวชน. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ. 2552.

ลวน สายยศ. เทคนิคการวัดผลการเรียนรู. กรุงเทพฯ. พิมพคร้ังที่ 2 : ชมรมเด็ก, 2543.