17

การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร
Page 2: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

1

การใหคําปรึกษาใน การจัดทําระบบการจดัการความปลอดภยัและ

อาชีวอนามัย ตามแนวปฏิบัติของ ILO-OSHMS 2001 (Consulting Service on ILO-OSHMS 2001)

เพื่อเตรียมรองรับ ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

เรื่อง ระยะเวลา หลักเกณฑ และวิธีการจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางาน พ.ศ. ...

ตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

A tool for continual improvement

Page 3: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

2

ความสมัพันธของระบบการจดัการความปลอดภยัตามแนวปฏบัิติของ ILO-OSHMS 2001 กับ กฎกระทรวงกาํหนดในการบริหารและการจดัการดานความปลอดภัย อาชวีอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

ILO - OCCUPATIONAL SAFETY AND HEALTH MANAGEMENT SYSTEM 2001

1. ระบบการจดัการความปลอดภยัและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001 คืออะไร

องคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ไดจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-SHMS 2001 นี้ข้ึนเพื่อเปนแนวปฏิบัติในเรื่องระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตามหลักการที่ยอมรับใน

ระบบการจัดการความปลอดภัยฯ ตามกฎกระทรวง

ILO-OSHMS-2001

Page 4: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

3

ระดับสากล ซ่ึงกําหนดโดยผูแทนไตรภาคีของ ILO แนวทางนี้ทําใหมีพื้นฐานที่เข็มแข็ง ยืดหยุน และเหมาะสมกับสําหรับการพัฒนาวัฒนธรรมความปลอดภัยที่ย่ังยืนในองคกรซึ่งเปนเครื่องมือที่เหมาะสมสําหรับการคุมครองความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของคนงาน ระบบนี้เปนระบบการจัดการความปลอดภัย ฯ ที่อาศัยความสมัครใจขององคกรไมมีการบังคับ กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานพัฒนาระบบนี้เปนประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ระยะเวลา หลกัเกณฑ และวิธีการจัดทําระบบการจดัการความปลอดภัยในการทาํงาน พ.ศ. ...ตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชวีอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

2.ประโยชนท่ีไดรับจากการนาํระบบ ILO-OSHMS 2001 ไปใช

1. เพื่อเตรียมความพรอมในการปฏิบัติตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความ

ปลอดภัย อาชวีอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ซ่ึงกฎกระทรวงฉบบันี้ถือวาเปน

กลไกทีส่ําคัญทีจ่ะทําใหการดําเนินการเกี่ยวกบัการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ

สภาพแวดลอมในการทํางานของสถานประกอบกิจการเปนไปอยางมีระบบและมีประสทิธิภาพ

2. พนักงานตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึน้ในองคกรและรูวิธีปฏิบัติทีท่ําให

ปฏิบัติงานไดอยางถูกตองและปลอดภัย จึงชวยปองกันอันตรายที่อาจเกิดตอรางกายชีวติและทรัพยสิน

3. เปนการเตรียมความพรอมสาํหรับอุบัติเหตแุละภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึน้ ซ่ึงจะชวยลดการบาดเจ็บ ความเจ็บปวย

ความเสียหาย และความสูญเสียทั้งดานชีวติและทรัพยสิน

4. ลดรายจายการจายเงินเขากองทุนเงินทดแทน เนื่องจากอุบัติเหตุและโรคจากการทํางานลดลง

5. กอใหเกิดการปรับปรงุสภาพแวดลอมในการทํางานใหปลอดภัย ซ่ึงจะชวยสรางขวัญและกําลังใจแกพนักงานใหเกดิ

ความเชื่อมั่นในความปลอดภัยตอชีวิตการทํางานในองคกร ซ่ึงจะสงผลโดยตรงตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการ

ทํางานและการผลิต

6. ILO-OSHMS 2001 เปนระบบการจัดการความปลอดภยัและอาชีวอนามัย ที่เปนสากลเหมือนกับระบบการจัดการ

ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอ่ืนๆซึ่งเนือ้หาจะสอดคลองทั้ง 2 ระบบ (มอก.1801, OHSAS 18000) ดังนั้น

สามารถบูรณาการเขากับระบบอื่นๆ ภายในองคกรได

7. ใหความรวมมอืกับภาครฐัและ ILO ในการเผยแพรระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSH

2001

Page 5: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

4

3. ข้ันตอนการจัดทําระบบการจดัการความปลอดภัยและอาชวีอนามัย ILO-OSHMS 2001

3.1 กําหนดนโยบายความปลอดภยัและอาชีวอนามัย

ผูบริหารระดับสูงสุดขององคกรจะตองจัดทาํเอกสารนโยบายดานอาชีวอนามัยและ

ความปลอดภัย พรอมลงนามกํากับ เพื่อแสดงถงึเจตนารมณ และความมุงมั่นใน

การที่จะปฏิบัตติามกฎหมายและขอกําหนดอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของจากนั้นจึงมอบหมาย

ดําเนินการตามแผนงานและนโยบาย พรอมทั้งจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรที่

จําเปนในการดาํเนินการ และตองใหความรูและฝกอบรมตามสถานะโอกาสอยาง

Page 6: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

5

เหมาะสม และใหเกดิการปฏบิัติอยางถูกตองจริงจังทั่วถึง ทั้งแกพนักงานทุกระดับ

เพื่อความเขาใจในนโยบายและเกดิความรบัผิดชอบ รวมทั้งสงเสริมใหเขามามีสวนรวม

ในระบบการจดัการความปลอดภัยและ

อาชีวอนามัย

3.2 การมีสวนรวมของคนงาน

การมีสวนรวมของคนงานเปนองคประกอบสําคัญยิ่งของการบริหารจัดการความ

ปลอดภัยในการทํางานใหประสบความสําเร็จและยั่งยืน องคกรตองสนับสนุน

ชวยเหลือและสงเสริมการมสีวนรวมของคนงานในทกุรูปแบบในระบบการจัดการความ

ปลอดภยัและอาชีวอนามัย

3.3 หนาที่และความรับผิดชอบ

นายจางตองแตงตั้งบคุคลหรอืคณะบุคคลในระดับบริหารอาวุโสตามความเหมาะสมเปนลายลักษณอักษร เพื่อมอบหมายใหทําหนาที่ในการนําระบบนี้ไปปฏิบัติใหเกดิผลอยางแทจริง พรอมทั้งกําหนดหนาที่รับผดิชอบของพนกังานทุกระดับชั้นใหมีสวนรับผิดชอบในงานความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย

Page 7: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

6

3.4 ความสามารถเฉพาะการฝกอบรม

บุคลากรขององคกรถือวาเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาองคกรใหสูความเปนเลศิดานความปลอดภัย ดังนั้นนายจางจะตองอบรม พัฒนาลูกจางทุกคนใหมีความรู ความสามารถเหมาะสมกับหนาที่ที่รับผดิชอบและมีความ สามารถเฉพาะที่จําเปนดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

3.5 การจัดทําเอกสารระบบการจดัการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

Page 8: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

7

องคกรตองจัดทําเอกสารระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่ชัดเจนและนําเสนอใหผูใชเขาถึงและเขาใจไดงาย พรอมทั้งมีการจัดเกบ็ บันทึก ทบทวน ปรับปรุงเปนระยะตามความจําเปนเพื่อประสิทธิภาพในการสื่อสารและประสิทธผิลของระบบการจัดการฯ

3.6 การสื่อสาร

นายจางตองสือ่สารนโยบาย / ขอมูล / กจิกรรมทีเ่กี่ยวของกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยใหลูกจางและผูที่เกี่ยวของทุกระดับไดรับทราบอยางทั่วถึงและนําไปปฏิบตัิไดถูกตองตามขอกําหนดของระบบและตามแผนงานที่จัดทําไว

3.7 การทบทวนเบือ้งตน องคกรจะตองพิจารณาทบทวนระบบการจดัการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตนเอง

เพื่อทราบสถานภาพขอเท็จจริงและรายละเอียดปจจุบันขององคกร เพื่อรวบรวมขอมลู

ที่ถูกตองและนาํไปสูการกําหนดขอบเขตของการนําเอาระบบการจัดการความปลอดภัย

และอาชีวอนามยัไปใชและเพือ่เปนบรรทดัฐานในการกําหนดนโยบายและกระบวนการ

จัดทําระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตอไป

3.8 วางแผน การพฒันาและการนาํระบบไปปฏบัิติ

องคกรตองวางแผนในการนาํระบบไปปฏิบตัิ อยางจริงจัง โดยมีผูบริหารระดับสูงเปนผูรับผิดชอบโครงการและมอบหมายไปตามสายงานบังคับบัญชา องคกรตองนําแผนงานที่กําหนดไวมาปฏบิัตอิยางจริงจัง โดยมีผูบริหารระดับสูงเปนผูรบัผิดชอบโครงการทั้งหมดกําหนดโครงสรางองคกรและกระจายอํานาจหนาที่และความรบัผิดชอบ จัดใหมีการฝกอบรมบุคลากร เพื่อใหมีความรูและความสามารถที่เหมาะสมและจําเปน จัดทํา ควบคุม และปรับปรุงขอมลูเอกสารใหมีความทันสมัยอยางสม่ําเสมอ เพิ่มการสื่อสารประชาสัมพันธอยางตอเนื่อง เพื่อเรงเราและปลุกจิตสํานึกใหทุกคนในองคกรตระหนักถึงความรับผิดชอบรวมกันใหความสาํคัญและรวมมือกันนําไปใชปฏิบตัิ พรอมทั้งควบคุมการปฏิบัตใิหมั่นใจวาดําเนนิกิจกรรมสอดคลองกบัแผนงานที่วางไว

Page 9: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

8

3.9 วัตถุประสงคความปลอดภยัและอาชีวอนามัย

องคกรตองกําหนดวัตถุประสงคความปลอดภยัและอาชีวอนามัยในแตละกิจกรรมของแผนงานทัง้น้ีเพ่ือเปนเกณฑในการวดัผลการปฏบัิติงาน

3.10 การปองกันอันตราย

องคกรตองจัดใหมีการชี้บงอนัตรายและประเมินความเสี่ยงเพื่อกําหนดมาตรการในการปองกนัและควบคุมความเสี่ยงและอันตราย จัดใหมีการบริหารการจดัการการเปลี่ยนแปลงซึง่อาจจะมีผลกระทบที่เกิดขึน้ จัดใหมีมาตรการปองกนั เตรียมพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งจัดใหมกีารจัดซื้อ จัดหาวัสดุ อุปกรณ เครื่องจักรเครื่องมือตาง ๆ และจัดใหมมีาตรการจางเหมาที่เปนไปตามขอกําหนดของความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเพือ่เปนมาตรการในการปองกนัอันตราย

3.11 การตรวจตดิตามและการวดัผลการปฏบัิติงาน

Page 10: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

9

องคกรตองจัดใหมีการพฒันาและจัดทําขั้นตอนการดําเนินงาน ตรวจตดิตาม การวัด และการบนัทึกผลการปฏิบตัิงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มีการทบทวนเปนระยะๆ มีการมอบอํานาจและหนาที่ความรบัผิดชอบในการตรวจติดตามในระดับตางๆ ของโครงสรางในการบริหารจดัการ

3.12 การสอบสวนการบาดเจบ็ การเจบ็ปวย โรคและอุบัติการณจากการทาํงาน

องคกรจดัใหมีการสอบสวนทีม่าและสาเหตขุองการบาดเจบ็ การปวย โรคและอบัุติการณ

จากการทาํงาน และนําผลท่ีไดไปดําเนินการแกไขและปองกันเพ่ือหลีกเล่ียงการเกดิซํ้า

ของการบาดเจบ็ การเจบ็ปวย โรค และอุบัติการณจากการทาํงาน

3.13 การตรวจสอบ

องคกรตองจดัใหมีการเตรยีมการตรวจสอบเปนระยะๆ เพ่ือตรวจสอบวามีดําเนินการ

ตามระบบการจดัการความปลอดภยั และมีการปฏบัิติครบตามองคประกอบการจดัการ

มีความเพยีงพอและมีประสิทธิภาพในการคุมครองความปลอดภยัและสขุภาพอนามยั

ของคนงาน

3.14 การทบทวนการจดัการ

การทบทวนระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยไดอยางเหมาะสม พรอม

ทั้งกําหนดวตัถปุระสงคและเปาหมายที่ชัดเจน เพื่อใหสามารถจัดสรรทรพัยากรได

ถูกตองทั้งดานงบประมาณและบุคลากร

3.15 การปองกันและการแกไข

องคกรตองจดัใหมีการปองกันและแกไขในสิง่ท่ีพบจากการตรวจตดิตามและวัดผลการ

ปฏิบัติงานของระบบฯ หรือเม่ือประเมินผลระบบฯ พบวามาตรการการปองกันและ

คุมครองอันตรายและความเสีย่ง ไมเพียงพอตองมีมาตรการปองกันและแกไขใหทันกาล

3.16 การปรบัปรงุอยางตอเน่ือง

องคกรตองจดัใหมีการปรบัปรงุอยางตอเน่ืองขององคประกอบในระบบการจดัการความ

ปลอดภัยฯ และของระบบโดยรวม ควรจดัใหมีการเปรยีบเทียบกระบวนการและผลการ

ดําเนินงานดานความปลอดภยัและอาชีวอนามัยขององคกรกับท่ีอ่ืนเพ่ือปรับปรงุการ

ดําเนินงานความปลอดภยัและอาชีวอนามัย

4.ใครควรทาํระบบการจดัการความปลอดภยัและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001 1.สถานประกอบกิจการที่อยูในขายบังคับตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบรหิารและการจดัการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ 2549 ซ่ึงสถานประกอบกิจการที่อยูในขาย

Page 11: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

10

กฎหมายฉบับนี้จะตองจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัยตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ 2549 (ฉบับที ่2) พ.ศ 2553 การที่สถานประกอบกจิการไดจัดทําระบบการจัดการความปลอดภยัและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001 ครบทกุองคประกอบของระบบการจัดการแลว ถือวาไดปฏิบัตติามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชวีอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ แลวดวย 2.ทุกองคกรไมวาจะเปนผูผลติหรือผูใหบริการสามารถนําระบบการจัดการความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001 ไปใชไดทั้งสิ้น 3.องคการที่จัดทําระบบการจดัการ มอก.18001 และ OHSAS 18000 แลว สามารถนําระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001 ไปบูรณาการใหสอดคลองไดงายขึ้น

5. จะทําอยางไรเพือ่นําระบบการจดัการความปลอดภยัและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001 ไปปฏิบัติ

ข้ันตอนที่ 1 ศึกษาระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2010 ข้ันตอนที่ 2 ผูบริหารกําหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย วาง แผนการจดัการระบบ จัดทําวิธีการปฏิบตั ิข้ันตอนที่ 3 ตั้งผูแทนฝายบริหารดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

(Occupational Safety and Health Management Representative หรือ OSHMR ) และหรือคณะกรรมการบริหารระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพื่อจัดทําระบบและควบคุมดูแลใหเปนไปตามทีไ่ดกําหนดไว และกาํหนดหนาที่รบัผิดชอบของพนักงานทุกคนเพื่อใหมสีวนรวมในระบบ

ข้ันตอนที่ 4 ลงมือปฏิบัตติามระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ข้ันตอนที่ 5 ตรวจประเมินภายในระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเพื่อตรวจสอบวา ระบบเปนไปตามแผนและขอกําหนดของมาตรฐานและมีการนําไปใชปฏิบัติอยางตอเนื่อง ข้ันตอนที่ 6 แกไขขอบกพรองที่พบจากการประเมินภายในและปรับปรุงระบบ การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยใหมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น ข้ันตอนที่ 7 ผูบริหารระดบัสูงที่รับผดิชอบโครงการ ดําเนินการทบทวน

ระบบการจัดการจากผลการตรวจติดตามและ การตรวจประเมินระบบ รวมทั้งพิจารณาจากปจจัยตางๆ แลวนํามาปรับนโยบาย แผนงาน เปาหมาย เพื่อประสิทธิผล

Page 12: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร
Page 13: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

หมายเหตุ

1. Fisrt Meeting

1.1 ประเมินระบบการบริหารจัดการ ณ ปจจุบัน ทีมหนวยงาน.: เตรียมเอกสารที่ดําเนินการใน 1/2

( BASE LINE AUDIT ) ระบบปจจุบัน

ทีมที่ปรึกษา: ศึกษาระบบที่ดําเนินการปจจุบัน

และประเมินระบบ ที่ตองจัดทําเพิ่มเติม

1.2 แนวทางการในการจัดทําระบบ ILO 2001

ที่ตองจัดทําเพิ่มเติม

ใหคําปรึกษาแนวทางและรูปแบบจัดทําระบบ

ILO OSHMS 2001

1/2

2. บรรยายขอกําหนดและแนวทาง/รูปแบบและเริ่ม

จัดทําระบบ ILO OSHMS 2001

2.1 บรรยายขอกําหนด ILO OSHMS 2001

และแนวทาง/รูปแบบและเริ่มจัดทําระบบ ILO

OSHMS 2001

ทีม หนวยงาน.::รับฟงบรรยาย และเริ่มจัดทํา

เอกสารระบบ ILO OSHMS 2001

1

2.2 เริ่มจัดทําเอกสารตามแนวทางและรูปแบบ

ทีมที่ปรึกษาแนะนํา

ทีมที่ปรึกษา:บรรยาย และใหคําปรึกษาการจัดทํา

ระบบ ILO OSHMS 2001

3. ทบทวนเอกสารเอกสารที่จัดทําขึ้นกอนนําเขาใช

งาน

3.1 ทบทวนและปรับแกไขเอกสารที่ไดจัดทําขึ้น ทีม หนวยงาน.: นําเอกสารที่จัดทําขึ้นมาทบทวน/

ปรับแกไข และนําเขาใชงานหลังจากการปรับแกไข

เรียบรอย

1

3.2 นําระบบ ILO OSHMS 2001 เขาใชงาน ทีมที่ปรึกษา: ใหคําปรึกษา ทบทวนและปรับแกไข

เอกสาร

อาจจะมีการ

ปรับปรุงชวงเวลา

ไดตามความ

เหมาะสม

แผนงานโครงการใหคําปรึกษาในการจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานตามแนวปฏิบัติของ ILO OSHMS 2001

ขั้นตอน กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม และเอกสารที่เกี่ยวของMan-day

(วัน)

ระยะเวลา (เดือน)

1 2 3 4 5 6

Page 14: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

หมายเหตุ

แผนงานโครงการใหคําปรึกษาในการจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานตามแนวปฏิบัติของ ILO OSHMS 2001

ขั้นตอน กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม และเอกสารที่เกี่ยวของMan-day

(วัน)

ระยะเวลา (เดือน)

1 2 3 4 5 6

4. การติดตามผลการนําเขาใชงาน

4.1 ใหคําปรึกษาในการตรวจติดตามระบบ ทีมหนวยงาน.: ใหขอมูล และ ผลการดําเนินการ

ตามระบบ ILO OSHMS 2001ที่เขาใชงาน

1

4.2 .บรรยายการตรวจติดตาม Internal Audit ทีมที่ปรึกษา:ใหคําปรึกษาการจัดทําและบรรยาย

การตรวจติดตาม Internal Audit

1

4.3 ติดตามผลการตรวจติดตาม Internal Audit ใหคําปรึกษาการติดตามผล Internal Audit 1

6 วัน

Page 15: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

หมายเหตุ

1. Fisrt Meeting

1.1 ประเมินระบบการบริหารจัดการ ณ ปจจุบัน ทีมหนวยงาน.: เตรียมเอกสารที่ดําเนินการใน 1

( BASE LINE AUDIT ) ระบบปจจุบัน

ทีมที่ปรึกษา: ศึกษาระบบที่ดําเนินการปจจุบัน

และประเมินระบบ ที่ตองจัดทําเพิ่มเติม

1.2 แนวทางการในการจัดทําระบบ ILO 2001

ที่ตองจัดทําเพิ่มเติม

ใหคําปรึกษาแนวทางและรูปแบบจัดทําระบบ

ILO OSHMS 2001

2

2. บรรยายขอกําหนดและแนวทาง/รูปแบบและเริ่ม

จัดทําระบบ ILO OSHMS 2001

2.1 บรรยายขอกําหนด ILO OSHMS 2001

และแนวทาง/รูปแบบและเริ่มจัดทําระบบ ILO

OSHMS 2001

ทีม หนวยงาน.::รับฟงบรรยาย และเริ่มจัดทํา

เอกสารระบบ ILO OSHMS 2001

2

2.2 เริ่มจัดทําเอกสารตามแนวทางและรูปแบบ

ทีมที่ปรึกษาแนะนํา

ทีมที่ปรึกษา:บรรยาย และใหคําปรึกษาการจัดทํา

ระบบ ILO OSHMS 2001

3. ทบทวนเอกสารเอกสารที่จัดทําขึ้นกอนนําเขาใช

งาน

อาจจะมีการ

ปรับปรุงชวงเวลา

ไดตามความ

เหมาะสม

แผนงานโครงการใหคําปรึกษาในการจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานตามแนวปฏิบัติของ ILO OSHMS 2001

ขั้นตอน กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม และเอกสารที่เกี่ยวของMan-day

(วัน)

ระยะเวลา (เดือน)

1 2 3 4 5 6

Page 16: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

หมายเหตุ

แผนงานโครงการใหคําปรึกษาในการจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานตามแนวปฏิบัติของ ILO OSHMS 2001

ขั้นตอน กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม และเอกสารที่เกี่ยวของMan-day

(วัน)

ระยะเวลา (เดือน)

1 2 3 4 5 6

3.1 ทบทวนและปรับแกไขเอกสารที่ไดจัดทําขึ้น ทีม หนวยงาน.: นําเอกสารที่จัดทําขึ้นมาทบทวน/

ปรับแกไข และนําเขาใชงานหลังจากการปรับแกไข

เรียบรอย

3

3.2 นําระบบ ILO OSHMS 2001 เขาใชงาน ทีมที่ปรึกษา: ใหคําปรึกษา ทบทวนและปรับแกไข

เอกสาร

4. การติดตามผลการนําเขาใชงาน

4.1 ใหคําปรึกษาในการตรวจติดตามระบบ ทีมหนวยงาน.: ใหขอมูล และ ผลการดําเนินการ

ตามระบบ ILO OSHMS 2001ที่เขาใชงาน

1

4.2 .บรรยายการตรวจติดตาม Internal Audit ทีมที่ปรึกษา:ใหคําปรึกษาการจัดทําและบรรยาย

การตรวจติดตาม Internal Audit

2

4.3 ติดตามผลการตรวจติดตาม Internal Audit ใหคําปรึกษาการติดตามผล Internal Audit 1

รวมจํานวนวัน 12

Page 17: การให คําปรึกษาใน · 2018-11-12 · 7. ให ความร วมมือกับภาคร ัฐและ ilo ในการเผยแพร

แบบฟอร์มแจ้งความประสงคเ์บื้องต้นเพื่อขอใชบ้ริการที่ปรึกษาระบบการจัดการความปลอดภยัและอาชีวอนามัยตามแนว

ปฏิบัติของ ILO-OSHMS 2001 (ไม่ใช่ใบยืนยันการขอใช้บริการ)

กรุณาระบุรายการที่ตอ้งการให้นาํเสนอโดยการทําเครือ่งหมาย x ในช่อง

ขอใบเสนอราคา ประเภท option 1 = 6 วัน option 2 = 12 วัน

ขอประวัติทีมที่ปรึกษา

อื่นๆ โปรดระบุ.......................................................................................................................................................

1.ช่ือบริษทั(ภาษาไทย)………………………………………………………………………………………………………………………………….……...……………….

เลขที่................................ หมูที่่...................... ซอย ............................................. ถนน……………………………………….…….……..

ตําบล / แขวง........................................................................... อําเภอ / เขต…………………..…………..…………………..……..…………….

จังหวัด...................................................... รหัสไปรษณีย์ ......................................... โทรศัพท์…………...................……………….

โทรสาร .............................................. E-mail Address…........................................................................................................

จํานวนลูกจ้าง ชาย.........................คน หญิง.........................................คน รวม..................................คน

ผู้ประสานงาน………………………………………………………ตําแหนง่…………........โทรศัพท์ .......... ….................. ต่อ...............................

(มือถือ)…………………...………..

2. ลักษณะงานของหน่วยงาน โรงงาน สํานักงาน อ่ืน ๆ(โปรดระบุ)...................................

3. ประกอบธุรกิจประเภท...........................................................................................................................................

4. วัตถุประสงค์ที่ต้องการจัดทําระบบการจัดการความปลอดภัยเพื่อ

4.1………………………………………………………………………………………………………….. 4.2……………………………………………………….…………………………..………

4.3………………………………………………………………………………………………………… 4.4……………………………………………………………………………………………

4. มาตรฐานที่สถานประกอบกิจการดําเนินการ

โปรดระบุ

( )

มาตรฐาน ได้รับการ

รับรองแล้ว

( )

ยังอยูใ่นระหว่างดําเนินการ

ขอรับรอง

( )

ดําเนินการตามที่กฎหมายกําหนด -

การจัดทําระบบคุณภาพ ISO 9001

ระบบการจัดสิ่งแวดล้อม ISO 14001

การจัดทําระบบการจัดการความ

ปลอดภัยฯ

มอก 18001

OHSAS 18001

ระบบการจัดการด้านแรงงาน มรท 8001

ระบบความรับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000

ส่งแฟกซ์มาที ่ 02-884-1853 , 02-880-4591 หรือ e-mail address – ...............................................

สอบถามข้อมลูเพิ่มเติมได้ที่ ......................................................................