25
ภาคผนวก

ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

ภาคผนวก

Page 2: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

67

ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

Page 3: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

68

เลขที่ __ __ __ วันที่.............................

แบบบันทึกขอมูลสวนบุคคลของทารกแรกเกิดและมารดา ชุดท่ี 1.1 ขอมูลสวนบุคคลของทารกแรกเกิด 1. เพศ

θ ชาย θ หญิง 2. อายุครรภ ........................... สัปดาห 3. อายุหลังเกดิ ...................... ชั่วโมง 4. คะแนนแอพการ ที่ 1 นาทีเทากับ.............คะแนน ที่ 5 นาทีเทากับ.............คะแนน 5. น้ําหนกัแรกเกิด ............................กรัม 6. ลําดับที่การเกิด ........................... ชุดท่ี 1.2 ขอมูลสวนบุคคลของมารดา 1. อายุ ..............................ป 2. จํานวนบุตรมีชีวิต.................คน 3. ระดับการศกึษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย อนุปริญญา / ประกาศนยีบัตร ปริญญาตรี / สูงกวา (ระบุ).................................. 4. สถานภาพสมรส คู แยกกนัอยู หมาย หยา 5. อาชีพ วางงาน รับจาง คาขาย / ธุรกิจ รับราชการ / พนักงานของรัฐ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ เกษตรกรรม (ทํานา, ทําสวน, ทําไร, เล้ียงสัตว) อ่ืนๆ (ระบุ)................................. 6. รายไดเฉลี่ยของผูปกครองตอเดือน < 5,000 บาท 5,000-10,000 บาท 10,001-15,000 บาท 15,001-20,000 บาท > 20,000 บาท

Page 4: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

69

เลขท่ี __ __ __ วันท่ี.................................

แบบบันทึกอตัราการเตนของหัวใจ คาความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด และระยะเวลา

รองไห

ขั้นตอนการทดลอง อัตราการเตนของหัวใจ

(คร้ัง/นาที)

คาความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (SaO2 ; %)

ระยะเวลารองไห (นาที)

กอนเจาะเลือด (นาทีที่ 0)

---------

---------

___

เจาะเลือด

หลังเจาะเลือด

5 วินาท ี30 วินาท ี

1 นาที 2 นาที 3 นาที 4 นาที 5 นาที

--------- --------- --------- --------- --------- --------- ---------

--------- --------- --------- --------- --------- --------- ---------

---------

Page 5: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

70

เลขท่ี __ __ __ วันท่ี.............................

แบบประเมนิการตอบสนองความปวดของทารกแรกเกิด

พฤติกรรม การตอบสนอง

5 ดาน

ลักษณะพฤติกรรมท่ีแสดงออก

ในแตละดาน คะแนน

กอน เจาะเลือด

หลังเจาะเลือด

0 นาที 5 วินาที 30 วินาที 1 นาที 2 นาที 3 นาที 4 นาที 5 นาที

การแสดงออกทางใบหนา

สีหนาปกติ/สงบเปนธรรมชาติ(หลับตา หรือลืมตา)

0

สีหนาเหยเก/หนาผากยน/ คิ้วขมวด/ปากเบะ

1

หลับตาแนน 2

การเคล่ือนไหว ของแขนขา

แขนขางอ หรือเหยียดตามธรรมชาติ/เคลื่อนไหวเล็กนอยแบบปกติ

0

ดิ้น/แขนขาปดไปมา 1 ขาถีบ/พยายามชักแขนขาหนี/แขนขาเหยียดเกร็ง หรือสั่น/ มือกําแนน

2

การรองไห

เงียบ 0 รองครางเบาๆ 1 รองเสียงดัง 2

การต่ืนตัว

หลับตาหรือตาปรือ เคลื่อนไหวแขนขาเล็กนอยแบบปกติ

0

ต่ืนลืมตา/อาการสงบ เคลื่อนไหวแขนขาเล็กนอย

1

ต่ืนลืมตาเต็มที่ เคลื่อนไหวแขนขามาก/กระสับกระสายไมอยูนิ่ง

2

การหายใจ

หายใจสม่ําเสมอ 0 หายใจไมสม่ําเสมอ/เร็วกวาปกติ/กลั้นหายใจ

1

หายใจหอบ/หยุดหายใจ 2

Page 6: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

ภาคผนวก ข คูมือการใหทารกดูดนมมารดาอยางมีแบบแผน

แบบประเมิน LATCH Score

Page 7: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

72

จัดทําโดย นางสาวจันทรฉาย ทองโปรง นิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

คูมือการใหทารกดูดนมมารดาอยางมีแบบแผน

Page 8: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

73

การใหทารกดูดนมมารดา ไมเพียงแตจะใหสารอาหาร ภูมิคุมกันโรค และสายใยความรักความผูกพันใหแกลูกนอยแลว ยังมีผลในดานการบรรเทาความปวดชนิดเฉียบพลันที่ไมรุนแรงไดอีกดวย ในขณะที่มารดาใหทารกดูดนมจากเตา สัมผัสอบอุนจากออมกอดของมารดาและความสุขจากการไดดูด จะสงผลใหทารกรับรูตอความปวดที่เกิดขึ้นไดนอยลง จากความสําคัญดังกลาว ผูจัดทําจึงรวบรวมเนื้อหาการใหทารกดูดนมมารดาอยางมีแบบแผน เพื่อเปนคูมือสําหรับใหมารดาปฏิบัติในการใหนมอยางถูกตองตามแบบแผน เพื่อประโยชนในการชวยบรรเทาปวดใหกับทารกขณะไดรับการเจาะเลือด ซึ่งคูมือฉบับนี้ผูจัดทําไดพัฒนาเนื้อหามาจากคูมือการอบรมผูเชี่ยวชาญการเลี้ยงลูกดวยนมแม ของสํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ดวย

นางสาวจันทรฉาย ทองโปรง มีนาคม 2553

คํานํา

Page 9: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

74

การดูดนมมารดาอยางมีแบบแผน มีผลในดานการบรรเทาความปวดชนิดเฉียบพลันที่ไมรุนแรงไดดังนี้

ขณะที่มารดาใหทารกแรกเกิดดูดนมจากเตา การอุมและการสัมผัสของมารดา

เปนการกระตุนใยประสาทขนาดใหญ สงสัญญาณประสาทไปยับยั้งใหประตูควบคุมความปวดที่ไขสันหลังปด ไมมีการสงสัญญาณประสาทความปวดไปยังสมอง ทําใหไมเกิดการรับรูความปวด

การอยูในออมกอดของมารดาทําใหทารกรูสึกอบอุน ปลอดภัย ผอนคลายและเปนสุข อีกทั้งการดูดยังเปนสิ่งที่ทารกมีความพึงพอใจไดรับการตอบสนองทางอารมณ สุขใจกับการไดใชปากในการดูดกลืน และลิ้นไดรบัรสของนมมารดาเปนผลใหเกิดการหลั่งสารแหงความสุข (เอนดอรฟน) ซึง่มีผลใหอดทนตอความปวดมากขึ้น

กลไกลดปวด

Page 10: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

75

เพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับชวยบรรเทาความปวดใหกับทารกแรกเกิดเมื่อไดรับการเจาะเลือด

วัตถุประสงค

Page 11: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

76

1. มารดาและทารกอยูในสถานที่เงียบสงบ (หองคลีนิคนมแม) 2. มารดามีความพรอมในการใหทารกดูดนมจากเตา และมีคะแนน LATCH score ตั้งแต 8 ขึ้นไป 3. ทารกไดรบัการดูแลความสะอาดหลังขับถาย ใสผาออมสําเร็จรูปปองกันการเปยกแฉะขณะดําเนินการทดลอง ใสเสื้อตามปกติ

4. ทารกตื่นตัวเต็มที่

ข้ันตอนการเตรียมมารดาและทารก

Page 12: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

77

1. ใหมารดานั่งในทาที่สุขสบายบนเกาอี้หรือเตียงนอน ตัวตรงไมโนมตัวไปขางหนามากเกินไปจะทําใหปวดหลัง ฝาเทาสัมผัสกับพื้นพอดี ถาเทาไมถึงพื้นควรมีเกาอี้สําหรับรองฝาเทาเพื่อความสุขสบายในการนั่ง มีหมอนสําหรับรองแขนมารดาขางที่อุมทารกเพื่อปองกันการเมื่อยลาจากการอุมทารกนานๆ

ข้ันตอนการปฏิบัติใหทารกดูดนมมารดาอยางมีแบบแผน

Page 13: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

78

2. ใหมารดาใชแขนขางเดียวกับเตานมที่จะใหดูด อุมทารกวางบนตัก ประคองศีรษะทารก โดยใหศีรษะทารกวางบนทองแขนมารดาติดกับขอพับแขน ฝามือและแขนขางเดียวกันของมารดา ประคองบริเวณกนและตนขาของทารกไว

ศีรษะและลําตัวของทารกอยูในแนวเดียวกันยกศีรษะทารกใหสูงกวากระเพาะอาหารเล็กนอย คอไมบิด ตะแคงหนาและลําตัวของทารกเขาหามารดา ใหหนาทองของทารกแนบชิดกับอกของมารดา ปากของทารกตรงกับหัวนมของมารดา

แขนของทารกขางหนึ่งอยูใตแขนของมารดาขางที่ใชประคองตัวทารก แขนอีกขางของทารกแนบอยูบนลําตัวดานบนของทารก ขาทั้งสองขางของทารกจะอยูใตเตานมอีกขางหนึ่งของมารดา

Page 14: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

79

3. มืออีกขางของมารดาประคองเตานมเขาปากของทารก การประคองเตานมที่ถูกตองจะชวยใหหัวนมเขาไปในปากทารกไดลึกขึ้น โดยมือมารดาตองอยูนอกขอบลานนม นิ้วมือทั้งสี่อยูดานลางของเตานมและนิ้วหัวแมมืออยูดานบน ปรับมือที่ประคองเตานมไปตามแนวปากของทารกเปนรูปตัว U หรือตัว C

4. ใหมารดาประคองเตานมไวตลอดเวลาจนกวาทารกจะดูดนมมารดาติด เมื่อดูดติดมือมารดาอาจจะเลื่อนมาลูบไลสัมผัสทารกไดตามตองการ

Page 15: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

80

5. ใหมารดามองหนาและสบตากับทารก

6. ขณะทารกดูดนมจากเตานมมารดา ริมฝปากบนและลางของทารกบานออก อมหัวนมลึกถึงลานนม เหงือกกดทับบนลานนม ลิ้นวางใตลานนม คางชิดเตานม แกมปอง ขากรรไกรของทารกขยับขึ้นลงเปนจังหวะจากการดูด และไดยนิเสียงกลืนเปนชวง ๆ

Page 16: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

81

7. ผูปฏิบัติประเมินการใหนมของมารดาและการดูดนมของทารกโดยใช LATCH score ซึ่งคะแนนตั้งแต 8 ขึ้นไป ถือวาการใหทารกดูดนมมารดานั้นถูกตองและแบบแผน

ใหทารกดูดนมตอเนื่องตลอดการทดลอง และปลอยเตานมเองเมื่อดูดนมอิ่มแลว

Page 17: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

82

การใหทารกดูดนมมารดา ถาปฏิบัติไดอยางถูกตองและมีแบบแผน ซึ่งประเมินไดจาก LATCH score มีผลใหการดูดนมนั้นสามารถทําไดตอเนื่องและยาวนาน ทั้งมารดาและทารกไมออนลาจากทาทางและการอมหัวนมที่ไมถูกตอง จึงจะมีผลตอกลไกในการลดปวดใหกับทารก ดังนั้นการการใหทารกดูดนมมารดาจึงควรปฏิบัติอยางมีแบบแผนตามขั้นตอนดังกลาวขางตน

เอกสารอางอิง นิพรรณพร วรมงคล. (2550). คูมือการอบรมผูเชี่ยวชาญการเลี้ยงลูกดวยนมแม. กรุงเทพฯ: ชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

สรุป

Page 18: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

83

แบประเมิน LATCH Score ทารกรายที่ .................

วันที่ ......................................... (..........) ไดรับการดูดนมมารดาอยางมีแบบแผน (..........) ไดรับการพยาบาลตามปกต ิ

1. L = Latch การเลีย, การอม

คะแนน 0 ทารกงวงมากไมยอมดูด ไมอมหวันม คะแนน 1 ตองพยายามหลายครั้งเจาหนาทีช่วยจับหวันมมารดาไวในปากทารก ทารกจึงดูดนมได / ทารกอมเฉพาะปลายหัวนม

คะแนน 2 แนวเหงือกทารกวางอยูบนกระเปาะน้ํานมของมารดา ล้ินวางใตราวนม ริมฝปากบนและลางบานออก ดูดเปนจังหวะ

2. A = Audible เสียงการกลืนนม

คะแนน 0 ไมไดยนิเสียงกลืน คะแนน 1 นานๆ กลืนครั้ง และกลืนเฉพาะเมื่อมีการกระตุน คะแนน 2 ไดยนิเสียงกลืนเปนชวงๆ

3. T = Type of nipple

ลักษณะหวันม

คะแนน 0 หัวนมบุมเขาไป คะแนน 1 หัวนมแบนหรือยืน่เล็กนอย คะแนน 2 หัวนมยื่นออกมาดีขณะอยูเฉยๆ หรือหลังจากการกระตุน

4. C = Comfort ความสบาย

คะแนน 0 มารดาไมสุขสบายมาก และเตานมคัดตึงมาก คะแนน 1 มารดาปวดเล็กนอยถึงปานกลาง คะแนน 2 เตานมนุมยดืหยุนดี หัวนมปกติ มารดารูสึกสบาย

5. H = Hold การอุมทารก

คะแนน 0 เจาหนาที่ตองใหความชวยเหลือมารดาทุกอยางในการอุมทารกดดูนม

คะแนน 1 มารดาตองการความชวยเหลือจากเจาหนาที่ในการจัดทา 1 ขาง อีกขางทําไดเอง

คะแนน 2 ทาอุมถูกตอง เจาหนาที่ไมตองชวย

Page 19: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

84

ภาคผนวก ค ใบยินยอมเขารวมการวจิัย

การพิทักษสิทธิ์ของกลุมตัวอยาง

Page 20: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

85

ใบยินยอมเขารวมการวิจัย ------------------------

หัวขอวิทยานพินธ เร่ือง ผลของการใหดูดนมมารดาอยางมีแบบแผนตอความปวดจากการเจาะเลือด ในทารกแรกเกิด (EFFECTS OF PLANNED BREASTFEEDING ON PAIN IN

NEONATES RECEIVING VENIPUNCTURE) วันใหคํายนิยอม วันที่ …………………เดือน……………………พ.ศ. ………… กอนที่จะลงนามในใบยินยอมเขารวมการวจิัยนี้ ขาพเจาไดรับการอธิบายจากผูวิจัยถึงวัตถุประสงคของการวิจยั วธีิการวิจัย ความเสี่ยงที่อาจเกดิขึ้น และประโยชนที่จะเกดิขึ้นจากการวิจัยอยางละเอยีดและมีความเขาใจดแีลว ขาพเจายนิดใีหเขารวมโครงการวิจัยนี้ดวยความสมัครใจ และขาพเจามีสิทธิที่จะบอกเลิกการเขารวมในโครงการวิจัยนี้เมื่อใดก็ได และการบอกเลิกการเขารวมการวิจัยนี้ จะไมมีผลกระทบใด ๆ ตอขาพเจา ขาพเจาไดอานขอความขางตนแลว และมีความเขาใจดีทุกประการ และไดลงนามใน ใบยินยอมนีด้วยความเต็มใจ ลงนาม…………………………………………………………ผูยินยอม (…………………………………………………………) ลงนาม…………………………………………………………พยาน (…………………………………………………………) ลงนาม…………………………………………………………ผูทําวิจยั

(นางสาวจันทรฉาย ทองโปรง)

Page 21: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

86

คําชี้แจงการเขารวมโครงการวิจัย

การวิจัยเร่ือง ผลของการใหดูดนมมารดาอยางมีแบบแผนตอความปวดจากการเจาะเลือดในทารกแรกเกดิ 1. คําชี้แจงเกี่ยวกับการเขารวมโครงการวิจัย การดูดนมมารดาอยางถูกตองและมีแบบแผนของทารก มีผลบรรเทาความปวดจากการเจาะเลือดในทารกแรกเกิด เนื่องจากการอุมสัมผัสแนบชิดของมารดาเปนการกระตุนใยประสาทขนาดใหญ ยับยั้งการสงสัญญาณความปวดไปยังสมอง ทําใหไมเกิดการรับรูความปวด การอยูในออมกอดของมารดาและการไดดูดกลืนน้าํนมของมารดาทําใหทารกมคีวามพึงพอใจและเปนสุข รางกายหลั่งสารแหงความสขุ (เอนดอรฟน) มีผลใหอดทนตอความปวดมากขึ้น การวจิัยคร้ังนี้จะศึกษาถึงผลของการใหดูดนมมารดาอยางมแีบบแผนตอความปวดจากการเจาะเลือดในทารกแรกเกดิ เพื่อพัฒนาวธีิลดปวดใหกบัทารกแรกเกิดขณะเจาะเลือดจากเสนเลือดดํา ผลการวิจัยที่ไดจะนําไปใชเปนประโยชนในการดูแล หรือบรรเทาปวดใหกับทารกแรกเกิดไดอยางเหมาะสม 2. คําชี้แจงเกี่ยวกับขั้นตอน วิธีการ ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยจัดใหทารกดดูนมมารดาอยางมีแบบแผนในกลุมทดลอง ขณะที่ทารกถกูเจาะเลือด ซ่ึงการเจาะเลือดเปนขั้นตอนปกติของหอผูปวยสูต-ินรีเวช ที่ตองมีการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองภาวะพรองธัยรอยดฮอรโมนในทารกแรกเกิดทุกราย ที่มอีายุหลังคลอดตั้งแต 48 ชั่วโมงเปนตนไป ผูทําการเจาะเลือดเปนพยาบาลประจําตึกทีม่ีหนาที่โดยตรงในการเจาะเลือดทารก มีความชํานาญมากกวา 10 ป ใชเลือดเล็กนอยหยดลงบนกระดาษคดักรองจํานวน 6 หยด และทารกจะไมไดรับอันตรายใดๆ จากการเจาะเลือด ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดแก คะแนนความปวด อัตราการเตนของหัวใจ คาความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด และระยะเวลารองไหของทารก กอนและหลังเจาะเลือดในทารกแรกเกิดกลุมที่ใหดูดนมมารดาอยางมีแบบแผน เปรียบเทียบกับทารกแรกเกดิกลุมทีไ่ดรับการพยาบาลตามปกติ และในการเกบ็รวบรวมขอมูลคร้ังนี้ผูวิจัยขออนุญาตถายภาพวีดีทัศนเพื่อประเมนิซ้ําถึงปฏิกิริยาการตอบสนองตอความปวดของทารก โดยการถายภาพในกลุมทดลองจะเห็นเฉพาะใบหนาและลําตัวของทารก จะไมถายภาพใบหนาของมารดา และหลังจากไดรับการตีพิมพผลงานการวจิัยในวารสารแลว จะทําลายวีดีโอและขอมูลสวนตวัของกลุมตัวอยางทั้งกลุมควบคุมและทดลองทันที จะไมมีการเผยแพรภาพตอไป

Page 22: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

87

3. ประโยชนท่ีไดรับจากการเขารวมโครงการ ทารกไดรับการดูแลบรรเทาปวดจากการเจาะเลือดตรวจคัดกรองภาวะพรองธัยรอยดฮอรโมนในกลุมทดลอง และเพื่อเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับมารดาในการชวยเหลือลดปวดใหกับทารกตอไป ในกลุมควบคุมการวิจยัคร้ังนีจ้ะมีประโยชนกับทารกในภายหนา ที่อาจไดรับการเจาะเลือดหรือฉีดยาซึ่งทารกจะไดรับการชวยบรรเทาปวดในครั้งตอไป 4. คําชี้แจงเกี่ยวกับผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นและสิทธิของผูรวมโครงการ ผูวิจัยจะเก็บขอมูลของแตละบุคคลไวเปนความลับ และจะเปดเผยเฉพาะสรุปผลรวมของการวิจยั ขอมลูที่ไดจะนําไปวิเคราะหในภาพรวม กลุมตัวอยางสามารถบอกเลิกหรือปฏิเสธการเขารวมโครงการ หรือยุติการทดลองเมื่อใดก็ได โดยไมมีโทษหรือสูญเสียประโยชนแตอยางใด ทั้งนี้การเขารวมโครงการวิจยัเปนความเต็มใจและสมัครใจของกลุมตัวอยาง ไมมีผลกระทบใดๆ ทั้งทางดานรางกายและจิตใจ หากทานมีปญหาหรือขอสงสัยประการใด กรุณาติดตอ นางสาวจันทรฉาย ทองโปรง หมายเลขโทรศัพท 085-6503702 ซ่ึงยินดตีอบคําถาม และอธิบายขอของใจใหแกทานตลอดเวลา ขอขอบพระคุณในความรวมมือของทานมา ณ ที่นี ้ นางสาวจันทรฉาย ทองโปรง ผูวิจัย

Page 23: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

ภาคผนวก ง

หนังสือรับรองการพิจารณาจริยธรรม หนังสือขอความอนุเคราะห

Page 24: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

89

Page 25: ภาคผนวก - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51912938/... · 2018-09-19 · 67 ภาคผนวก ก เครื่ืองมี่อท

90