222
แผนปฏิบัติการ ของ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดย สานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

แผนปฏิบัติการแผนปฏ บ ต การ ของ ส าน กงานคณะกรรมการการอ ดมศ กษา ประจ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • แผนปฏิบัติการ ของ

    ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

    โดย ส านักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

  • คํานํา การดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐมีวัตถปุระสงคเพ่ือมุงเนนประโยชนสุขของประชาชน

    ในมิติตางๆ ตามภาระหนาท่ีความรับผิดชอบของแตละหนวยงาน ซ่ึงยอมจะสงผลโดยตรงตอการพัฒนา

    ประเทศในภาพรวมต้ังแตระดับปจเจกบุคคล ระดับชุมชน ระดับสังคม ตลอดจนระดับประเทศ

    ทั้ งนี้ เ พ่ือใหการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิท ธิผล

    สามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงคในแตละภารกิจตามที่กฎหมายกําหนด จึงจําเปนตองมีการกําหนด

    แผนยุทธศาสตร นโยบาย แผนปฏิบัติการ รวมทั้งกรอบเปาหมายการดําเนินงานในระดับตางๆ เพ่ือใชเปน

    เคร่ืองมือในการกําหนดแนวทางการดําเนินงานของแตละหนวยงานใหสามารถดําเนินงานตามภารกิจ

    ให เปนไปอยางมีประสิทธิภาพโปรง ใส กอให เกิดประสิทธิผลสูงสุด พรอมท้ังเปนกลไกสําคัญ

    ในการขับเคลื่อนประเทศใหเกิดการพฒันาเปนไปตามกรอบเปาหมายอนาคตประเทศตอไป

    สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะหนวยงานภาครัฐมีบทบาทในการกําหนด

    ทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษาและการสงเสริมการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหมีประสิทธิภาพและ

    ประสิทธิผลสูงสุด รวมทั้งสามารถตอบโจทย เปาหมายการพัฒนาประเทศใหเปนไปตามที่ ต้ั งไว

    โดยยึดแนวทางตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร รวมทั้งกรอบเปาหมายในระดับตางๆ เปนกรอบทิศทาง

    ผลักดันภารกิจของหนวยงาน ประกอบกับมีแผนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการการอุดมมศึกษา

    พ.ศ. 2558 - 2561 ซ่ึงใช เปนทิศทางการพัฒนาหนวยงาน เส ริมสร าง ศักยภาพการปฏิบัติ งาน

    ใหบรรลุวิสัยทัศน “สกอ. เปนองคกรหลักท่ีชี้นําการพัฒนาอุดมศึกษาไทย ใหเปนพลังสรางสรรคสังคมไทย

    อยางยั่งยืน” สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษาเล็งเห็นวาเพ่ือใหการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร

    เปนรูปธรรมชัดเจนมากขึ้น จึงจัดทําแผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจํา

    ปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ภายใตทิศทางที่แผนยทุธศาสตร สกอ. และวงเงินงบประมาณตามที่ไดรับจัดสรร

    ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 รวมทั้งสิ้น 4,328.6654 ลานบาท เปนกลไกผลักดันประสิทธิภาพ

    การดําเนินงานของหนวยงาน โดยมีวัตถุประสงคประการสําคัญของการจัดทําแผน คือ 1) มุงหวังเพ่ือให

    ผูบริหาร บุคลากร และผูมีสวนไดสวนเสีย เกิดความรู ความเขาใจท่ีตรงกันตอความเชื่อมโยงแผนระดับชาติ

    สูแผนระดับหนวยงาน 2) เพื่อใหแผนปฏบิัติการประจําปใชเปนกรอบกํากับการดาํเนินงาน สําหรับบุคลากร

    ภายในทุกระดับใหบรรลุเปาหมายตามที่ไดกําหนดไว 3) เพ่ือใชเปนขอมูลประกอบการติดตามประเมินผล

    โครงการและกิจกรรมเมื่อส้ินปงบประมาณ และ 4) เพ่ือใชเปนขอมูลประกอบการจัดทํายุทธศาสตร สกอ.

    ฉบับตอไป

    ทั้งนี้ สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาแผนปฏิบัติการจะเปน

    ประโยชนตอผูบริหาร บุคลากร และผูเกี่ยวของ ใหสามารถขับเคลื่อนเปาหมายของหนวยงานรวมกัน

    เกิดเปนผลลัพธตามที่ไดต้ังวัตถุประสงคของการจัดทํา และผลสัมฤทธ์ิสะทอนตอการพัฒนาอุดมศึกษา

    ในระยะยาวตอไป

  • สารบัญ หนา

    สวนท่ี 1 บทนํา กรอบแนวคิดการจัดทําแผนปฏิบัติการ 1

    อํานาจหนาที่ตามกฎหมายของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2 นโยบายและแผนสําคัญ 4 นโยบายของรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี) 4 ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 15 แผนการศึกษาแหงชาต ิ(พ.ศ. 2560-2579) 18

    จุดเนนนโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป)

    21

    เปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

    23

    ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 25 (ราง) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ป ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2579) 27 บริบททั่วไปของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 33 ผังความเชื่อมโยงนโยบายและแผนสําคัญกับการดําเนินการของสํานักงาน

    คณะกรรมการการอุดมศึกษา

    48

    สวนท่ี 2 การถายทอดแผนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

    (พ.ศ.2558-2561) สูแผนปฏิบัติการ

    49

    สาระสําคัญของยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (พ.ศ.2558-2561) 50 วิสัยทัศน 50 พันธกิจ และเปาประสงคหลัก 51 ผลผลิต และผลลัพธ 52 ยุทธศาสตร 53

    การถายทอดยุทธศาสตรสูแผนปฏิบัติการ 56 ผังเชื่อมโยงยุทธศาสตรกับการดําเนินงาน 59 สรุปภาพรวม ผลผลิต/โครงการแยกตามยุทธศาสตร สกอ. 60

  • สารบัญ (ตอ) หนา

    สวนที่ 3 แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ

    พ.ศ. 2561

    67

    รายละเอียดการดําเนินการของหนวยงานแยกรายยุทธศาสตร โดยระบุ ผลผลิต กิจกรรม โครงการ งบประมาณรายไตรมาส วิธีการงบประมาณ พ้ืนที่ดําเนินการ

    ผูมีสวนไดสวนเสีย และ ผูรับผิดชอบ

    68

    รายละเอียดการดําเนินงานของหนวยงานรายสํานัก โดยเทียบวัตถุประสงค ระยะเวลา และความสําเร็จ เพ่ือสะทอนเปาประสงคยุทธศาสตร

    126

    สวนที่ 4 แนวทางการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 197

    แนวทางการดําเนินงานตามการปฏิรูปประเทศ 198 การดําเนินงานคณะกรรมการอิสระเพื่อปฏิรูปการศึกษา 198 แนวทางการดําเนินงานเพ่ือขับเคล่ือนเชิงพ้ืนที่ 202 กรอบการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ตามทิศทางการพัฒนาภาค ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

    และสงัคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2574)

    202

    กรอบการพัฒนาเชิงพื้นท่ีตามนโยบายการพัฒนาระเบียงเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC)

    203

    กรอบการพัฒนาเชิงพื้นที่ตามนโยบายไทยนิยม ย่ังยืน 205 ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 208 ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอการจัดทํายุทธศาสตร สกอ. ฉบับตอไป 211

    ภาคผนวก

    ประกาศคําส่ังแตงต้ังคณะทํางานจัดทําแผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    ผังโครงสรางสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แผนภูมิกระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการการ

  • กรอบแนวคิดการจดัทําแผนปฏิบัติการ

    อํานาจหนาที่ตามกฎหมายของสาํนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

    นโยบายและแผนสําคัญ นโยบายของรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี) ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2560-2579) จุดเนน นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) แนวทางและยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจาํปงบประมาณ (ราง) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2560-2579)

    บริบททั่วไปของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

    ผั งความเชื่ อมโยงนโยบายและแผนสําคัญกับการดํา เนินการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

  • แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

    อาํนาจหนาที่ตามกฎหมาย ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึษา

    ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

    พ.ศ. 2546 ขอ 1 กําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีภารกิจเก่ียวกับการจัดและสงเสริม

    การศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษา

    ระดบัปริญญา โดยใหมีอํานาจหนาท่ีดังตอไปนี้

    1. จัดทําขอเสนอนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษาและแผนพัฒนาการอุดมศึกษา รวมท้ังดําเนินงานดานความสัมพันธระดบัอุดมศึกษากับตางประเทศ

    2. จัดทําหลักเกณฑและแนวทางการสนับสนุนทรัพยากร และการจัดต้ัง จัดสรรงบประมาณอุดหนนุสถาบันอุดมศึกษาและวิทยาลัยชุมชน

    3. ประสานและสงเสริมการดําเนินงานพัฒนาทรัพยากรมนุษยและศักยภาพนักศึกษา รวมทั้งผูพิการ ผูดอยโอกาส และผูมีความสามารถพิเศษในระบบอุดมศึกษา

    และประสาน สงเสริม สนับสนุนการวิจัยเพื่อสรางองคความรูใหมและสนับสนุน

    การพัฒนาประเทศ

    4. เสนอแนะเกี่ยวกับการจัดต้ัง ยุบ รวม ปรับปรุง และยกเลิกสถาบันอุดมศึกษา และวิทยาลัยชุมชน

    5. ดําเนินการเกี่ยวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการอุดมศึกษาตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษามอบหมาย รวมทั้งการรวบรวมขอมูลและจัดทํา

    สารสนเทศดานการอุดมศึกษา

    6. ดําเนินการเก่ียวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการการอุดมศึกษา 7. ปฏิบัติงานอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ

    ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี

    มอบหมาย

  • สวนท่ี 1 : บทนํา

    3

    ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินงานตามภารกิจดังกลาวสําเร็จลุลวงบรรลุวัตถุประสงคตามท่ี

    กฎหมายกําหนด สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดปรับปรุงการแบงสวนงานภายใน

    เพ่ือรับผิดชอบการดําเนินงานตามภารกิจในแตละดานใหเหมาะสม ดังนี้

    หนวยงานตามกฎหมาย :

    1. สํานักอํานวยการ 2. สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา 3. สํานักประสานและสงเสริมกิจการอุดมศึกษา 4. สํานักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา 5. สํานักยุทธศาสตรอุดมศึกษาตางประเทศ 6. สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา 7. สํานักสงเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร 8. กลุมพัฒนาระบบบริหาร 9. กลุมตรวจสอบภายใน

    หนวยงานจัดตั้งภายใน :

    10. สํานักนิติการ 11. สํานักติดตามและประเมนิผลอุดมศึกษา

    หนวยงานในกํากับ :

    12. สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 13. สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือพัฒนาการศึกษา 14. โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย 15. สถาบันคลังสมองของชาติ

  • แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

    นโยบายและแผนสําคญั นโยบายของรัฐบาล (พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี)

    ตามท่ีพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีไดแถลงนโยบายตอสภานิติบัญญัติ

    แหงชาติ เมื่อวันท่ี 12 กันยายน 2557 นั้น เพ่ือใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

    (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 19 ที่กําหนดหนาท่ีของรัฐบาล 3 ประการ ไดแก 1) การบริหาร

    ราชการแผนดิน 2) การดําเนินการใหมีการปฏิรูปในดานตาง ๆ 3) การสงเสริมความสามัคคีและความสมานฉันท

    ของประชาชนในชาติ รัฐบาลจึงไดกําหนดนโยบาย 11 ดาน ใหสอดคลองกับหนาที่ท้ัง 3 ประการดังกลาว

    โดยนํายุทธศาสตรการพัฒนาประเทศวาดวยการเขาใจ การเขาถึง และพัฒนาตามแนวพระราชดําริของ

    พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แนวทางของคณะรักษา

    ความสงบแหงชาติ และความตองการของประชาชน เปนหลักคิดสําคัญในการกําหนดนโยบาย ทั้งนี้

    นโยบายของรัฐบาลในทุกดานจะตองการสรางความเขมแข็งใหแกองคกรปกครองทุกระดับ ตั้งแตทองถิ่น

    จนถึงประเทศครอบคลุมปญหาในทุกระยะ ทั้งระยะเฉพาะหนา ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อใหทราบถึง

    ความตองการของประชาชนอันจะนํามาซ่ึงการกําหนดทิศทางในการพัฒนาประเทศตอไป ซ่ึงสามารถสรุป

    นโยบายของรัฐบาลทั้ง 11 ดานไดดังนี ้

    นโยบายท่ี 1 : การปกปองและเชิดชสูถาบันพระมหากษัตริย

    ดวยประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

    ฉะนั้นสถาบันพระมหากษัตริยจึงเปนสถาบันหลักของชาติอันสําคัญตอการปกครองการในระบอบ

    ประชาธิปไตย ตามประเพณีการปกครองของไทย ดวยเหตุนี้ รัฐบาลจึงถือเปนหนาท่ีสําคัญอยางยิ่งยวด

    ในการเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริยไวดวยความจงรักภักดีและปกปองรักษาพระบรมเดชานุภาพ โดยจะใช

    มาตรการทางกฎหมาย มาตรการทางสังคมจิตวิทยา และมาตรการทางระบบสื่อสารและเทคโนโลยี

    สารสนเทศ ในการดําเนินการกับผูมุงสั่นคลอนสถาบันหลกัของชาติดังกลาว นอกจากนั้น รัฐบาลยังมีหนาที่

    เผยแพรความรูความเขาใจที่ถูกตองและเปนจริงเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย ตลอดจนพระราชกรณียกิจ

    เพื่อประชาชน รวมทั้งการสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สงเสริมใหเจาหนาที่ สถานศึกษา

    และหนวยงานของรัฐเรียนรูและเขาใจหลักการทรงงาน สามารถนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติราชการ

    ใหเกิดการพัฒนา สรางประโยชนในวงกวาง อันจะชวยสรางความสมบูรณพูนสุขแกประชาชนตอไป

    นโยบายท่ี 2 : การรักษาความมั่นคงของรัฐและการตางประเทศ

    การรักษาความมั่นคงของรัฐและการตางประเทศระยะเรงดวน รัฐบาลมุงเนนการเตรียม

    ความพรอมสูประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเชียน โดยการดําเนินการใน 5 ดาน ไดแก

    (1) การบริหารจัดการชายแดน (2) การสรางความมั่นคงทางทะเล (3) การแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติ

    (4) การสรางความไววางใจกับประเทศเพื่อนบาน และ (5) การเสริมสรางศักยภาพในการปฏิบัติการทางทหาร

  • สวนท่ี 1 : บทนํา

    5

    รวมกันของอาเซียน รวมทั้งการเรงแกไขปญหาการใชความรุนแรงในจังหวัดชายแดนใต โดยนํายุทธศาสตร

    เขาใจ เขาถึง และพัฒนามาใชตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ตลอดจนการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพ

    ของกองทัพและระบบปองกันประเทศใหทันสมัย มีความพรอมในการรักษาอธิปไตย และผลประโยชนของชาติ

    นโยบายที่ 3 : การลดความเหลื่อมล้ําของสังคม และการสรางโอกาสการเขาถึงบริการของรัฐ

    ความเหลื่อมล้ําในสังคมอันเปนสาเหตุหนึ่งของปญหาความขัดแยงและความเดือดรอน

    ท้ังหลายของประชาชน รัฐบาลจึงมีนโยบายท่ีจะดําเนินการในระยะเฉพาะหนา โดยเรงสรางโอกาส

    ในอาชีพ และการมีรายไดที่มั่นคงใหแรงงานท้ังระบบ สรางโอกาสเขาถึงการเรียนรูและพัฒนาทักษะ

    ฝมือแรงงานในทุกระดับอยางมีมาตรฐาน สรางการปองกันและแกไขการคามนุษย ปญหาผูหลบหนี

    เขาเมือง การทารุณกรรมตอแรงงานขามชาติ ปญหาการทองเที่ยวที่เนนบริการทางเพศและเด็ก ปญหา

    คนขอทาน ปรับปรุงกฎหมายที่จําเปนและเพิ่มความเขมงวดในการระวังตรวจสอบ ตลอดจนมุงเนน

    ใหเกิดการพัฒนาระบบการคุมครองทางสังคม ระบบการออม ระบบเพ่ือการรองรับสังคมผูสูงอายุ

    และระบบสวัสดิการชมุชนใหมีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมากยิ่งข้ึน

    นโยบายที่ 4 : การศึกษาและเรียนรู การทะนุบํารุงศาสนา ศลิปะและวัฒนธรรม

    รัฐบาลจะนําการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร

    และความเปนไทยมาใชสรางสังคมใหเขมแข็งอยางมีคุณภาพและคุณธรรมควบคูกัน ดังนี้

    1. จัดใหมีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู โดยใหความสําคัญกับการศึกษา ในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพรอมกัน สรางเสริมคุณภาพการเรียนรู โดยเนนการเรียนรูเพื่อสราง

    สัมมาชีพในพื้น ท่ี ลดความเหลื่อมล้ํ า และพัฒนากําลังคนให เปนที่ตองการเหมาะสมกับ พ้ืนท่ี

    ทั้งในดานการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการ

    2. ในระยะเฉพาะหนา ปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ใหสอดคลองกับความจําเปนของผูเรียนและลักษณะพ้ืนที่ของสถานศึกษา ปรับปรุงและบูรณาการ

    ระบบการกูยืมเงินเพ่ือการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ จัดระบบการสนับสนุนใหเยาวชนและประชาชนทั่วไป

    มีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะพิจารณาจัดใหมีคูปอง

    การศึกษาเปนแนวทางหนึ่ง

    3. ใหองคกรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องคกรปกครองทองถิ่นและประชาชนท่ัวไปมีโอกาสรวมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและท่ัวถึง และรวมในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู

    กระจายอํานาจการบริหารจัดการศกึษาสูสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

    ตามศักยภาพและความพรอม โดยสถานศึกษาสามารถเปนนิติบุคคลและบริหารจัดการไดอยางมีอิสระ

    และคลองตัวขึ้น

    4. พัฒนาคนทุกชวงวัยโดยสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต เพ่ือใหสามารถมีความรู และทักษะใหมที่สามารถประกอบอาชีพไดหลากหลายตามแนวโนมการจางงานในอนาคต ปรับกระบวนการ

  • แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

    เรียนรูและหลักสูตรใหเชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรูและคุณธรรมเขาดวยกัน เพ่ือเอ้ือตอ

    การพัฒนาผูเรียนทั้งในดานความรู ทักษะ การใฝเรียนรู การแกปญหา การรับฟงความเห็นผูอ่ืน การมีคุณธรรม

    จริยธรรม และความเปนพลเมืองดี โดยเนนความรวมมือระหวางผูเก่ียวของทั้งในและนอกโรงเรียน

    5. สงเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพื่อสรางแรงงานที่มีทักษะ โดยเฉพาะในทองถิ่นที่มีความตองการแรงงาน และพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาใหเชื่อมโยง

    กับมาตรฐานวิชาชีพ

    6. พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเปนครู เนนครูผูสอนใหมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน นําเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือท่ีเหมาะสมมาใชในการเรียน

    การสอน เพ่ือเปนเครื่องมือชวยครูหรือเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง เชน การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบ

    อิเล็กทรอนิกส เปนตน รวมทั้งปรับระบบการประเมินสมรรถนะท่ีสะทอนประสิทธิภาพการจัดการเรียน

    การสอนและการพัฒนาคุณภาพผูเรยีนเปนสําคัญ

    7. ทะนุบํารุงและอุปถัมภพระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืน ๆ สนับสนุนใหองคกร ทางศาสนามีบทบาทสําคัญในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต สรางสันติสุข

    และความปรองดองสมานฉันทในสังคมไทยอยางยั่งยืน และมีสวนรวมในการพัฒนาสงัคมตามความพรอม

    8. อนุ รักษฟนฟูและเผยแพรมรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่น รวมทั้งความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมไทยเพื่อการเรียนรู สรางความภาคภูมิใจ

    ในประวัติศาสตรและความเปนไทย นําไปสูการสรางความสัมพันธอันดีในระดับประชาชน ระดับชาติ

    ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ ตลอดจนเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจใหแกประเทศ

    9. สนับสนุนการเรียนรูภาษาตางประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบาน และวัฒนธรรมสากล และการสรางสรรคงานศิลปะและวัฒนธรรมท่ีเปนสากล เพื่อเตรียมเขาสูเสาหลัก

    วัฒนธรรมของประชาคมอาเซยีนและเพ่ือการเปนสวนหนึ่งของประชาคมโลก

    10. ปลูกฝงคานิยมและจิตสํานึกที่ดีรวมทั้งสนับสนุนการผลิตสื่อคุณภาพ เพื่อเปดพื้นที่สาธารณะใหเยาวชนและประชาชนไดมีโอกาสแสดงออกอยางสรางสรรค

    นโยบายท่ี 5 : การยกระดับคณุภาพบริการดานสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน

    รัฐบาลจะวางรากฐาน พัฒนา และเสริมความเขมแข็งในการใหบริการดานสาธารณสุข

    และสุขภาพของประชาชนโดยเนนความท่ัวถึง ความมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ โดยวางรากฐานใหระบบ

    หลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรในทุกภาคสวนอยางมีคุณภาพและบูรณาการขอมูลหลักประกัน

    สุขภาพทุกระบบ พัฒนาระบบบริการสุขภาพโดยสรางกลไกการจัดการสุขภาพในระดับเขตแทนการกระจุกตัว

    อยูที่สวนกลาง เสริมความเขมแข็งของระบบเฝาระวังโรคระบาด ปองกันและแกไขปญหาการเกิดอุบัติเหตุ

    ในการจราจร สงเสริมการกีฬาเพื่อสุขภาพ ปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุนและการอุมบุญ

    ตลอดจนการพัฒนาขีดความสามารถในการวิจัยดานวิทยาศาสตรการแพทยและสาธารณสขุ

  • สวนท่ี 1 : บทนํา

    7

    นโยบายที่ 6 : การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ

    รัฐบาลจะดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศเปน 3 ระยะ คือ 1) ระยะเรงดวน

    ท่ีตองดําเนินการทันที โดยสานตอนโยบายงบประมาณกระตุนเศรษฐกิจตามที่คณะรักษาความสงบ

    แหงชาติจัดทําไว และนําหลักการจัดทํางบประมาณรายจายซึ่งใหความสําคัญกับการบูรณาการ

    งบประประมาณและความพรอมดําเนินการมาพิจารณาขับเคลื่อนใหเกิดความประหยัดไมซ้ําซอน อยางมี

    ประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม กระตุนการลงทุนดวยการเรงพิจารณาโครงการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ

    รวมถึงโครงการลงทุนในโครงสรางพ้ืนฐานที่มีผลตอบแทนดี ดูแลเกษตรกรใหมีรายไดที่เหมาะสมดวย

    วิธีการตางๆ ลดอุปสรรคในการสงออกเพ่ือใหเกิดความคลองตัว และดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติเขามา

    ทองเที่ยวในประเทศไทย 2) ระยะตอไปที่ตองแกไขปญหาพ้ืนฐานท่ีคางคาอยู รัฐบาลจะมุงเนนประสาน

    นโยบายการเงินและการคลังใหสอดคลองกัน แกไขปญหาน้ําทวมในฤดูฝนและปญหาขาดแคลนน้ําในบาง

    พ้ืนท่ีและบางฤดูกาล ปฏิรปูโครงสรางราคาเชื้อเพลิงประเภทตาง ๆ ใหสอดคลองกับตนทุน ปรับปรงุวิธีการ

    จัดเก็บภาษีใหจัดเก็บไดอยางครบถวน บริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ เกิดข้ึนในชวงรัฐบาลที่ผานมา

    และ 3) ระยะยาวที่ตองวางรากฐานเพ่ือความเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง รัฐบาลจะพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

    ดานการขนสงและคมนาคม อาทิ รถไฟฟา ทาอากาศยาน นิคมอุตสาหกรรมการบิน ระบบโลจิสติกสทางลําน้ํา

    และชายฝงทะเล เปนตน ปรับโครงสรางการบริหารจัดการในสาขาขนสงที่มีการแยกบทบาทและภารกิจ

    ของหนวยงานระดับนโยบาย หนวยงานกํากับดูแล และหนวยปฏิบัติท่ีชัดเจน พัฒนาและปรับปรุงระบบ

    บริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจใหมีประสิทธิภาพ โปรงใส และตรวจสอบได ปรับโครงสรางการผลิตสินคาเกษตร

    และสนับสนุนกลุมเกษตรกรผูผลิตสินคาเกษตร สงเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคลองกับศักยภาพ

    พ้ืนฐานของประเทศ เพิ่มขีดความสามารถของผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมใหเขมแข็ง

    สามารถแขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสงเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจ

    ดิจิทัลใหเร่ิมขับเคล่ือนไดอยาง

    นโยบายที่ 7 : การสงเสริมบทบาทและการใชโอกาสในประชาคมอาเซียน

    รัฐบาลจะเรงสงเสริมความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ การคา การลงทุน ในภูมิภาคอาเซียน

    และขยายความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพ่ือนบาน พัฒนาศักยภาพในการแขงขันของผูประกอบการไทย

    ทุกระดับ โดยสอดคลองกับขอตกลงในการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมือ และปจจัย

    การผลิตตาง ๆ ที่เปดเสรีมากข้ึน พัฒนาแรงงานของภาคอุตสาหกรรม ทั้งแรงงานวิชาชีพ แรงงานมีทักษะ

    และแรงงานไมมีทักษะ พัฒนาความเชื่อมโยงดานการขนสงและระบบโลจิสติกสภายในอนุภูมิภาค

    และภูมิภาคอาเซียน ผานความรวมมือภาคีเครือขายระหวางประเทศ เช่ือมตอเสนทางจากแหลงผลิต

    สูแหลงแปรรูปเพ่ือเพ่ิมมูลคา ยกระดับศักยภาพและสรางโอกาสทางเศรษฐกิจแกผูประกอบการรายยอย

    อีกทั้งพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษการคาชายแดนสําคัญ

  • แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

    นโยบายท่ี 8 : การพัฒนาและสงเสริมการใชประโยชนจากวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และพัฒนา

    และนวัตกรรม

    รัฐบาลใหความสําคัญตอการวิจัย การพัฒนาตอยอด และการสรางนวัตกรรมเพ่ือนําไปสู

    การผลิตและบริการที่ทันสมัย โดยสนับสนุนการเพิ่มคาใชจายในการวิจัยและพัฒนาของประเทศ เพ่ือมุงไปสู

    เปาหมายไมต่ํากวารอยละ 1 ของรายไดประชาชาติ และมีสัดสวนรฐัตอเอกชน 30 : 70 เรงเสริมสรางสังคม

    นวัตกรรม โดยสงเสริมระบบการเรียนการสอนที่เชื่อมโยงระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร

    และคณิตศาสตร การผลิตกําลังคนในสาขาท่ีขาดแคลน การเชื่อมโยงระหวางการเรียนรูกับการทํางาน

    การใหอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมมีชองทางใชเทคโนโลยีโดยความรวมมือจากหนวยงาน

    และสถานศึกษาภาครัฐ ปฏิรูประบบการใหสิ่งจูงใจ ระเบียบ และกฎหมายที่เปนอุปสรรคตอการนํางานวิจัย

    และพัฒนาไปตอยอดหรือใชประโยชน สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาการวิจัยและพัฒนาในระดับภาค

    หรือกลุมจังหวัด เพ่ือใหตรงกับความตองการของทองถิ่น ผลักดันงานวิจัยและพัฒนาไปสูการใชประโยชน

    เชิงพาณิชย โดยสงเสริมความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัย หนวยงานวิจัยของรัฐ และภาคเอกชน สงเสริม

    ใหการลงทุนขนาดใหญของประเทศใชประโยชนจากการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมของไทย

    ตามความเหมาะสม และปรับปรุงการจัดเตรียมใหมีโครงสรางพ้ืนฐานทางปญญาที่สําคัญตอยอดสู

    เชิงพาณิชยกระจายในพ้ืนท่ีตางๆ

    นโยบายที่ 9 : การรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากร และการสรางสมดุลระหวางการอนุรักษกับการใช

    ประโยชนอยางยั่งยืน

    รัฐบาลมีนโยบายจะรักษาความมั่งคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติโดยสรางสมดุลระหวาง

    การอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืน ดังนี้ 1) ระยะเฉพาะหนา รัฐบาลจะเรงปกปองและฟนฟูพื้นที่

    อนุรักษ ทรัพยากรปาไมและสัตวปา สงเสริมการอนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากรชีวภาพและความ

    หลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน 2) ในระยะตอไป รัฐบาลจะพัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีดินและแกไข

    การบุกรุกที่ดินของรัฐ ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศใหเปนเอกภาพในทุกมิติทั้งเชิงปริมาณ

    และคุณภาพ และเรงรัดการจัดการการควบคุมมลพิษทั้งทางอากาศ ขยะ และนํ้าเสีย ท่ีเกิดจากการผลิต

    และบริโภคอยางครบวงจร ทั้งน้ีในระดับพ้ืนที่ จะเรงแกไขปญหาพ้ืนที่มาบตาบุดใหครอบคลุมทุกมติิ

    นโยบายท่ี 10 : การสงเสริมการบริหารราชการแผนดินท่ีมีธรรมาภิบาลและการปองกันปราบปราม

    การทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ

    รัฐบาลมีนโยบายเพ่ือแกไขปญหาของระบบราชการ ไมวาจะเปนบุคลากร งบประมาณ

    และอํานาจตัวบทกฎหมาย อันเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประเทศ โดยปรับปรุงระบบราชการทั้งใน

    ระดับประเทศ ภูมิภาค และทองถ่ิน ใหทบทวนการจัดโครงสรางหนวยงานภาครัฐที่มีอํานาจหนาท่ีซ้ําซอน

    หรอืลักลั่นกันหรือมีเสนทางการปฏิบัติงานที่ยืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการใหทันสมัยโดยนําเทคโนโลยี

    มาใช แกไขกฎระเบียบ ใหโปรงใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ ยกระดับสมรรถนะ

    ของหนวยงานใหมีประสิทธิภาพสามารถบริการเชิงรุกและบริการแบบครบวงจร เสริมสรางระบบคุณธรรม

  • สวนที่ 1 : บทนํา

    9

    พรอมท้ังใชมาตรการทางกฎหมายควบคูไปกับการบริหารจัดการภาครัฐ ใหครอบคลุมการปองกัน

    และปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ และการมีผลประโยชนทับซอนในภาครัฐทุกระดับ รวมท้ังสงเสริม

    และสนับสนุนภาคีองคกรภาคเอกชนและเครือขายตางๆ เพ่ือสอดสอง เฝาระวัง ตรวจสอบเจาหนาท่ี

    ของรัฐหรือตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ

    นโยบายที่ 11 : การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

    หลักนิติธรรมซึ่งเปนที่ยอมรับนบัถือในสังคมตองสอดคลองกับความเปนจริง ความตองการ

    ของประชาชน เปนธรรม คุมครองสิทธิมนุษยชน และมีกระบวนการยุติธรรมที่มีมาตรฐานตามหลักสากล

    ทันสมัยและเปนธรรมดวย รัฐบาลจึงมีนโยบาย ดังนี้ 1) ในระยะเฉพาะหนา จะเรงปรับปรุงประมวล

    กฎหมายหลักของประเทศและกฎหมายอื่น ๆ ที่ลาสมัยไมเปนธรรม ไมสอดคลองกับความตกลงระหวาง

    ประเทศ อันเปนอุปสรรคตอการบริหารราชการแผนดินไมเอื้อตอศักยภาพในการแขงขันกับตางประเทศ

    เพ่ิมศกัยภาพหนวยงานท่ีใหความเห็นทางกฎหมายโดยจัดทํากฎหมายใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางรวดเร็ว

    ใหความรูแกบุคลากรในทางกฎหมายมหาชน 2) ในระยะตอไป จะจัดต้ังองคกรปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

    ที่ปราศจากการแทรกแซงของรัฐ สามารถนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยและความรูทางนิติวิทยาศาสตรมาใช

    เพ่ือเรงรัดการดําเนินคดี มีระบบฐานขอมูลที่เชื่อมโยงกัน สามารถใชติดตามผลและนําไปใชในการปรับปรุง

    ประสิทธิภาพของหนวยงานและเจาหนาท่ีในกระบวนการยุติธรรมได ปรับปรุงระบบการชวยเหลือทางกฎหมาย

    และคาใชจายแกประชนที่ไมไดรับความเปนธรรม ตลอดจนนํามาตรการทางการเงิน ภาษี และการปองกัน

    การฟอกเงินมาใชในการปองกันและปราบปรามผูมีอิทธิพลและเจาหนาที่ของรัฐที่ทุจริตและประพฤติมิชอบ

  • แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

    นโยบายและแผนสําคญั (ราง) ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579)1

    ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65

    ไดกําหนดใหมีการจัดทํา “ยุทธศาสตรชาติ” เพ่ือเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และใชเปน

    กรอบทิศทางการดําเนินงานขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปสูเปาหมายในอนาคตที่พึงประสงคไดในระยะยาว

    อันจะนํามาซ่ึงการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนไทยในทุกภาคสวนและนําพาประเทศไทยใหหลุดพน

    หรือบรรเทาความรุนแรงของสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ทั้งปญหาความม่ันคง ปญหาทางเศรษฐกิจ

    ปญหาความเหล่ือมล้ํา ปญหาการทุจริตคอรัปชั่น และปญหาความขัดแยงในสังคม รวมถึงสามารถรับมือกับ

    ภัยคุกคาม และบริหารจัดการกับความเสี่ยงท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ทั้งนีส้ามารถชี้นําประเทศไทยเปล่ียนผาน

    การเปล่ียนแปลงภูมิทัศนใหมของโลกได ซ่ึงจะทําใหประเทศไทยยังคงรักษาบทบาทสําคัญในเวทีโลก

    สามารถดํารงรักษาความเปนชาตท่ีิมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และคนไทยในประเทศ

    มีความอยูดีมีสุขอยางถวนหนา อยางไรก็ดี ภายใตยุทธศาสตรชาติจะตองมีการกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย

    อนาคตของประเทศ และทิศทางในการขับเคลื่อนประเทศใหสอดคลองกับประเด็นการเปลี่ยนแปลง

    และความทาทายตาง ๆ ของบริบทโลก และบริบทการพัฒนาภายในประเทศเพื่อบรรลุเปาหมายอนาคต

    ตามที่ต้ังไว โดยอาจพอสรุปสาระสําคัญได ดังนี้

    วิสัยทัศนของประเทศ

    ประเทศไทยมีความมั่งคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว

    ดวยการพัฒนาตามหลักปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง

    คติพจนประจาํชาติ

    มั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน

    1 สรุปจากเอกสารประกอบการประชุมรับฟงความคิดเห็น รางยุทธศาสตรชาติเบื้องตน, กุมภาพันธ 2561, สํานักงานเลขานุการของ

    คณะกรรมการยุทธศาสตรชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

  • สวนท่ี 1 : บทนํา

    11

    ความมั่นคง : หมายถึง การมีความมั่งคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก

    ประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล และมี

    ความม่ันคงในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และการเมือง

    ความมั่งคั่ง : หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเนื่องและมีความยั่งยืนจนเขาสู

    กลุมประเทศรายไดสูง ความเหลื่อมล้ําของการพัฒนาลดลง ประชากรมีคุณภาพชีวิต

    ตามมาตรฐานขององคการสหประชาชาติ ไมมีประชาชนท่ีอยูใตเสนความยากจน เศรษฐกิจ

    ในประเทศมีความเขมแข็ง ขณะเดียวกันตองมีความสามารถในการแขงขันทั้งในตลาดโลก

    และตลาดภายในประเทศ สรางฐานเศรษฐกิจและสังคมแหงอนาคตเพื่อใหสอดรับกับ

    บริบทการพัฒนาท่ีเปลี่ยนแปลงไป ประเทศไทยมีบทบาทท่ีสําคัญในเวทีโลก มีความสัมพันธ

    ทางเศรษฐกิจและการคาอยางแนนแฟนกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย นอกจากนั้นยังมี

    ความสมบูรณในทุน อันไดแก ทนุมนุษย ทุนทางปญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เปนเคร่ืองมือ

    เครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม

    ความยั่งยืน : หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสรางความเจริญ รายได และคุณภาพชีวิตของประชาชน

    ใหเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยูบนหลักการใช การรักษา

    และการฟนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอยางย่ังยืน สอดคลองกับเปาหมายการพัฒนา

    ที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals : SDGs) โดยรัฐบาลมี

    นโยบายที่มุงประโยชนสวนรวมอยางยั่งยืน ใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของประชาชน

    และทุกภาคสวนในสังคม ยึดถือและปฏิบัติตามปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนา

    ในระดับอยางสมดุลมีเสถียรภาพและย่ังยืน

    ยุทธศาสตรชาติ ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตรสําคัญ ไดแก

    ยุทธศาสตรชาติที่ 1 : ดานความมั่งคง

    การดําเนินการตามยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง มีเปาหมายเพ่ือใหประเทศมีความมั่นคง

    ปลอดภัย และมีความสงบเรียบรอยในทุกระดับและทุกมิติ จึงไดกําหนดเปาหมายที่จะตองดําเนินการ

    ใหบรรลุผลในแตละหวงเวลา ดังน้ี

    ป พ.ศ. 2560-2564 : ปรับสภาพแวดลอม พรอมแกปญหา

    ป พ.ศ. 2565-2569 : ปญหาเกาหมดไป ปญหาใหมไมเกิด

    ป พ.ศ. 2570-2574 : ประเทศชาติพัฒนา ปวงประชารวมผลักดัน

    ป พ.ศ. 2575-2579 : ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข

  • แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

    ทั้งนี้ เพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามขางตน จึงไดกําหนดแนวความคิดทางยุทธศาสตรขึ้น

    5 ประการสําคัญ ไดแก 1) การรกัษาความสงบภายในประเทศ 2) การปองกันและแกไขปญหาที่มีผลกระทบ

    ตอความมั่นคง 3) พัฒนาศักยภาพของประเทศใหพรอมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ 4)

    บูรณาการความรวมมือดานความม่ันคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองคกรภาครัฐและที่มิใชภาครัฐ และ

    5) การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบบูรณาการ

    ยุทธศาสตรชาติท่ี 2 : ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน

    ภายใตการดําเนินงานตามยุทธศาสตรชาตินั้น มีเปาหมายหลักอันสําคัญดานการสราง

    ศักยภาพในการแขงขันของประเทศ คือ การกาวพนกับดักรายไดปานกลาง ประเทศไทยจึงมีความจําเปน

    ตองปรับตัวจากสถานการณโลกและแนวโนมที่เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้น ดวยการ

    สํารวจความเปนไปไดของศักยภาพ กาวขามขอจํากัด เพิ่มความสามารถและศักยภาพของประเทศ

    จากการใชประโยชนในความไดเปรียบตางๆ อาทิ ทําเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร อัตลักษณไทย ทุนทางวัฒนธรรม

    ความหลากหลายทางชีวภาพ ทุนทางความคิดสรางสรรคสูการพัฒนาบนองคความรู ควบคูไปกับการสราง

    และพัฒนาคน เพ่ือสรางทุนมนุฒยที่มีองคความรูและทักษะสูงอันเปนหัวใจของการขับเคลื่อนการพัฒนา

    ประเทศ บนพ้ืนฐานแนวคิดที่ตองกาวขามขอจํากัดและความทาทายจึงไดกําหนดเปาหมายของยุทธศาสตรไว

    ดังนี้ 1) ประเทศไทยสูประเทศที่พัฒนาแลวที่มีรายไดตอหัวมากกวา 15,000 ดอลลารสหรัฐฯ ตอคนตอป

    2) อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ เฉลี่ยไมต่ําวารอยละ 5 ตอป 3) ผลิตภาพ

    การผลิตรวม เฉลี่ยไมตํ่ากวารอยละ 3 ตอป และ 4) ประเทศไทยอยูในอันดับ 1 ใน 20 ของการจัดอันดับ

    ความสามารถในการแขงขันของ International Institute for Management Development : IMD)

    การขับเคลื่อนยุทธศาสตรสูการกาวขามกับดักรายไดปานกลาง จึงมุงพัฒนาประเทศ

    บนพ้ืนฐานแนวคิด 3 ดาน ไดแก “ตอยอดอดีต” “ปรับปจจุบัน” และ “สรางคุณคาใหมในอนาคต” ดวยประเด็น

    การดําเนินการ 5 ประเด็น ดังนี้ 1) มหาอํานาจทางการเกษตร 2) อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต

    3) แมเหล็กการทองเที่ยวระดับโลก 4) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเชื่อมไทย เชื่อมโลก และ 5) สรางนักรบ

    เศรษฐกิจยุคใหม

    ยุทธศาสตรชาติท่ี 3 : ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย

    ในอีก 20 ปขางหนา เปาหมายของการพัฒนาทรัพยกรมนุษยนั้น มุงหวังใหคนไทย

    ในอนาคตมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย

    มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผู อ่ืน มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม

    และเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกตอง มีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและ

    ภาษาที่ 3 มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทย ที่มีทักษะสงู เปน

    นวัตกรรมนักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง

  • สวนท่ี 1 : บทนํา

    13

    โดยสรุปไดวาเปาหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษยมี 4 ดาน ไดแก “ใจ” “สติปญญา” “กาย” และ

    “สภาพแวดลอม” ทั้งนี้ไดกําหนดประเด็นพัฒนาที่สําคัญตามหวงระยะเวลาดําเนินการ ดังนี้

    ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2560-2574) : พลิกโฉมปูพื้นฐาน ระยะ 10 ป (พ.ศ. 2565-2569) : ตอยอดสิ่งใหม ระยะ 15 ป (พ.ศ. 2570-2574) : กาวไกลเปนเลิศ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2575-2579) : มั่งคง ย่ังยืน

    ประกอบดวยประเด็นการพัฒนา 7 ประเด็น ดังนี้ 1) การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม

    2) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต 3) การปฏิรูปการเรียนรูแบบพลิกโฉม 4) การตระหนักถึง

    พหุปญญา (multiple intelligence) ของมนุษยที่หลากหลาย 5) การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะท่ีดี

    ครอบคลุมทั้งดาน กาย ใจ สติปญญา และสังคม 6) การสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนาและเสริมสราง

    ศักยภาพทรัพยากรมนุษย (eco-systems) และ 7) การเสริมสรางศักยภาพการกีฬาในการสรางคุณคา

    ทางสังคมและพัฒนาประเทศ

    ยุทธศาสตรชาติที่ 4 : ยุทธศาสตรดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

    จากบริบทของประเทศไทยท่ีกระทบตอการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

    ไมวาจะเปนความเหลื่อมล้ําในภาคเกษตรและชนบท การกระจุกตัวของความเจริญทางเศรษฐกิจ กลไกของ

    ระบบราชการที่ยังรวมศูนยและขาดความคลองตัว และการเขาสูสังคมสูงวัยอยางสมบูรณภายใน 5 ป

    ขางหนา กอเกิดความทาทายและแนวคิดในการแกไขปญหาโดยกําหนดเปนเปาหมายของยุทธศาสตร ดังนี้

    “สรางความเปนธรรม และลดความเหลื่อมล้ําในทุกมิติ กระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม

    เพ่ิมโอกาสใหทุกภาคสวนเขามาเปนกําลังสําคัญของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ เพ่ือความสมานฉันท

    และเพ่ิมขีดความสามารถของชุมชนทองถ่ินในการพัฒนา การพึ่งพาตนเองและการจัดการตนเองเพ่ือสราง

    สังคมคุณภาพ”

    ประกอบดวยประเด็นยุทธศาสตร 4 ประเด็น ดังนี้ 1) การลดความเหลื่อมล้ํา สรางความ

    เปนธรรมในทุกมิติ (Closing the Gap) 2) การกระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม (Multiple

    Growth Poles) 3) การเสริมสรางพลังทางสังคม (Social Energy and Synergy Mobilization) และ

    4) การเพ่ิมขีดความสามารถของชุมชนทองถ่ินในการพัฒนา การพ่ึงตนเองและการจัดการตนเอง (Community

    and Local Authority Empowerment)

    ยุทธศาสตรชาติที่ 5 : ยุทธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

    ประเทศไทยเปนประเทศพัฒนาแลวท่ีมีคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมที่ดีที่สุดในอาเซียน

    ภายในป พ.ศ. 2579 คือวิสัยทัศนของยุทธศาสตร ซึ่งจะถูกดําเนินการบนพ้ืนฐานความเชื่อในการเติบโต

    รวมกัน (Inclusive Growth) และมีแนวคิด “เติบโต สมดุล ยั่งยืน” เปนหัวใจของยุทธศาสตร นําไปสู

  • แผนปฏิบัติการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

    สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

    ความมุงเนนใหเกิดผลตอความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3 ประการสําคัญ คือ

    ประการแรก การอนุรักษและรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญของประเทศเพ่ือความยั่งยืน ใหคนรุนหลัง

    ตอไปไดใชประโยชนอยางยั่งยืนมีสมดุล ประการที่สอง การฟนฟูและพัฒนาฐานทรัพยากรธรรมชาติ

    และสิ่งแวดลอม เพ่ือสงเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศบนเสนทางสี เขียว

    และประการที่สาม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและการใชประโยชนอยางเหมาะสม

    ไมเกินขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ

    การนําไปสูการเจริญเติบโตอยางเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในทุกมิติ อาศัยการดําเนินการ

    ตามแนวทางยุทธศาสตร 6 ประเด็น ดังนี้ 1) สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว

    2) สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล 3) สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจ

    ที่เปนมิตรตอสภาพภูมิอากาศ 4) พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 5)

    พัฒนาความมั่นคงทางน้ํา พลังงาน และเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ 6) ยกระดับกระบวนทัศนเพ่ือ

    กําหนดอนาคตประเทศ

    ยุทธศาสตรชาติท่ี 6 : ยุทธศาสตรดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

    ภาครัฐถือเปนภาคสวนสําคัญตอการขับเคลื่อนประเทศจึงตองปรับเปลี่ยนบทบาทใหรองรับ

    ตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาพบริบทที่ประเทศตองเผชิญใหสามารถขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะใหบรรลุ

    เปาหมายในระยะยาว 20 ป �