3
วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ ปีท่ 60 ฉบับที่ 189 35 Department of Science Service นำ้า เป็นทรัพยากร ที่มีความสำาคัญอย ่างยิ่ง ต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ไม่ว่า จะเป็น คน สัตว์ พืชและ จุลินทรีย์ ต่างก็ใช้นำ้า ในการดำารงชีวิต มนุษย์ ใช้นำ้าในการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ แปรรูปสินค้าเกษตร ใช้ในทาง อุตสาหกรรมหลากหลายประเภทรวมทั้งทางการแพทย์ และ ด้วยจำานวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ความต้องการ อุปโภค บริโภค สินค้าและบริการจึงเพิ่มขึ้นตามลำาดับ ด้วยเหตุนี้เอง ทำาให้ทรัพยากรนำ้าที่มีอยู ่อย่างพอเพียงไม่สามารถตอบสนอง ความต้องการของมนุษย์ได้อย่างเพียงพอ อีกทั้งพฤติกรรม ในการทำาร้ายโลกอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนที่ร้อนแรง ในปัจจุบัน และยังมีผลต่อการขาดแคลนนำ้าด้วยเช่นกัน Water footprint เป็นตัวชี้วัดปริมาณการใช้นำ้าทั้ง ทางตรงและทางอ้อมของสินค้าและบริการ เริ่มตั้งแต่กระบวนการ ผลิตจนถึงมือผู้บริโภค สินค้าที่แสดงปริมาณการใช้นำ้าน ้อย บ่งบอกถึงความประหยัดและคุ้มค่าได้ดีกว่าสินค้าที่มีปริมาณ การใช้นำ้ามากกว่า แนวคิดนี้เริ่มโดยศาสตราจารย์ Arjen Y. Hoekstra แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ และผู้อำานวยการของ Water Footprint Network (WFN) ร่วมด้วยเครือข่ายองค์กร พิทักษ์สิ่งแวดล้อมเช่น United Nations Educational Scientific and Cultural Organization (UNESCO), International Finance Corporation (IFC), World Wildlife Fund (WWF) และ World Business Council for Sustainable Development (WBCSD) ได้ร่วมกันศึกษาบันทึกข้อมูลการใช้นำ้าของแต่ละ ประเทศพบว่า หลายประเทศนำาเข้าสินค้าที่ใช้นำ้าในกระบวน ผลิตสูง เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกามียอดการใช้นำ้าทางอ้อมถึง 2,842,000 ลิตรต่อคนต่อปี ในขณะท่ผู้ส่งออกหลักของโลก อย่างจีน มียอดการใช้นำ้าทางอ้อม 1,071,000 ลิตรต่อคนต่อปี ทวีปอเมริกาเหนือและยุโรปจะต้องใช้นำ้าประมาณ 1,825,000 ลิตร ต่อคนต่อปี ส่วนผู้ที่บริโภคอาหารมังสวิรัติในแถบอัฟริกานั้น จะมีการใช้นำ้าเพียง 730,000 ลิตรต่อคนต่อปี แหล่งนำ้าในการคำานวณ Water footprint แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. Green water footprint เป็นปริมาณนำ้าที่อยู ่ในรูป ของความชื้นในดิน เนื่องจากนำ้าฝนที่ถูกใช้ไปในกระบวนการผลิต 2. Blue water footprint เป็นปริมาณนำ้าจากแหล่งนำ้า ธรรมชาติ ได้แก่ นำ้าผิวดินและนำ้าใต้ดินที่ถูกใช้ไปในกระบวนการผลิต 3. Gray water footprint เป็นปริมาณนำ้าที่ใช้ในการ บำาบัดนำ้าเสียที่เกิดในกระบวนการผลิตให้เป็นนำ้าดีตามค่ามาตรฐาน การคำานวณ Water footprint นอกจากปริมาณการใช้นำ้า ในแหล่งนำ้าทั้ง 3 ประเภทแล้วยังขึ้นอยู่กับอีกหลากหลายปัจจัย เช่น กระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละผู้ผลิต แหล่งผลิต สินค้าและบริการอยู่ในประเทศที่ขาดแคลนนำ้าหรือไม่ ปริมาณ นำ้าที่ใช้และ/หรือปริมาณนำ้าเสียที่ปล่อยออกมา ปัจจุบันมีเอกสาร เกี่ยวกับ Water footprint อยู่หลายเล่ม เช่น The Water Footprint Assessment Manual: Setting the Global Standard, 2011 ซึ่งสามารถ ดาวน์โหลดได้ฟรีจากอินเทอร์เน็ตที่ http://www. waterfootprint.org/downloads/The WaterFootprintAssessmentManual.pdf ISO 14046 : Life cycle assessment -Water footprint - Requirements and guidelines ซึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนา รร สาระ การใช้น�้าอย่างคุ ้มค่ากับ Water footprint พิชญาภา ราชธรรมมา* _____________________________________________________________________________________________________________________ * นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ โครงการเคมี

การใช้น้ำอย่างคุ้มค่ากับ Water footprintlib3.dss.go.th/fulltext/dss_j/2555_189_60_p35-37.pdf · 2012-07-11 · Department of Science

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การใช้น้ำอย่างคุ้มค่ากับ Water footprintlib3.dss.go.th/fulltext/dss_j/2555_189_60_p35-37.pdf · 2012-07-11 · Department of Science

วารสารกรมวทยาศาสตรบรการ ปท 60 ฉบบท 189 35Department of Science Service

นำา เปนทรพยากร

ทมความสำาคญอยางยง

ตอสงมชวตทกชนด ไมวา

จะเปน คน สตว พชและ

จลนทรย ต างกใช นำา

ในการดำารงชวต มนษย

ใชนำาในการปลกพช เลยงสตว แปรรปสนคาเกษตร ใชในทาง

อตสาหกรรมหลากหลายประเภทรวมทงทางการแพทย และ

ดวยจำานวนประชากรโลกทเพมขนอยางรวดเรว ความตองการ

อปโภค บรโภค สนคาและบรการจงเพมขนตามลำาดบ ดวยเหตนเอง

ทำาใหทรพยากรนำาทมอย อยางพอเพยงไมสามารถตอบสนอง

ความตองการของมนษยได อยางเพยงพอ อกทงพฤตกรรม

ในการทำารายโลกอยางรนแรง กอใหเกดภาวะโลกรอนทรอนแรง

ในปจจบน และยงมผลตอการขาดแคลนนำาดวยเชนกน

Water footprint เปนตวชวดปรมาณการใชนำาทง

ทางตรงและทางออมของสนคาและบรการ เรมตงแตกระบวนการ

ผลตจนถงมอผ บรโภค สนคาทแสดงปรมาณการใชนำานอย

บงบอกถงความประหยดและคมคาไดดกวาสนคาทมปรมาณ

การใชนำามากกวา แนวคดนเรมโดยศาสตราจารย Arjen Y.

Hoekstra แหงประเทศเนเธอรแลนด และผอำานวยการของ

Water Footprint Network (WFN) รวมดวยเครอขายองคกร

พทกษสงแวดลอมเชน United Nations Educational Scientific

and Cultural Organization (UNESCO), International

Finance Corporation (IFC), World Wildlife Fund (WWF)

และ World Business Council for Sustainable Development

(WBCSD) ไดรวมกนศกษาบนทกขอมลการใชนำาของแตละ

ประเทศพบวา หลายประเทศนำาเขาสนคาทใชนำาในกระบวน

ผลตสง เชน ประเทศสหรฐอเมรกามยอดการใชนำาทางออมถง

2,842,000 ลตรตอคนตอป ในขณะทผสงออกหลกของโลก

อยางจน มยอดการใชนำาทางออม 1,071,000 ลตรตอคนตอป

ทวปอเมรกาเหนอและยโรปจะตองใชนำาประมาณ 1,825,000 ลตร

ตอคนตอป สวนผทบรโภคอาหารมงสวรตในแถบอฟรกานน

จะมการใชนำาเพยง 730,000 ลตรตอคนตอป

แหลงนำาในการคำานวณ Water footprint แบงออกเปน

3 ประเภท ไดแก

1. Green water footprint เปนปรมาณนำาทอยในรป

ของความชนในดน เนองจากนำาฝนทถกใชไปในกระบวนการผลต

2. Blue water footprint เปนปรมาณนำาจากแหลงนำา

ธรรมชาต ไดแก นำาผวดนและนำาใตดนทถกใชไปในกระบวนการผลต

3. Gray water footprint เปนปรมาณนำาทใชในการ

บำาบดนำาเสยทเกดในกระบวนการผลตใหเปนนำาดตามคามาตรฐาน

การคำานวณ Water footprint นอกจากปรมาณการใชนำา

ในแหลงนำาทง 3 ประเภทแลวยงขนอยกบอกหลากหลายปจจย

เชน กระบวนการผลตทแตกตางกนของแตละผผลต แหลงผลต

สนคาและบรการอยในประเทศทขาดแคลนนำาหรอไม ปรมาณ

นำาทใชและ/หรอปรมาณนำาเสยทปลอยออกมา ปจจบนมเอกสาร

เกยวกบ Water footprint อยหลายเลม เชน

• The Water Footprint Assessment Manual:

Setting the Global Standard, 2011 ซงสามารถ

ดาวนโหลดไดฟรจากอนเทอรเนตท http://www.

wa te r foo tp r i n t .o r g /downloads /The

WaterFootprintAssessmentManual.pdf

• ISO 14046 : Life cycle assessment -Water

footprint - Requirements and guidelines

ซงอยระหวางการพฒนา

สรร สาระ

การใชน�าอยางคมคากบ Water footprint

พชญาภา ราชธรรมมา*

_____________________________________________________________________________________________________________________

* นกวทยาศาสตรปฏบตการ โครงการเคม

Page 2: การใช้น้ำอย่างคุ้มค่ากับ Water footprintlib3.dss.go.th/fulltext/dss_j/2555_189_60_p35-37.pdf · 2012-07-11 · Department of Science

วารสารกรมวทยาศาสตรบรการ ปท 60 ฉบบท 189 36 Department of Science Service

ปจจบนประเทศไทยไดมการศกษาและเตรยมความพรอม

ในเรองน ดงตวอยางโครงการตาง ๆ ของแตละหนวยงาน

แสดงในตารางขางลางน

สรร สาระ

จากขอมล water footprint ทำาใหเราสามารถเลอกใช

หรอบรโภคอาหารและสนคาทใชนำาในกระบวนการผลตนอยกวา

เพอเปนการลดปญหาการขาดแคลนนำาของโลก

ตวอยางปรมาณการใชนำาของสนคาเกษตรกรรมตาง ๆ แสดงดงภาพขางลางน

ธญพช เนอสตว เครองดม

ผลไม อน ๆ

ทมา http://www.waterfootprint.org

Page 3: การใช้น้ำอย่างคุ้มค่ากับ Water footprintlib3.dss.go.th/fulltext/dss_j/2555_189_60_p35-37.pdf · 2012-07-11 · Department of Science

วารสารกรมวทยาศาสตรบรการ ปท 60 ฉบบท 189 37Department of Science Service

Water footprint เปนทางเลอกทเกดขนเพอใหทกคนได

ตระหนกถงการใชนำาทมอยอยางขาดแคลนใหเกดประโยชนและ

คมคาสงสด อกทงใหผบรโภคสามารถเลอกสนคาและบรการทใช

นำานอยทสด ทงนสนคาทแสดง Water footprint บนฉลากยง

สรร สาระ

สามารถเพมมลคาของสนคาได ซงในอนาคตประเทศไทยอาจจะ

ตองตดฉลาก Water footprint ตามทมาตรฐาน ISO 14046

กำาหนดถงแมวาขณะนยงคงเปนเพยงฉบบรางเทานน

หนวยงาน เรองศกษา

กรมชลประทาน ศกษาแนวคดในการบรหารจดการนำาสำาหรบขาวในประเทศไทยโดยอาศยหลกการวอเตอรฟตพรนท

สวทช การจดทำายทธศาสตรเพอเตรยมความพรอมในการรบมอจากผลกระทบ ดาน Water footprint ของประเทศไทย

การประเมนวอเตอรฟตพรนทของผลตภณฑปาลมนำามน ไบโอดเซล และผลตภณฑยางพารา

สถาบนอาหารรวมกบสำานกงานเศรษฐกจอตสาหกรรม โครงการวอเตอรฟตพรนทในอตสาหกรรมแปงขาว

มหาวทยาลยเกษตรศาสตร การศกษาปรมาณการใชนำาของกระบวนการผลตเอทานอลจาก มนสำาปะหลงในประเทศไทย

วอเตอรฟตปรนทของขาวโพดเลยงสตว จงหวดนครสวรรค

มหาวทยาลยสงขลานครนทร การประเมนวอเตอรฟตปรนทของอตสาหกรรมยาง

มหาวทยาลยเชยงใหม การประเมนคารบอนและวอเตอรฟตพรนทของไบโอเอทานอลจากออยและมนสำาปะหลง

เอกสารอางอง

Water footprint network. Worldwide registration of the water footprint [Online] [cite dated November 2011] Available from Internet : http://www.waterfootprint.org/?page=files/productgallery&product.

กระทรวงอตสาหกรรมและสภาอตสาหกรรม. กรมโรงงานอตสาหกรรม. งานสมมนาวชาการ ประจำาป 2554 : สถานการณ Carbon footprint / Water footprint/ Eco-efficiency ในประเทศไทย. 2554. กรงเทพฯ : ศนยนทรรศการและการประชมไบเทค บางนา. [ออนไลน] [อางถงวนท 14 มนาคม 2555] เขาถงไดจาก : http://ftiweb.off.fti.or.th/iei/file/pdf/seminar2011/020954- 03.pdf.

ชนาธปกรณ พงศภญโญภาพ และ ธำารงรตน มงเจรญ. วอเตอรฟตพรนทของกระบวนการผลตเอทานอลจากมนสำาปะหลงในประเทศไทย. วศวกรรมสาร มก, มกราคม - มนาคม, เลมท 24, ฉบบท75, 2011 : 41-52. [ออนไลน] [อางถงวนท 13 ธนวาคม 2554] เขาถง ไดจาก : Available from Internet : http://www.ngosthailand.com/index.php?option

มนฑณ ยงวกล. วนนคณซอสนคาประหยดนำาหรอยง?. คด Creative Thailand, สงหาคม, 2554, vol. 2 no.11, หนา 16.

เอนจโอ ประเทศไทย. สงแวดลอม ประเทศรำารวยกำาลงเผชญหนาปญหาการขาดแคลนนำา. [ออนไลน] [อางถงวนท 13 ธนวาคม 2554] เขาถงไดจาก : http://www.ngosthailand.com/index.php?option=com_content&view=article&id=76: 2011-02-03-09-34-24&catid=35:2011-01-31-12-43-10&Itemid=2.