25
37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน จากการสํารวจสัตวพื้นทองน้ําในกลุมของแมลง หนอนตัวกลม โปรโตซัว และหอยทีพบในคลองเจดียบูชาในแตละจุดสํารวจ ตั้งแตเดือนเมษายน สิงหาคม และธันวาคม พ.. 2550 พบวามีสัตวพื้นทองน้ําทั้งหมด 8 ไฟลัม (Phylum) 12 ชั้น (Class) 14 อันดับ (Order) 7 วงศ (Family) และ 18 สกุล (Genus) มีรายละเอียดการจําแนกทางอนุกรมวิธานของสัตวพื้นทองน้ําแสดงดัง ตารางที7 ตารางที7 สัตวพื้นทองน้ําที่พบในจุดสํารวจที1-9 Phylum Class Order Family Genus Arthropoda Mollusca Platyhelminthes Nematoda Rotifera Insecta Gastropoda Turbellaria Phasmidia Bdelloidea Monogonta Diptera Hemiptera Odonata Mesogastropoda Macrostomida Bdelloida Ploima Chironomidae Gerridae - Viviparidae - Philodinidae - Brachionidae - - - - Macrostomum appendiculatum Rhabditis sp. Rotaria neptunia Rotaria citrinus Brachionus

ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

37

ผลและวิจารณ

1. การศึกษาทางชีวภาพ

1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

จากการสํารวจสัตวพื้นทองน้ําในกลุมของแมลง หนอนตัวกลม โปรโตซัว และหอยที่พบในคลองเจดียบูชาในแตละจุดสํารวจ ตั้งแตเดือนเมษายน สิงหาคม และธันวาคม พ.ศ. 2550 พบวามีสัตวพื้นทองน้ําทั้งหมด 8 ไฟลัม (Phylum) 12 ชั้น (Class) 14 อันดับ (Order) 7 วงศ (Family) และ 18 สกุล (Genus) มีรายละเอียดการจําแนกทางอนุกรมวิธานของสัตวพื้นทองน้ําแสดงดังตารางที่ 7

ตารางที่ 7 สัตวพื้นทองน้ําที่พบในจุดสํารวจที่ 1-9

Phylum Class Order Family GenusArthropoda

Mollusca

Platyhelminthes

Nematoda

Rotifera

Insecta

Gastropoda

Turbellaria

Phasmidia

Bdelloidea

Monogonta

DipteraHemipteraOdonata

Mesogastropoda

Macrostomida

Bdelloida

Ploima

ChironomidaeGerridae -

Viviparidae-

Philodinidae-Brachionidae

---

-

Macrostomum appendiculatum

Rhabditis sp.

Rotaria neptuniaRotaria citrinusBrachionus

Page 2: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

38

ตารางที่ 7 (ตอ)

Phylum Class Order Family Genus

Crustacea

Ciliophora

Sarcomastigophora

Crustacea

ProstomateaCiliatea

Oligohymenophorea

Phytomastigophorea

Lobosea

Cyclopoida

ProrodontidaHymenostomatida

Sessillida

Volvocida

Euglenida

Arcellinida

Brachionidae

Cyclopidae

-Pleuronematidae

-

-

-

-

-

calyciflorusBrachionusplicatilis

Cyclops strenuous

ProrodonCyclidium glaucomaVorticella

Pandorina morumPhacus pleuronectesEuglena spioidesDifflugia oblonga

1.1.1 สัตวหนาดินชนิดเดนของเดือนเมษายนสัตวหนาดินและกลุมโปรโตซัวชนิดเดน ( Dominant Species ) ตามจุดสํารวจ

1) จุดสํารวจที่ 1 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดินทั้งหมด 2 สกุลไดแก

- Phylum Arthropoda , Class Insecta , Order Diptera , Family Chironomidae ( หนอนแดง )

Page 3: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

39

- Phylum Mollusca, Class Gastropoda, Order Mesogastropoda, Family Viviparidae ( หอยฝาเดียว )

และพบสัตวพื้นผิวน้ําไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Hemiptera, Family Gerridae

( จิงโจน้ํา )2) จุดสํารวจที่ 2 การใชประโยชนเปนเขื่อนกั้นน้ํา มีลักษณะเปนปูน พบสัตวหนา

ดินทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Mollusca, Class Gastropoda, Order Mesogastropoda, Family

Viviparidae ( หอยฝาเดียว )3) จุดสํารวจที่ 3 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชนและตลาดสด พบสัตว

หนาดินทั้งหมด 2 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae,

( หนอนแดง )- Phylum Mollusca, Class Gastropoda, Order Mesogastropoda, Family

Viviparidae ( หอยฝาเดียว )4) จุดสํารวจที่ 4 การใชประโยชเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดินทั้งหมด

1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae,

( หนอนแดง )5) จุดสํารวจที่ 5 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )6) จุดสํารวจที่ 6 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )7) จุดสํารวจที่ 7 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

Page 4: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

40

( หนอนแดง )8) จุดสํารวจที่ 8 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )9) จุดสํารวจที่ 9 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 2 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )- Phylum Mollusca, Class Gastropoda, Order Mesogastropoda, Family

Viviparidae ( หอยฝาเดียว )1.1.2 สัตวหนาดินชนิดเดนของเดือนสิงหาคม

สัตวหนาดินและกลุมโปรโตซัวชนิดเดน ( Dominant Species ) ตามจุดสํารวจ1) จุดสํารวจที่ 1 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 สกุลไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง ) 2) จุดสํารวจที่ 2 การใชประโยชนเปนเขื่อนกั้นน้ํา มีลักษณะเปนปูน พบสัตว

พื้นผิวน้ําทั้งหมด 2 ชนิดไดแก ลูกปลาและแมลงปอ Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Odonata

3) จุดสํารวจที่ 3 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชนและตลาดสด พบสัตวหนาดินทั้งหมด 1 ชนิดไดแก

- Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae ( หนอนแดง ) 4) จุดสํารวจที่ 4 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 2 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )- Phylum Mollusca, Class Gastropoda, Order Mesogastropoda, Family

Viviparidae ( หอยฝาเดียว ) และพบสัตวน้ําทั้งหมด 1 ชนิดไดแก ลูกปลา

Page 5: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

41

5) จุดสํารวจที่ 5 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดินทั้งหมด 1 ชนิดไดแก

- Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae ( หนอนแดง )6) จุดสํารวจที่ 6 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )7) จุดสํารวจที่ 7 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )8) จุดสํารวจที่ 8 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )9) จุดสํารวจที่ 9 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชนและตลาดสด พบสัตว

หนาดินทั้งหมด 2 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )- Phylum Mollusca, Class Gastropoda, Order Mesogastropoda, Family

Viviparidae ( หอยฝาเดียว )1.1.3 สัตวหนาดินชนิดเดนของเดือนธันวาคม

สัตวหนาดินและกลุมโปรโตซัวชนิดเดน ( Dominant Species ) ตามจุดสํารวจ1) จุดสํารวจที่ 1 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 สกุลไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )และพบโปรโตซัวทั้งหมด 2 สกุลไดแก

Page 6: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

42

- Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae, Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )

- Phylum Nematoda, Class Phasmidia, Rhabditis sp.( หนอนตัวกลม )2) จุดสํารวจที่ 2 การใชประโยชนเปนเขื่อนกั้นน้ํา มีลักษณะเปนปูน พบสัตว

พื้นผิวน้ําทั้งหมด 1 ชนิดไดแก ลูกปลา3) จุดสํารวจที่ 3 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชนและตลาดสด พบสัตว

หนาดินทั้งหมด 2 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง )- Phylum Mollusca, Class Gastropoda, Order Mesogastropoda, Family

Viviparidae ( หอยฝาเดียว ) และพบโปรโตซัวทั้งหมด 3 สกุลไดแก- Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )- Phylum Ciliophora, Class Ciliatea, Subclass Holotrichia, Order

Hymenostomatida, Family Pleuronematidae, Cyclidium glaucona- Phylum Sarcomastigophora, Subphylum Mastigophora, Class

Phytomastigophorea, Order Euglenida, Euglena oxyuris ( ยูกลีนา )- Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria citrinus ( โรติเฟอรา )4) จุดสํารวจที่ 4 การใชประโยชเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดินทั้งหมด

1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda , Class Insecta , Order Diptera , Family Chironomidae

( หนอนแดง )และพบโปรโตซัวทั้งหมด 7 สกุลไดแก- Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )- Phylum Ciliophora, Subphylum Rhabdophora, Class Prostomatea, Order

Prorodontida, Prorodon

Page 7: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

43

- Phylum Sarcomastigophora, Subphylum Mastigophora, Class Phytomastigophorea, Order Volvocida, Pandorina morum

- Phylum Sarcomastigophora, Subphylum Mastigophora, Class Phytomastigophorea, Order Euglenida, Phacus pleuronectes

- Phylum Rotifera, Class Monogonta, Order Ploima, Family Brachionidae, Subfamily Brachionidae, Brachionus calyciflorus ( โรติเฟอรา )

- Phylum Ciliophora, Class Ciliatea, Subclass Holotrichia, Order Hymenostomatida, Family Pleuronematidae, Cyclidium glaucona

- Phylum Nematoda, Class Phasmidia, Rhabditis sp.( หนอนตัวกลม )- Phylum Platyhelminthes, Class Turbellaria, Order Macrostomida,

Macrostomum appendiculatum(หนอนตัวแบน)5) จุดสํารวจที่ 5 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง ) และพบโปรโตซัวทั้งหมด 5 สกุลไดแก - Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )- Phylum Ciliophora, Subphylum Rhabdophora, Class Prostomatea, Order

Prorodontida, Prorodon- Phylum Crustacea, Class Copepoda, Order Cyclopoida, Family Cyclopidae,

Cyclops strenuous- Phylum Nematoda, Class Phasmidia, Rhabditis sp.( หนอนตัวกลม )- Phylum Sarcomastigophora, Subphylum Mastigophora, Class

Phytomastigophorea, Order Euglenida, Euglena oxyuris ( ยูกลีนา )6) จุดสํารวจที่ 6 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง ) และพบโปรโตซัวทั้งหมด 3 สกุลไดแก

Page 8: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

44

- Phylum Cilliophora, Class Oligohymenophorea, Order Sessillida, Vorticella- Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )- Phylum Rotifera, Class Monogonta, Order Ploima, Family Brachionidae,

Subfamily Brachionidae, Brachionus plicatilis 7) จุดสํารวจที่ 7 การใชประโยชเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดินทั้งหมด

1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง ) และพบโปรโตซัวทั้งหมด 4 สกุลไดแก - Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Oder Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )- Phylum Ciliophora, Class Ciliatea, Subclass Holotrichia, Order

Hymenostomatida, Family Pleuronematidae, Cyclidium glaucona- Phylum Sarcomastigophora, Subphylum Mastigophora, Class

Phytomastigophorea, Order Volvocida, Pandorina morum- Phylum Sarcomastigophora, Subphylum Sarcodina, Class Lobosea, Order

Arcellinida, Difflugia oblonga8) จุดสํารวจที่ 8 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

( หนอนแดง ) และพบโปรโตซัวทั้งหมด 2 สกุลไดแก- Phylum Rotifera,Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )- Phylum Rotifera, Class Monogonta, Order Ploima, Family Brachionidae,

Subfamily Brachionidae, Brachionus plicatilis9) จุดสํารวจที่ 9 การใชประโยชนเปนคลองตัดผานชุมชน พบสัตวหนาดิน

ทั้งหมด 1 ชนิดไดแก - Phylum Arthropoda, Class Insecta, Order Diptera, Family Chironomidae

Page 9: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

45

( หนอนแดง ) และพบโปรโตซัวทั้งหมด 5 สกุลไดแก- Phylum Rotifera, Class Bdelloidea, Order Bdelloida, Family Philodinidae,

Rotaria neptunia ( โรติเฟอรา )- Phylum Cilliophora, Class Oligohymenophorea, Order Sessillida, Vorticella- Phylum Sarcomastigophora, Subphylum Mastigophora, Class

Phytomastigophorea, Order Volvocida, Pandorina morum - Phylum Nematoda, Class Phasmidia, Rhabditis sp.( หนอนตัวกลม )- Phylum Ciliophora, Class Ciliatea, Subclass Holotrichia, Order

Hymenostomatida, Family Pleuronematidae, Cyclidium glaucona1.1.4 คําบรรยายลักษณะของสัตวหนาดินตาง ๆ ที่พบ

Family Chironomidae

ภาพที่ 11 Family Chironomidae ( หนอนแดง )

Order Diptera, Family Chironomidae ไดแกพวกหนอนแดง (Chironomid) ซึ่งเปนที่ใหความสนใจกันมากในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เนื่องจากเปนสัตวหนาดินที่มีโปรตีนสูง และคอนขางทนตอสภาวะการเปลี่ยนแปลงภายในบอไดดีพบไดงายในบริเวณแหลงน้ําจืดทั่วไปตัวออนมีสีแดงของฮีโมโกลบิน (สามารถใชสังเกตสภาพบอน้ําไดหากมีออกซิเจนมากเพียงพอจะมีสีแดงสด) ตัวเต็มวัยคือพวกริ้นน้ําจืดมีลักษณะและขนาดคลายยุงแตมีหนวดคูหนายาวและแตกออกคลายขนนก

Page 10: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

46

หนอนแดงจะเปนสัตวหนาดินที่พบไดมากในบอกุงที่มีความสมบูรณดี และเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหลูกกุงวัยออนโตเร็วและแข็งแรง

Family Viviparidae

ภาพที่ 12 Family Viviparidae ( หอยฝาเดียว )

ลักษณะเดนของหอยฝาเดียวก็คือมีสวนหัวที่เจริญดี หัวมีหนวด 1-2 คู มีตา 1 คู สวนหัวติดกับสวนเทา ดังนั้นสวนหัวและเทาจะปรากฏใหเห็นพรอม ๆ กันเมื่อโผลพนออกนอกเปลือก เทาของหอยฝาเดียวเปนแผนแบน เซลลผิวมีซีเลียและตอมเมือกจํานวนมาก

Page 11: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

47

1.1.5 คําบรรยายลักษณะของโปรโตซัว Genus ตาง ๆ ที่พบ

Vorticella

ภาพที่ 13 Vorticella

ลักษณะเดนคือ เซลลรูปกระดิ่ง มีกานสําหรับยึดเกาะเซลลไมมีสีหรือเปนสีเหลืองหรือเขียว ภายในกานมีเสนใยไมโอนีมสําหรับดึงตัวใหหดลง กานขดเสมือนขดสปริง มาโครนิวเครียสเปนแถบโคง มี 1 ถึง 2 คอนแทร็คไทลแวคิวโอล มักอยูกันเปนกลุมทั้งน้ําจืดและน้ําเค็ม สวนใหญสืบพันธุโดยการแบงเซลลเปน 2 เซลลอยูบนกานเดียวกัน ตัวหนึ่งจะหลุดออกไปและวายน้ําโดยยังที่ไมมีกาน ระยะนี้เรียกวาเทโลโทรช (telotroch ) มีซิเลียที่รอบ ๆ ปาก 1 แถว และที่โคนเซลล 1 แถว มีการแตกหนอเพื่อสรางตัวไมโครคอนจูเกชัน (microconjugation) หนอที่หลุดออกไปเปนตัวที่จะไปสืบพันธุแบบคอนจูเกชัน (conjugation)

Page 12: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

48

Rotaria neptunia

ภาพที่ 14 Rotaria neptunia

โรตาเรีย เนปทูเนีย ( Rotaria neptunia) ลักษณะเดนคือ ตัวยาวเรียวมาก นิ้วยาวเรียวเปน 3 แฉก สปอรยาว

Rotaria citrinus

ภาพที่ 15 Rotaria citrinus

โรตาเรีย ไซตรินัส ( Rotaria citrinus )ลักษณะเดนคือ มีนิ้วเทา 3 นิ้ว ตัวสั้นปอม

Page 13: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

49

Brachionus plicatilis

ภาพที่ 16 Brachionus plicatilis

บราชิโอนัส พริเคทิริส (Brachionus plicatilis) ลักษณะเดนคือ ตัวยาวขนาด 200-300 ไมโครเมตร มีหนามดานหนา ลอริกาออนนุมไมแยกเปนแผนหลังและแผนทอง พบในน้ํากรอยและน้ําเค็ม

Brachionus calyciflorus

ภาพที่ 17 Brachionus calyciflorus

Page 14: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

50

บราชิโอนัส คารรีซิโฟรัส (Brachionus calyciflorus) ลักษณะเดนคือ ตัวคลายถุง หนามคูในสุดทางดานหนายาวพอกับคูดานขาง หนามคูทายกางออก และมีหนามที่ชองเปดที่เทายื่นออกมา มีหนาม 4 อันที่ปลายบนสุดและสวนฐานกวาง แผนหลังและแผนทองของลอริกาแยกกันไมชัด ลอริการูปถุงเปนชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางมาก ปลายลางสุดมีกานคลายหนาม อาจมีหนามที่ฟุต โอเพนนิ่ง (foot opening)

Macrostomum appendiculatum

ภาพที่ 18 Macrostomum appendiculatum ( หนอนตัวแบน )

แมคโคสโตมัม แอปเพนดิคูเรทัม ( Macrostomum appendiculatum ) ลักษณะเดนคือ ตัวยาว 0.8-2.5 มม. ลําตัวดานหนาและดานทายอาจกลมมนมากหรืออาจไมกลมมากนัก ปากอยูถัดจากสมองและจุดตา มีฟาริงซแบบสามัญ

Page 15: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

51

Cyclops strenuous

ภาพที่ 19 Cyclops strenuous

ไซคลอบ สเตนนัส ( Cyclops strenuous ) ลักษณะเดนคือ ตัวเต็มวัยเพศเมียมีถุงฟกไข 1 คูและเพศผูมีสเปอรมาโทฟอร 1 คู

Rhabditis sp.

ภาพที่ 20 Rhabditis sp. ( หนอนตัวกลม )

Page 16: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

52

ลักษณะเดนคือ ตัวหนอนเปนทรงกระบอกยาว หัวทายเรียวเล็ก ความยาวโดยทั่วไปไมเกิน 5 ซม. มีเพศแยก สามารถแยกเพศไดจากลักษณะภายนอก ลักษณะแตกตางสวนใหญคือ หางของหนอนตัวผูมวนงอสวนหางของหนอนตัวเมียเหยียดตรง

หนอนตัวกลมที่พบในน้ําจืดทั่ว ๆ ไป ดังภาพเปนหนอนตัวกลมน้ําจืดเพศเมีย

Prorodon

ภาพที่ 21 Prorodon

โพโรดอน ( Prorodon ) ลักษณะเดนคือ เซลลรูปไขยาว 100-130 ไมโครเมตร คอนแทร็คไทลแวคิวโอลอยูดานทาย

Page 17: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

53

Cyclidium glaucoma

ภาพที่ 22 Cyclidium glaucoma

ไซคริเดียม กลูโคมา ( Cyclidium glaucoma ) ลักษณะเดนคือ เซลลขนาดเล็กรูปไขยาวประมาณ 15-60 ไมโครมิเตอร ไซโตสโตมอยูทางดานขวาของเซลล ที่ขอบของไซโตสโตมมีเยื่อ ( undulating membrane ) ซึ่งมีลักษณะเปนถุง เยื่อนี้จะยืดออกในเวลากินอาหาร จํานวนซีเลียมีนอยและคอนขางยาว และที่ทายเซลลมีซีเลียยาวมากหนึ่งเสนคลายแฟลเจลลัม เวลาเคลื่อนที่คลายกับการกระโดดหรือดีดตัว มีคอนแทรกไทลแวคิวโอล 1 ชองทายเซลล

Pandorina morum

ภาพที่ 23 Pandorina morum

Page 18: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

54

แพนโดรินา มอรรัม ( Pandorina morum ) ลักษณะเดนคือ โคโลนีรูปไขแบน เสนผานศูนยกลาง 20-40 ไมโครเมตร สวนใหญมี 16 เซลลเรียงตัวเปนวงตามขวาง

Phacus pleuronectes

ภาพที่ 24 Phacus pleuronectes

ฟราคัส พีโรเนคทีส ( Phacus pleuronectes ) ลักษณะเดนคือ เซลลแบนและคลายใบไมยาว 40-100 ไมโครเมตร เพลลิเคิลแข็ง รูปรางคงที่ เพิลลิเคิลมีสันตามยาวไปยังทายเซลลยื่นออกจากทายเซลล ดานหลังของเซลลนูนขึ้น นิวเครียสมีเอนโดโซม พาราไมลัมทรงกลมหนึ่งอันอยูกลางเซลล แฟลเจลลัมยาวเทาตัวเซลลเคลื่อนไหวโดยการพลิกตัวไปมา พบในน้ําจืด

Page 19: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

55

Difflugia oblonga

ภาพที่ 25 Difflugia oblonga

ดิฟฟลูเกลียร ออบลองการ( Difflugia oblonga ) ลักษณะเดนคือ ขนาด 220-250 ไมโครเมตร

Euglena spioides

ภาพที่ 26 Euglena spioides

Page 20: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

56

ยูกลีนา สไปโอเดส ( Euglena spioides ) ลักษณะเดนคือ ขนาด 80-180 ไมโครมิเตอร ลักษณะเซลลคลาย E. spirogyra แตเซลลบิดตัว

1.1.6 คําบรรยายลักษณะของสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ําชนิดตาง ๆ ที่พบ

Order Hemiptera

ภาพที่ 27 Order Hemiptera ( จิงโจน้ํา )

จิ้งโจน้ําเปนแมลงที่มักพบอยูบนผิวน้ํา อาศัยอยูรวมกันเปนกลุมพบไดทั่วไป มีลําตัวผอมยาวสีดํา น้ําตาล มีขาหนาสั้น สวนขา 2 คูหลังเรียวยาว จิงโจน้ําจะใชขาสองคูนี้ในการเคลื่อนที่ เทามี 2 ปลอง ขาปกคลุมดวยขนละเอียดแนนยากแกการเปยกน้ํา และจากการที่มันมีน้ําหนักตัวที่เบา ขาของมันจึงทําใหมันสามารถวิ่งไปบนผิวน้ําได โดยมีแรงพยุง ที่เรียกวา แรงตึงผิว (Surface tension) แรงนี้ยึดเหนี่ยวโมเลกุลของน้ําเขาไวดวยกันทําใหผิวน้ํามีลักษณะเหมือนผิวหนังที่มีความยืดหยุน จึงทําใหจิงโจน้ําไมจม มันจึงไถลไปมาบนผิวน้ําราวกับนักเสก็ตน้ําแข็ง พรอมใชขาหนาในการจับเหยื่อ และใชขาคูหลังบังคับทิศทาง

Page 21: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

57

Order Odonata

ภาพที่ 28 Order Odonata (แมลงปอบาน)

แมลงปอ คือ แมลงที่มีตัวออนอาศัยอยูในน้ํา ตัวเต็มวัยมีชีวิตอยูบนบกมีปกบินไดแมลงปอมีการเจริญเติบโตแบบเปนขั้นตอนประเภทไมสมบูรณแบบ คือ มีระยะไข ตัวออน และตัวเต็มวัย ไมมีระยะดักแด โดยระยะไขและตัวออนมีชีวิตอยูในน้ํา ตัวออนที่อยูในน้ํามีรูปรางแตกตางจากตัวเต็มวัยมาก เมื่อตัวออนเจริญเติบโตเต็มที่แลวจะลอกคราบครั้งสุดทาย กลายเปนตัวเต็มวัยที่มีปกและจะใชชีวิตบนผิวน้ํา

จากการวิเคราะหทางชีวภาพพบวาจุดสํารวจที่ 1-9 ยกเวนจุดสํารวจที่ 2 เปนจุดที่มีลักษณะเปนเขื่อนกั้นน้ําแบบปูน พบหนอนแดงมากที่สุด รองลงมาก็เปนพวกโปรโตซัว และสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ํา ซึ่งหนอนแดงเปนดัชนีบงบอกไดวาน้ําในแหลงน้ํานี้มีคุณภาพไมดีหรือสกปรก เพราะวาสัตวเหลานี้สามารถทนตอสภาพแวดลอมไดเกือบทุกอยาง เนื่องจากมีสารคลายฮีโมโกลบินหรือเม็ดเลือดแดงซึ่งสามารถเก็บออกซิเจนไดดี และมีการปรับตัวที่ดีจนสามารถดํารงชีวิตอยูในแหลงน้ําที่มีความสกปรกได สวนพวกโปรโตซัวพบวาตามแหลงน้ําธรรมชาติที่มีธาตุอาหารเหมาะสมจะมีชนิดของโปรโตซัวมาก แตจะมีในปริมาณที่นอย สวนในแหลงน้ําที่เกิดมลพิษหรือเปนแหลงน้ําเสียจะมีชนิดของโปรโตซัวเพียงไมกี่ชนิด หรืออาจมีเพียงชนิดเดียวและมีปริมาณมาก (ปรัชญา, 2546)

Page 22: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

58

2. การศึกษาทางกายภาพและทางเคมี

2.1 คุณภาพน้ํา

ทําการศึกษาปจจัยคุณภาพน้ําจํานวน 4 ปจจัยไดแก ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (Dissolved Oxygen: DO) ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศ (Biochemical Oxygen Demand: BOD) ความเปนกรด-ดาง (Potential of Hydrogen Ion Activity: pH) และอุณหภูมิ (Temperature: Temp) ปรากฎผลการศึกษาดังนี้

2.1.1 คุณภาพน้ําตามจุดสํารวจเฉลี่ย

จากการศึกษาปจจัยคุณภาพน้ําจํานวน 4 ปจจัย 9 จุดสํารวจจํานวน 12 ครั้ง พบวามีคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ย 2.1 มิลลิกรัม/ลิตร ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ย 2.8 มิลลิกรัม/ลิตร ความเปนกรด-ดางเฉลี่ย 6.5 และอุณหภูมิเฉลี่ย 30 องศาเซลเซียสโดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 8

ซึ่งจะเห็นไดวาคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ยนอยกวา 5-8 มิลลิกรัม/ลิตร คาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ยมากกวา 2 มิลลิกรัม/ลิตร คาที่ไดมีความสอดคลองกัน จัดไดวาน้ําในแหลงน้ํานี้มีคุณภาพต่ํา คอนขางสกปรก และสามารถจัดน้ําคลองเจดียบูชาเปนแหลงน้ําประเภทที่ 5 คือ เปนแหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถใชเปนประโยชนเพื่อการคมนาคมได อีกทั้งความเปนกรด-ดาง และอุณหภูมิ ที่ไดยังเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพวกโปรโตซัว ซึ่งจะสอดคลองกับการศึกษาเรื่องการใชสัตวพื้นทองน้ําเปนดัชนีประเมินคุณภาพน้ําจากการใชประโยชนที่ดินลุมน้ําแมกลอง (เบญจพล, 2548)

Page 23: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

59

ตารางที่ 8 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่วัดไดโดยแสดงคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา (DO), ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะทีมีอากาศ(BOD), อุณหภูมิน้ําเฉลี่ย (T), และคาพีเอช (pH)

จุดเก็บตัวอยาง DO (mg/L) BOD (mg/L) T ( C) pH

1. สะพานโยธาธิการ 4.5 2.1 29.1 6.82. สะพานชุมชนกงบวย 3.1 3.5 29.8 6.43. สะพานเจริญศรัทธา 2.8 2.8 30.2 6.44. สะพานซอย 7 2.2 2.2 29.9 6.45. สะพานวัดไรเกาะตนสําโรง 1.9 2.7 29.9 6.56. สะพานซอยเทศบาล 11/12 1.2 3.5 29.8 6.57. สะพานนิวนามทอง 1.3 3.1 30.0 6.58. สะพานราหูบูชาเจดีย 1.4 3.0 30.2 6.59. สะพานราหูบูชาเจดีย 1.0 2.6 31.1 6.6

เฉลี่ย 2.2 2.8 30.0 6.5

2.1.2 คุณภาพน้ําตามเดือนที่สํารวจ

1) เดือนเมษายน เปนฤดูรอน แตเนื่องจากไมเปนไปตามฤดูกาล ในชวงเดือนเมษายนนี้มีฝนตกคอนขางบอย ทําใหยากตอการเก็บสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ซึ่งจะทําใหพบสัตวหนาดิน โปรโตซัว และสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ําไดนอยชนิด เนื่องจากความแรงของน้ําอาจพัดพาสิ่งมีชีวิตเหลานี้ใหกระจัดกระจายไป และยังพบวามีคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ย 1.9 มิลลิกรัม/ลิตร คาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ย 3.4 มิลลิกรัม/ลิตร ความเปนกรด-ดางเฉลี่ย 6.6 และอุณหภูมิเฉลี่ย 31.30 องศาเซลเซียส ซึ่งจะเห็นไดวาคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ย นอยกวา 5-8 มิลลิกรัม/ลิตร คาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ย มากกวา 2 มิลลิกรัม/ลิตร ถือไดวาน้ําในแหลงน้ํานี้มีคุณภาพต่ํา คอนขางสกปรก อีกทั้งความเปนกรด-ดางเฉลี่ย และอุณหภูมิเฉลี่ยที่ไดยังเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพวกโปรโตซัวอีกดวย

Page 24: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

60

2) เดือนสิงหาคม ฤดูฝน ฝนตกตลอดทั้งเดือน ปริมาณน้ําในคลองมากขึ้นทําใหยากตอการเก็บสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ซึ่งจะทําใหพบสัตวหนาดิน โปรโตซัว และสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ําไดนอยชนิด เนื่องจากความแรงของน้ําอาจพัดพาสิ่งมีชีวิตเหลานี้ใหกระจัดกระจายไป และยังพบวามีคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ย 1.9 มิลลิกรัม/ลิตร คาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ย 2.5 มิลลิกรัม/ลิตร ความเปนกรด-ดางเฉลี่ย 6.4 และอุณหภูมิเฉลี่ย 29.81 องศาเซลเซียส ซึ่งจะเห็นไดวาคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ยนอยกวา 5-8 มิลลิกรัม/ลิตร และคาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ยมีคามากกวา 2 มิลลิกรัม/ลิตร คาที่ไดมีความสอดคลองกัน จัดไดวาน้ําในแหลงน้ํานี้มีคุณภาพต่ํา คอนขางสกปรก อีกทั้งความเปนกรด-ดางเฉลี่ย และอุณหภูมิเฉลี่ยที่ไดยังเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพวกโปรโตซัวอีกดวย

3) เดือนธันวาคม ฤดูหนาว มีการขุดลอกคลองขึ้น ทําใหปริมาณน้ําในคลองมีปริมาณลดลง ทําใหงายตอการเก็บตัวอยางของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ซึ่งจะทําใหพบสัตวหนาดิน โปรโตซัว และสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ําไดหลากหลายชนิด และยังพบวามีคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ย 2.5 มิลลิกรัม/ลิตร คาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ย 2.7 มิลลิกรัม/ลิตร ความเปนกรด-ดางเฉลี่ย 6.5 และอุณหภูมิเฉลี่ย 28.84 องศาเซลเซียส ซึ่งจะเห็นไดวาคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ย นอยกวา 5-8 มิลลิกรัม/ลิตร และคาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ยมีคามากกวา 2 มิลลิกรัม/ลิตร คาที่ไดมีความสอดคลองกัน จัดไดวาน้ําในแหลงน้ํานี้มีคุณภาพต่ํา คอนขางสกปรก อีกทั้งความเปนกรด-ดางเฉลี่ย และอุณหภูมิเฉลี่ยที่ไดยังเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพวกโปรโตซัวอีกดวย

ทําการเก็บขอมูลปจจัยทางกายภาพและทางเคมีในบริเวณคลองเจดียบูชาของแตละจุดเก็บตัวอยางไดแก คาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ยปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ย คาความเปนกรด-ดางเฉลี่ย และอุณหภูมิเฉลี่ย ดังผลในตารางที่ 11 โดยผลที่ไดนั้นพบวาคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําเฉลี่ย วัดจากจุดเก็บตัวอยางทั้ง 9 จุดสํารวจนั้น มีคานอยกวา 5-8 มิลลิกรัม/ลิตร ซึ่งคามาตรฐานของน้ําที่มีคุณภาพดี ตองมีคามากกวา 5-8 มิลลิกรัม/ลิตร ถาปลาหยุดบริโภคอาหารและปลาอาจตายไดเมื่อ DO มีคานอยกวา 1 มิลลิกรัม/ลิตร อีกทั้งคาปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ําภายใตสภาวะที่มีอากาศเฉลี่ยมีคามากกวา 2 มิลลิกรัม/ลิตร แสดงใหเห็นวาในแหลงน้ํานี้มีสารอินทรีย

Page 25: ผลและวิจารณ - Kasetsart University...37 ผลและวิจารณ 1. การศึกษาทางชีวภาพ 1.1 ชนิดและการจําแนกทางอนุกรมวิธาน

61

ปนเปอนอยูมาก ทําใหแบคทีเรียตองใชออกซิเจนในการยอยสลายสารอินทรียในน้ํามากขึ้น เมื่อเปรียบกับ BOD มาตรฐานของแหลงน้ําทีมีคุณภาพดีควรมีคาไมเกิน 2.0 มิลลิกรัม/ลิตร ดังนั้นทั้งคา DO และ BOD จัดอยูในชวงไมผานเกณฑมาตรฐาน จัดไดวาเปนน้ําที่มีคุณภาพต่ํา ไมเหมาะตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา สัตวหนาดิน และสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ํา จึงทําใหพบชนิดหรือความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเหลานี้ไดนอย นอกจากนี้ความเปนกรด-ดางเฉลี่ยที่วัดไดทั้ง 9 จุดสํารวจอยูในชวง 6-7 และอุณหภูมิเฉลี่ยวัดไดอยูในชวง 29-30 องศาเซลเซียส ซึ่งจะเห็นไดวาเปนสภาพที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของโปรซัวสวนใหญ ดังนั้นโปรโตซัวจึงมีความหลากหลาย ซึ่งจะสอดคลองกับการศึกษาชนิดและความชุกชุมของโรติเฟอรภายในสระบัว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน (ภัทรา, 2549)

และเมื่อนําผลที่ไดมาเปรียบเทียบระหวางปจจัยทางกายภาพและชีวภาพ พบวามีความสอดคลองกัน นั่นคือแตละจุดสํารวจสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในคลองเจดียบูชา จังหวัดนครปฐม มีปจจัยทางกายภาพที่คอนขางไมคงที่ สงผลใหมีความหลากหลายของชนิดของสัตวหนาดิน โปรโตซัว และสิ่งมีชีวิตบนผิวน้ํา มีจํานวนนอยชนิดลง เพราะวาสิ่งมีชีวิตตองมีการปรับตัวมากขึ้นเพื่อการอยูรอดของตัวเอง

จากการศึกษาคุณภาพน้ําคลองเจดียบูชา จังหวัดนครปฐม สวนใหญแลวจะเปนการศึกษาทางเคมีเปนสวนใหญ เนื่องจากจะดูความแตกตางของคุณภาพน้ําระหวางจุดเก็บตัวอยางทั้ง 9 จุดของคลองเจดียบูชาวามีผลตอ อุณหภูมิ คาความเปนกรด-ดาง ปริมาณของแข็งละลายน้ําทั้งหมด ของแข็งแขวนลอยในน้ํา คาบีโอดี คาซีโอดี คาดีโอ สภาพนําไฟฟา และคลอไรด ผลการศึกษาคุณภาพน้ําคลองเจดียบูชา จังหวัดนครปฐม เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับผลที่ไดจากการศึกษาในครั้งนี้พบวามีคาใกลเคียงกัน โดยจากรายงานของ (ศิริวรรณ, 2549) ซึ่งไดทําการศึกษาคุณภาพน้ําคลองเจดียบูชา จังหวัดนครปฐม พบวาคาบีโอดี และคาดีโอ ต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน สามารถจัดเปนแหลงน้ําที่ใชเปนประโยชนเพื่อการคมนาคมได