35
ศาสนาฮินดู (ความเปนมิตรกับความเชื่อตาง ) . พหุเทวนิยม อติเทวนิยม เอกเทวนิยม . พัฒนามาจากความเชื่อดึกดําบรรพ ศาสนาโบราณ ศาสนาปจจุบัน . เปนการบงบอกสภาพแวดลอม, วิถีชีวิต, ความเชื่อ และประวัติศาสตรของประเทศอินเดียโดยเฉพาะ . เปนหลักปฏิบัติขั้นพื้นฐานของชาวอินเดีย (ยอมรับและปฏิเสธ) - อาสติกะ - นาสติกะ

ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

ศาสนาฮินดู(ความเปนมิตรกับความเชื่อตาง ๆ)

๑. พหุเทวนิยม อติเทวนิยม เอกเทวนิยม๒. พัฒนามาจากความเชื่อดึกดําบรรพ ศาสนาโบราณ ศาสนาปจจุบัน๓. เปนการบงบอกสภาพแวดลอม, วิถชีีวิต, ความเชื่อ

และประวัติศาสตรของประเทศอินเดียโดยเฉพาะ๔. เปนหลักปฏิบัติขั้นพื้นฐานของชาวอินเดีย (ยอมรบัและปฏิเสธ)

- อาสติกะ - นาสติกะ

Page 2: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

๕. ไมมีระบบที่แนนอน เพราะ- วิวัฒนาการมาจากดกึดําบรรพ- เก็บสะสมเรื่องราวตางๆ เอาไวตามยุคนั้นๆ- หลายเผา หลายภาษา ทําใหเกดิแนวคิดไปตางๆกนั

๖. มีทุกอยางที่ศาสนาอืน่ๆ พึงมี (เทวนิยม)๗. แตลกัษณะเดนกวาศาสนาอื่นๆ ที่มีชีวิตก็คือ เนนจารีตพิธกีรรม๘. ศาสนาโดยหลกัทั่วๆไปมี ๒ สวนคอื

- ศาสนา = พระพรหม, พระนารายณ,อิศวรฯลฯ- ปรัชญา = พรหมัน

Page 3: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

ขอแตกตาง ระหวางพรหมัน, พระพรหม๑. พรหมันมฐีานะเปนสิ่งแทจริงสูงสุด = เทพเจา๒. พรหมันม ี๒ ฐานะ

- ภาวะที่เปนสิ่งสมบูรณ (The Absolute) เรียกวา ปรพรหม

- ภาวะที่เปนเทพเจาสูงสุด (God) เรียกวา อปรพรหม หรือ อิศวร (ตามคัมภีรอุปนิษัท)

๓. พรหมันพฒันาขึ้นมาภายหลังพระพรหมเปนไปตามลักษณะปรัชญา หรือเปนการอธิบายพระพรหมใหเปนเทพเจาหรือสิ่งสูงสุดของทุกชนชั้น

Page 4: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

๔. พระพรหมไดรับการบูชากอนที่จะเกิดคัมภรีอุปนิษัท๕. มีฐานะเปนเทพเจาสูงสุดตามแนวศาสนา๖. จัดอยูในประเภทศาสนาเอกเทวนิยม (ยุคพระเวท)๗. เปนเทพเจาที่รับชวงเรือ่ง ปชาบดี หรืออติเทวนิยม๘. โดยมีหลักรับรองที่วา เอกเมวอทวีติยัม

Page 5: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

เทวนยิมในระดบัตางๆ

๑. ยุคพระเวท * - พหุเทวนิยม = ๓๓๓๘ องค เทพเจาสําคัญมี ๓๙ องค แบงเปน ๓ กลุม (เทพเจาในยุคแรก)

ก. เทพเจาประจาํทองฟาข. เทพเจาประจาํอากาศค. เทพเจาประจาํพื้นดิน

• เทพเจาไดรับยกยองวามี อํานาจเสมอกัน๒. ยุคอุปนิษทั - เอกเทวนิยมพระพรหมมีลักษณะเปนตัวสําแดง (ปรากฏ) ของพรหมนัทีป่รากฏตนเองในสภาพสิ่งรับรู

Page 6: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

๓. แมศาสนาฮินดจูะเชื่อตางกนั แตโดยทั่วไปก็ยอมรับเทพเจา ๓ องคพระพรหม, พระวิษณุ (พระนารายณ) และพระศิวะ (พระอิศวร) รวมเรียกวา ตรีมูรติเปนหนึ่งเดียว แตแสดงออก ๓ ดานเทานัน้ –ปรมาตมนั

ตรีมูรติหรือตรีเอกภาพ- พระพรหม = ผูสราง- พระวิษณุ = ผูรักษา- พระศิวะ = ผูทําลาย

* ทั้ง ๓ องคนี้ มอีกัษรยอในภาวนาวา โอม = อะ, อุ, มะ

Page 7: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

ความหมาย

- คําวา ฮินดู เพี้ยนมาจากคําวา “สินธุ” “หินทู” “ฮินดู” ในที่สุด

- คําวา ฮินดู แปลวา ผูนับถืออหิงสา, ผูไมเบียดเบียน

Page 8: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

ชื่อเรียก

๑. สนาตนธรรม - ศาสนาเกาแก หรือศาสนานิรันดร๒. ไวทิกธรรม – ศาสนาที่เนื่องดวยพระเวท๓. อารยะ - ประเสริฐ๔. พราหมณะ – เปนศาสนาที่พัฒนามาอยูในยุคกลาง๕. ฮินดู - ศาสนายุคใหม ใชระบบปรัชญา ชี้นํา

Page 9: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

บอเกิด- พัฒนามาจากศาสนาดึกดําบรรพ- มีหลายระบบ, หลายคมัภีร, หลายนิกาย ฯลฯ- แตรวมกันได เพราะเคารพสิทธิ์

•ไมมีผูกอตั้ง ไมมีลัทธติายตัวและมีความเชือ่ที่แตกตางกนัมากมาย•มีความเชือ่ที่เปนศูนยกลางคอื.....“มีวิญญาณสากลดวงหนึ่งที่เปนสารัตถะชั่วนิรันดร”

(ตรีมูรติ)

Page 10: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

• พระพรหมทรงสรางมนุษยคนแรกชื่อ มนู• วรรณะทั้ง 4 ออกมาจาก มน ู ( กฎแหงมนู)• กฎแหงกรรม: ดีมาจากดี ชั่วมาจากชั่ว• การเวียนวายตายเกิด มีวิญญาณเปนอมตะ• ชีวิตที่มีคุณธรรมเทานัน้จึงจะเขาสู นริวาณ

ตรีมูรติวิวัฒนาการมาจากวิญญาณโลก (พรมหมนั) กาํลังสราง กําลังพัฒนาและกําลังเปลี่ยนแปลงอยางไมหยุดหยอน เมือ่ถึงที่สุดรอบหนึ่งซึ่งเรียกวา “วันของพระพรหม” พระศิวะจะทรงทําลายโลกและพระพรหมจะทรงสรางขึ้นมาใหมอกีและพระวิษณุจะมาปรากฏเพื่อรักษาเพื่อนําและใหแสงสวางแกมนษุย

ฮินดตูรีมูรติ

Page 11: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

คัมภีร

๑. คัมภีรพระเวท ซึ่งเปนคมัภีรที่เกาแกที่สุด- เดิมเรียกวา ฤคเวท- ภายหลังพราหมณรวบรวมเปนหมวดหมูเรียกวา “สัมหิตา”หรือพระเวท ไตรเวท

- ตอมาเกิดขึ้นอกี ๑พระเวท รวมเปน ๔ พระเวท หรือสัมหิตา ไดแก :-

Page 12: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

ไตรเวท/จตุรเวทก) ฤคเวท - ประพันธสรรเสริญเทพเจาข) ยชุรเวท - ประพันธสําหรับใชในพิธีกรรมค) สามเวท - ประพนัธที่วาบทสวดขับรองง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหรือไสยศาสตร

คัมภีรพระเวททั้งหมด ชาวฮินดูเชื่อวาเปน ศุรติ หรืออเปารุเษยะศุรติ = สิ่งที่ไดยินมาอเปารุเษยะ = สิ่งที่มิไดสรางขึ้นดวยมนุษย

Page 13: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

พระเวททัง้ ๔ แตละคมัภีรตางก็ประกอบดวย ๔ สวน

๑. มันตระ - สดุดีขับรองและสรรเสริญพระเจา๒. พราหมณะ - อรรถกถาอธิบายความในมันตระ๓. อารัณยกะ - อธิบายเพิ่มเติมในพราหมณะ ๔. อุปนิษัท - เนนปรัชญา

- เปนคัมภีรสุดทาย ของพระเวท- บางครั้งถูกเรียกวา เวทานตะ

Page 14: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

สวนคัมภีรประเภทสัมฤติ = อิติหาสะ๑) อุปเวท๒) เวทางค๓) ภควัทคีตา- มหากาพย รามายณะ(การผจญภัยของพระราม)- มหากาพย มหาภารตะ(พี่นองผูยิ่งใหญ)

“บุคคลสามารถฆารางกายได แตไมอาจฆาวิญญาณไดที่สุดของการเกิดคือการตายและที่สุดของการตายคือการเกดิ”

Page 15: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

๔) มนูศาสตร กลาวถึงเรื่องลําดับชวีิต ( อาศรม 4 )๑. พรหมจารี

- ๘, ๑๑, ๑๒ ป- สายธุรํา, ยัชโญปวีตะ(พิธกีารสวมใสสายดายศักดิส์ิทธิ์)- ปฏิบัตอิยู ๑๒ ป

๒. คฤหัสถะ - มีครอบครัว๓. วนปรัสถ - ทดลองอยูในปา๔. สันยาสี - ละโลกียวิสัย

Page 16: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

พิธีกรรมในมนูศาสตร = สนัสการ

๑) ตั้งครรภ๒) ทราบวาตั้งครรภเปนชาย๓) ตัดผมมารดา เมื่อตั้งครรภได ๔, ๖ และ ๘ เดอืน๔) เอาน้ําผึ้งแตะที่ลิ้นเด็ก ๓ ครั้ง๕) ตั้งชื่อ เมื่ออายุ ๑๐ หรือ ๑๒ วัน

Page 17: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

๖) นําเด็กออกดูดวงอาทิตย เมื่ออายุได ๔ เดือน๗) เลี้ยงเดก็ดวยขาว - ๕-๘ เดือน๘) ไวจุก - ๓ ป๙) ยชัโญปวีตะ๑๐) ตัดจุก - ๑๐ ป, ๒๒ ป และ ๒๔ ป๑๑) กลับบานหลังจากสําเร็จการศึกษา๑๒) วิวาหะ

Page 18: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

๕) คมัภีรปุราณะและอุปปุราณะ- เปนเรื่องราวทีก่ลาวถึงเทพเจา ๕ ประการ (ลักษณะ)- โดยสรุป กลาวถึงพฤติกรรมของพระเจา ๓ องค : พระพรหม, พระวิษณุ และอีศวร- มีประโยชนมากสําหรับการศึกษาคนควาเรื่องราวทกุชนิดที่เกี่ยวกับเรื่องชีวิตของคนอนิเดียโบราณ

Page 19: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

๓. คัมภีรตันตระ- เนนเรื่องเวทมนตรคาถาหรือไสยศาสตร- เดิมเปนรูปคําสนทนาระหวางพระศิวะ กับ นางทุรคา ผูเปนชายา- ตอมากอใหเกิดลัทธิศกัติบูชาศักดานุภาพของ เทพเจาฝายหญิง- และตอมาอีกลัทธิศกัต ิแบงออกเปน ๒ นิกาย คือ

๑) ทักษิณจาริน - เปดเผย๒) วามาจาริน - นิกายลี้ลับ

Page 20: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

การบรรลุจุดสุดยอดของลัทธินี้ ตองทํา ปญจมการ คือ๑. มชัชะ - ตองดื่มน้ําเมา๒. มางสะ - รบัประทานเนื้อผสมน้ําเมา๓. มนตรา - สาธยายมนตรเพือ่เรงกระตุน๔. มทุรา - สรางลีลาทาทางยั่วยวน๕. ไมถุน - เสพกามกัน

Page 21: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

อวตาร

- แปลงรางมาปราบยุคเข็ญ- เดิมนั้น ไมบงชัดวาเทพเจาองคใดอวตารมาเปนวีรบุรษุ- แตปจจบุัน พระวิษณุ เทานั้น

Page 22: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

เหตุที่เชื่อเรื่องอวตาร

๑) ตองการใหเทพเจาของตนเองยิ่งใหญกวาใคร๒) รวบรวมวีรบุรษุและเทพเจามากมายใหเปนเรื่องเดียวกัน

Page 23: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

อายุของโลกชาวฮินดูเชื่อวาโลกเปนสวนหนึง่ของขบวนการที่ไมมีเบื้องตนและเบื้องปลายเปนวงกลม (วัน-คืนของพระพรหม=45 ลานป)กัลป = ๔ ยุค = มหายุค ๑ กัลป = ๔,๓๒๐,๐๐๐ ป

๑. กฤตยุต = สัตยยุค๒. ไตรคายุค๓. ทวาปยุค๔. กลยีุค

• (1 กัลปเปรียบไดกับบอวางเปลากวาง 1 ไมลและลึก 1 ไมลเต็มไปดวยเสนผมบาง เสนผม 1 เสน จะถูกนําออกไป ทุกๆ 100 ปจนผมหมด)•ความหมายก็คือพวกเขาเชื่อวาโลกนีไ้ดมีมาแลวและจะมตีลอดไป

Page 24: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

นิกายของศาสนาฮินดู๑) หลักตรมีรูติ

- นิกายไวษวณะ เทพเจาแหงความสงบและกาลเวลา - นิกายไศวะ เทพเจาแหงเพลงและการรักษาพยาบาล

๒) ลัทธิศักติ - บูชามเหสขีองเทพเจาทั้ง ๓- ทุรคา เทพมารดา

Page 25: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

ปางตางๆของพระแมอมุา

Page 26: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 27: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 28: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 29: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 30: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 31: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 32: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 33: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 34: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร
Page 35: ศาสนาฮินดู - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fhumpjk/rel388111/2_hindu.pdfง) อาถรรพเวท - คาถาอาคมหร อไสยศาสตร

จารีตของศาสนาฮินดูกับประเพณีไทย- เกือบ ๖๐% แทรกอยูในพุทธศาสนา- มีทั้งพิธีราษฎรและหลวง- เปนพิธีที่ถกูดัดแปลงใหเหมาะสมกับไทย“ความตายไมใชอะไรอืน่นอกจากความหลับและการลืม”

มหาตมะ คานธี