66
ผลของการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคู ตามเวลาที ่กําหนด (Time-Pair-Share) ที่มีผลตอการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ของนักศึกษา ชั ้น ปวช.1 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคยะลา Effects of Using Time-Pair-Share Teaching Technique on the Memory of Element Symbols on Basic Science for the First Year Students of Electronic Division in Yala Technical College อรทิน สีลาภรณ Oratin Seelaporn แผนกวิชาวิทยาศาสตร วิทยาลัยเทคนิคยะลา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 2550 Science Department Yala Technical College Vocational Education Commission Ministry of Education 2007

ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

ผลของการใชเทคนคิการสอนพูดเปนคู ตามเวลาทีก่ําหนด (Time-Pair-Share) ที่มีผลตอการจําสัญลักษณธาต ุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ของนักศกึษา ชัน้ ปวช.1 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส

วิทยาลัยเทคนิคยะลา Effects of Using Time-Pair-Share Teaching Technique on the Memory

of Element Symbols on Basic Science for the First Year Students of Electronic Division in Yala Technical College

อรทิน สีลาภรณ Oratin Seelaporn

แผนกวิชาวิทยาศาสตร วิทยาลัยเทคนคิยะลา สํานกังานคณะกรรมการการอาชวีศกึษา กระทรวงศึกษาธิการ

2550 Science Department Yala Technical College Vocational Education Commission

Ministry of Education 2007

Page 2: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

2

ช่ืองานวิจัย ผลของการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-share) ท่ีมีตอการจําสัญลักษณธาต ุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ของนักศึกษาช้ัน ปวช.1 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนคิยะลา ผูวิจัย นางอรทิน สีลาภรณ สถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคยะลา ช่ืออาจารยท่ีปรึกษา นายมูฮัมหมัดรุสดี อามีรุดดนี ปท่ีทําการวจิยั 2550

บทคัดยอ การวจิยันี้มีวตัถุประสงค เพ่ือศึกษาผลของการใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ท่ีมีตอการจาํสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ของนกัศึกษาช้ัน ปวช.1 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคยะลา สมมติฐานคือนักศึกษาท่ีเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ทําใหจําสัญลักษณธาตุสูงกวากอนการสอนวิชาวทิยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุ โดยใชวิธีการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) กลุมตัวอยางไดแกนกัศึกษาช้ัน ปวช.1/7,1/8 แผนกชางอิเล็กทรอนกิส ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยเทคนิคยะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา จํานวน 18 คน ซ่ึงเปนผูเรยีนไมผานเกณฑการประเมินการเขียนสัญลักษณธาตุ เครื่องมือท่ีใชและวิธีดําเนินการวิจัย ประกอบดวย แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ ซ่ึงมีคาความยากตั้งแต .29 - .76 คาอํานาจจําแนกตั้งแต .20 - .72 และคาความเช่ือม่ันเทากับ .72 แผนการสอนท่ีใชเทคนิคการสอนพูดเปนคู (Time-Pair-Share) วิธีการดําเนินการวิจัย โดยรวบรวมขอมูลจากคะแนนท่ีไดจากแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตขุองกลุมตัวอยาง การวิเคราะหขอมูลใชการทดสอบคาที (t-test) ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาท่ีไดรับการดําเนนิการสอนท่ีใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) มีผลสัมฤทธ์ิตอการจําสัญลักษณธาตุหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001

Page 3: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

3

กิตติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรูฉบับนี้ สําเร็จลุลวงดวยดีตามกระบวนการงานวิจัยไดรับการใหโอกาสและสนับสนุนจากสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา รวมกับสถาบันการศึกษาทางไกล สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจยัขอขอบพระคณุเปนอยางสูง ผูวิจัยขอขอบคุณ นายมูฮัมหมัดรุสดี อามีรดุดนี ผูอํานวยการโรงเรียนนิคมสรางตนเอง ธารโต 5 อาจารยท่ีปรกึษาประจาํหลักสูตรการวจิยัเพ่ือพัฒนาการเรยีนรู (ภาคใต จังหวัดยะลา ) ท่ีใหคําปรกึษา แนะนํา และอนุเคราะหเอกสารตาง ๆ ในการคนควาดาํเนนิการวิจัยมาโดยตลอด ขอขอบคุณ ผศ.วิชิต เรืองแปน มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา นางยุพดี กาญจนะ ครูเช่ียวชาญ วิทยาลัยเทคนิคสตูล นางเปรมฤด ี ดํายศ ครูเช่ียวชาญ วทิยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง ท่ีใหคําปรึกษา พิจารณาความถูกตอง ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ขอขอบคุณ นายกําจัด บุญพันธุ อดีตผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคยะลา นายอิสมัน อิสสมะแอ ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคยะลา นายณรงค ไทยทอง และนายบพิตร เสตะเมธากุล รองผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคยะลา นางวัชราภรณ นิยม หัวหนากลุมงานวิจัยวิทยาลัยเทคนิคยะลา นางสาวอุไรวรรณ สุวรรณวงค ผูจัดพิมพ และ นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคยะลาท่ีเปนกลุมตัวอยาง ตลอดจนบุคลากรทุกฝายท่ีใหความรวมมือชวยเหลือเปนอยางด ี จนทําใหการวิจัยคร้ังนี้ประสบผลสําเร็จเปนอยางดี อรทิน สีลาภรณ

Page 4: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

4

สารบัญ หนา บทคัดยอ...........................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................ข สารบัญ..........................................................................................................................................ค-ง สารบัญตาราง....................................................................................................................................จ บทที ่ 1 บทนํา 1 ความเปนมาของปญหาและปญหา...................................................................................1 วัตถุประสงคของการวจิยั..................................................................................................3 สมมติฐานการวจิยั............................................................................................................3 ความสําคัญและประโยชนของการวจิยั............................................................................3 ขอบเขตของการวจิยั.........................................................................................................3 ขอตกลงเบ้ืองตน..............................................................................................................4 นิยามศัพทเฉพาะ..............................................................................................................4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่วของ 5 รูปแบบการเรียนการสอน.................................................................................................5 รูปแบบการเรียนการสอนเนนความจํา..............................................................................6 การเรียนแบบรวมมือ........................................................................................................7 หลักสูตรวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน...........................................................................................9 การจําและทฤษฎีเกี่ยวกับความจํา...................................................................................10 ระบบของความจํา...........................................................................................................14 วิธีวัดความจํา..................................................................................................................15 เทคนิคชวยพัฒนาความจาํ...............................................................................................16 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ..........................................................................................................17 กรอบแนวคิดในการวิจยั.................................................................................................20

Page 5: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

5

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย 21 กลุมตัวอยาง....................................................................................................................21 แบบแผนการวจิยั............................................................................................................22 เครื่องมือท่ีใชการวจิัย.....................................................................................................22 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล................................................................................................24 วิธีดําเนินการทดลอง.......................................................................................................24 การวิเคราะหขอมูล.........................................................................................................25 บทที่ 4 ผลการวิจัย 29 สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล.............................................................................29 ผลการวิเคราะหขอมูล.....................................................................................................30 บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ 31 สรุปผลการวิจัย...............................................................................................................31 อภิปรายผล.....................................................................................................................35 ขอเสนอแนะ...................................................................................................................36 บรรณานุกรม...................................................................................................................................37 ภาคผนวก........................................................................................................................................40 ภาคผนวก 1 แผนการสอน...........................................................................................41 ภาคผนวก 2 แบบทดสอบวดัการจาํสัญลักษณธาตุ......................................................59 ประวัติยอของผูวิจัย

Page 6: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

6

สารบัญตาราง ตาราง หนา

1 การจัดกลุมตัวอยางและจํานวนนกัศึกษา..........................................................................21 2 แบบแผนการทดลอง........................................................................................................22 3 ตารางเวลาสําหรับดําเนินการทดลอง...............................................................................24 4 คาการทดสอบที (t-test) เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนความสามารถ ในการจําสัญลักษณธาตขุองนักศึกษากลุมทดลอง กอนและหลังการทดลอง..................30 5 แบบแผนการทดลอง........................................................................................................32 6 ตารางเวลาสําหรับดําเนินการทดลอง...............................................................................33

Page 7: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

7

บทท่ี 1

บทนํา ปญหาและความเปนมาของปญหา หัวใจของการศึกษา คือการเรียนรูของผูเรียน เปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปวาผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูได ปญญาและความฉลาดเปนส่ิงท่ีสามารถพัฒนาได แตตองอาศัยเวลาและวิธีการเรียนรูท่ีตางกันไป จึงตองสงเสริมใหคนฉลาดและเรียนไดเต็มศักยภาพของแตละบุคคล เพียงแตครูตองจัดเวลา วิธีเรียน สภาพแวดลอม รวมท้ังแหลงเรียนรูตาง ๆ ใหเอ้ือตอการเรียนรูของแตละคน (ชัยพจน รักงาม, 2544 : 11) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) หมวดวิชาสามัญ กลุมวิชาวิทยาศาสตร นักศึกษาทุกแผนกวิชาตองเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000-1401) จาํนวน 2 หนวยกิต เรียน 3 คาบตอสัปดาห ซ่ึงมีคําอธิบายรายวิชาดังนี้ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร การรักษาดุลยภาพของรางกาย พืช สัตว ความสัมพันธระหวางส่ิงแวดลอมกับส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ ดุลยภาพของระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โครงสรางของอะตอม สมบัติของสารและตารางธาตุ พันธะเคมี แรงและชนิดของแรง ลักษณะการเคล่ือนท่ีของวัตถุ งาน พลังงาน (สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา) จากการท่ีผูวิจัยทําหนาท่ีสอนวิชาวิทยาศาสตรมากกวา 25 ป พบวา ผูเรียนสวนใหญมีความสนใจ ใฝรูในวิชาวิทยาศาสตรนอย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผานเกณฑในระดับไมสูงมากนัก บางภาคเรียนในแตละปการศึกษามีผูเรียนไมผานเกณฑจํานวนมาก ตองมีการสอนซอมเสริม และสอบแกศูนย จึงจะผานเกณฑได เชน ในภาคเรียน 1/2549 ผูเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ระดับ ปวช. จํานวน 3 หอง รวมท้ังหมด 112 คน สามารถสอบผานเกณฑการประเมิน จํานวน 66 คน และไมผานเกณฑการประเมิน จํานวน 46 คน

สาเหตสํุาคัญท่ีทําใหผูเรยีนไมผานการประเมิน เนื่องจากการขาดความรบัผิดชอบ ขาดเรยีนบอย ไมสงงาน ไมสนใจ ไมมีความรูพ้ืนฐาน ขาดทักษะการคิดคํานวณ ไมมีความอดทนในการเรียน และท่ีสําคัญผูเรียนสวนใหญไมชอบวิชาวิทยาศาสตร โดยเฉพาะรายละเอียดของวิชาท่ีเปนวิชาเคมี ตองใชทักษะการจําสัญลักษณธาตุ สูตรเคมีตาง ๆ หรือวิชาฟสิกส ตองจําสูตรตาง ๆ และทักษะการคิดคํานวณ นับเปนปญหาสําคัญสําหรับครูผูสอนวิชาวิทยาศาสตร

ปญหาของการเรียนวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุ พบวา ผูเรียนเขียนช่ือสัญลักษณธาตุไมได จึงเขียนสูตรเคมี และเรียนเรื่องพันธะเคมีไมเขาใจ ทําใหเขียนและอานช่ือ

Page 8: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

8

สารประกอบตาง ๆ ทางเคมีไมไดเชนกัน เม่ือผูวิจัยไดทําการสอนวิชาวิทยาศาสตร ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ก็พบปญหาในหนวยการเรียนท่ีเปน เรื่องของการเขียนสูตรเคมี และการอานช่ือสารประกอบตาง ๆ ดังนั้น ในการเรียนวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุ ผูเรียนจะตองจําสัญลักษณของธาตุใหถูกตอง เม่ือผูเรียนสวนใหญจําไมได ในฐานะผูสอนจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองหาวิธีสอน หรือกิจกรรมท่ีเหมาะสม เพ่ือแกปญหาการจําสัญลักษณธาตุ อันเปนพ้ืนฐานในการเรียนระดับสูงตอไป

บุญชม ศรีสะอาด (2537:2) กลาววา การสอนเปนการจัดดําเนินการของผูสอนเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยผูเรียนจะทํากิจกรรมท่ีอาศัยกระบวนการทางสมอง เชน ฟง พูด อาน เขียน โยงความสัมพันธ เปรียบเทียบเพ่ือใหเกิดการเรียนรู การดําเนินการสอนของผูสอนอาจอยูในรูปแบบบรรยาย อธิบาย สาธิต ใหอานเพ่ือหาสาระ ใหอธิบาย ใหทําแบบฝกหัด ใหศึกษาจากส่ือ ตาง ๆ เปนตน

ยุทธพงษ ไกยวรรณ (2541:61) กลาววา การสอน หมายถึง กระบวนการจัดส่ิงเรา และส่ิงแวดลอมใหสอดคลองกับกิจกรรมหรือประสบการณ เพ่ือใหผูเรียนไดเรียนรู จากกิจกรรมและประสบการณท่ีจัดผานประสาทสัมผัสของผูเรียนเอง

เนื่องจากมีวิธีสอนหลากหลายวิธี ผูสอนจําเปนตองเลือกใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชา ประสบการณของผูเรียน เพ่ือใหเกิดการเรียนรูท่ีแทจริง ดังนั้น จึงมีเทคนิคการสอนตาง ๆ ใหเลือกใชมากมาย

เทคนิคการสอน หมายถึง กลวิธีตาง ๆ ท่ีใชเสริมกระบวนการสอน ขั้นตอนการสอน วิธีการสอน หรือการดําเนินการสอนใด ๆ เพ่ือชวยใหการสอนมีคุณภาพ และประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น เชน การพูดเปนคูตามเวลากําหนด (Time-Pair-Share) เปนเทคนิคการเรียนแบบรวมมือท่ีสมาชิกจับคูกัน สมาชิกคนท่ี 1 พูดในเวลาท่ีกําหนด เพ่ือตอบโจทยหรือปญหาท่ีกําหนด สมาชิกคนท่ี 2 ฟง จากนั้นสมาชิกคนท่ี 2 พูด คนท่ี 1 ฟง การใชเวลาเทากับครั้งแรก (ผดุงชัย ภูพัฒน, 2544 : อัดสําเนา)

แตดวยเหตุท่ีการจําสัญลักษณธาต ุ นักศึกษาทองไดแตอาจจะเขียนไมถูกตอง ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะนําเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) มาประยุกตโดยเพ่ิมเปนการพูดและเขียนเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) เพ่ือแกปญหาใหกับผูเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ช้ัน ปวช.1 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคยะลา อ.เมือง จ.ยะลา ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 ท่ีไมผานเกณฑประเมินเรื่องการจําสัญลักษณธาต ุ มาใชเนื่องจากเปนการเรียนรูแบบรวมมือของผูเรียนกลุมเล็ก ๆ ท่ีเนนความรับผิดชอบ และเปนการพัฒนาดานความจํา ผลท่ีผูเรียนไดรับจะชวยใหผูเรียนสามารถจําสัญลักษณธาตุ ซ่ึงใชเปนความรูพ้ืนฐานในการเรียนเรื่องพันธะเคมี การเรียกช่ือสารประกอบตาง ๆ หรือการเรียนรูวิชาเคมีในระดับสูงตอไป

Page 9: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

9

วัตถุประสงคของการวิจัย เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบ การจําสัญลักษณธาตกุอนและหลังการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุ โดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) สมมติฐานการวิจัย นักศึกษาท่ีไดเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) จําสัญลักษณธาตุไดสูงกวากอนการเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ความสําคญัและประโยชนของการวิจัย 1. ไดทราบผลการเปรียบเทียบการจําสัญลักษณธาตุกอน และหลังการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) 2. เปนประโยชนกับครูผูสอน และผูเกี่ยวของกับการศึกษา จะไดทราบแนวทางในการพัฒนาใหผูเรียนจําสัญลักษณไดงาย และเร็วขึ้น 3. เปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนในทุกรายวิชา ทุกระดับช้ันท่ีจะพัฒนาใหผูเรียนเกงขึ้น ขอบเขตของการวิจัย การวจิยัครั้งนี้มีขอบเขต ดังนี ้ 1. กลุมประชากร เปนนักศึกษาช้ันปวช. 1/7,1/8 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยเทคนิคยะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา จํานวน 1 หอง จํานวน 34 คน 2. กลุมตัวอยางในการวิจัย เปนนักศึกษา ช้ัน ปวช. 1/7,1/8 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยเทคนิคยะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา จํานวน 18 คน ซ่ึงเปนผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการประเมินการเขียนสัญลักษณธาตุ 3. วิธีสอนท่ีใชในการแกปญหาการเขียนสัญลักษณธาตุ ใชวิธีเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) 4. ระยะเวลาท่ีใชในการทดลองจํานวน 2 คาบ คือวันท่ี 25 พฤศจิกายน และ 29 พฤศจกิายน 2549 ของภาคเรียน 2 ปการศึกษา 2549 5. ตัวแปร 5.1 ตัวแปรอิสระ คือ การสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียน เรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share)

Page 10: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

10

5.2 ตัวแปรตาม คือ การจําสัญลักษณของธาตุท่ีวัดจากแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ ขอตกลงเบื้องตน การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental – Research) กลุมตัวอยางท่ีใชในการทดลองท้ังหมด 18 คน ซ่ึงเปนผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการประเมิน เรื่อง การจําสัญลักษณธาตุ ขอมูลท่ีนํามาวิเคราะหไดจากคะแนนวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วัดดวยแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุของกลุมตัวอยางท้ังหมด นิยามศัพทเฉพาะ นิยามศัพทเฉพาะของการวิจัยครั้งนี ้มีดังนี ้ 1. เทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) หมายถึง ใหผูเรียนจับคู เพ่ืออานช่ือธาตุใหเพ่ือนฟง และใหเพ่ือนตอบ (พูด) และเขียนสัญลักษณของช่ือธาตุตามท่ีไดฟงจากแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุตามเวลาท่ีกําหนด จากนั้นก็สลับใหอีกฝายทําเหมือนกับคนแรก ใชเวลาคูละ 20 นาที 2. การจําสัญลักษณธาตุ คือ การระลึกสัญลักษณของธาตุไดโดยแสดงออกดวยการเขียนสัญลักษณธาตุ จํานวน 20 ขอ ไดถูกตองตามแบบทดสอบการวัดการจําสัญลักษณธาตุ 3. วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน คือ วิชาวิทยาศาสตรท่ีใชสอนผูเรียนระดับ ปวช. ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) รหัสวิชา 2000-1401 4. หนวยการเรียนเรื่องธาตุ และเขียนสัญลักษณธาตุ หมายถึง หนวยการเรียนบทท่ี 6 เรื่องสมบัติของสสารและตารางธาตุ ในวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000-1401) ตามหนังสือเรียนหมวดวิชาสามัญ วิทยาศาสตรพ้ืนฐานของชมรมครูวิทยาศาสตรอาชีวศึกษาภาคใต 5. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ หลังจากการเรียนดวยวิธีเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share)

6. กลุมทดลอง หมายถึง ผูเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000-1401) ช้ัน ปวช.1/7,1/8 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส จํานวน 18 คน ท่ีไมผานเกณฑการจําสัญลักษณธาต ุ 7. ทดสอบกอนการสอน หมายถึง การใชแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ ทดสอบกลุมตัวอยาง กอนการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุ โดยใชวิธีการสอนแบบเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) 8. ทดสอบหลังสอน หมายถึง การใชแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ ทดสอบกลุมตัวอยางหลังการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share)

Page 11: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

11

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดเสนอเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ประกอบดวยรูปแบบการเรียนการสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน การจําและทฤษฎีเกี่ยวกับความจํา และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอน ทิศนา แขมมณี (2548:3-5) ใหคํานิยามมีรูปแบบการเรียนการสอน คือ สภาพ ลักษณะของการเรียนการสอนท่ีครอบคลุมองคประกอบสําคัญ ซ่ึงไดรับการจัดไวอยางเปนระเบียบ ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการแนวคิด หรือความเช่ือตาง ๆ โดยประกอบดวย กระบวนการหรือขั้นตอนสําคัญในการเรียนการสอน รวมท้ังวิธีสอนและเทคนิคการสอนตาง ๆ ท่ีสามารถชวยใหสภาพการเรียนการสอนนั้นเปนไปตามทฤษฏี และไดรับการพิสูจน ทดสอบ หรือยอมรับวามีประสิทธิภาพ สามารถใชเปนแบบแผนในการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคเฉพาะของรูปแบบนั้น ๆ รูปแบบการเรียนการสอนจําเปนตองมีองคประกอบสําคัญ ๆ ดังนี ้ ก. มีปรัชญา ทฤษฏี หลักการ แนวคิด หรือความเช่ือท่ีเปนพ้ืนฐาน หรือเปนหลักของรูปแบบการสอนนั้น ๆ ข. มีการบรรยาย และอธิบายสภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับหลักการท่ียึดถือ ค. มีการจัดระบบ คือ มีการจัดองคประกอบและความสัมพันธขององคประกอบของระบบท่ีใหสามารถนําผูเรียนไปสูเปาหมายของระบบ หรือกระบวนการนั้น ๆ ง. มีการอธิบาย หรือใหขอมูลเกี่ยวกับวิธีสอนและเทคนิคการสอนตาง ๆ อันจะชวยใหกระบวนการเรียนการสอนนั้น ๆ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นระบบการจัดการเรียนการสอนก็คือ องคประกอบตาง ๆ ของการเรียนการสอนท่ีไดรับการจัดไวใหมีความสัมพันธและสงเสริมกัน เพ่ือชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนตามจุดมุงหมายท่ีกําหนดไว

Page 12: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

12

รูปแบบการเรียนการสอนที่เนนพัฒนาดานพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) รูปแบบการเรียนการสอนเนนพัฒนาดานพุทธิพิสัย ทิศนา แขมมณี (2548:8) กลาววา เปนรูปแบบการเรียนการสอนท่ีชวยใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจเนื้อหาสาระตาง ๆ ซ่ึงเนื้อหาสาระนั้นอาจอยูในรูปของขอมูล ขอเท็จจริง มโนทัศน หรือความคิดรวบยอด แบงเปนรูปแบบตาง ๆ ดังนี้

1.1 รูปแบบการเรียนการสอนมโนทัศน 1.2 รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเย 1.3 รูปแบบการเรียนการสอนโดยการนําเสนอมโนทัศนกวางลวงหนา 1.4 รูปแบบการเรียนการสอนเนนความจํา 1.5 รูปแบบการเรียนการสอนโดยใชผังกราฟฟก เนื่องจากการทําวิจัยในช้ันเรียนครั้งนี้จะตองอาศัยความรู ความจําในการเขียนสัญลักษณ

ธาตุ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานสําคัญของการศึกษาวิชาเคมี จึงนําเอารูปแบบการเรียนการสอนเนนความจํามาอธิบายดังนี้ รูปแบบการเรียนการสอนเนนความจํา (Memory Model)

ก. ทฤษฎี/ หลักการ/ แนวคิดของรูปแบบ รูปแบบพัฒนาขึ้นโดย จอยสและวีล (Joyce & weil, 1996:209-231)

โดยอาศัยหลัก 6 ประการ คือ 1. การตระหนัก (awareness) ซ่ึงกลาวถึงการท่ีบุคคลจะจดจําส่ิงใดไดดีนั้น จะตองเริ่มจากการรับรูส่ิงนั้น หรืองการสังเกตส่ิงนั้นอยางตั้งใจ 2. การเช่ือมโยง (association) กับส่ิงท่ีรูแลวหรือจําได 3. ระบบการเช่ือมโยง (link system) คือระบบในการเช่ือมความคิดหลายความคิดเขาดวยกันในลักษณะท่ีความคิดหนึ่งจะไปกระตุนใหสามารถจําอีกความคิดหนึ่งได 4. การเช่ือมโยงท่ีนาขบขัน (ridiculous association) การเช่ือมโยงท่ีจะชวยใหบุคคลจดจําไดดีขึ้น มักจะเปนส่ิงท่ีแปลกไปจากปกติธรรมดา การเช่ือมโยงในลักษณะท่ีแปลกเปนไปไมได ชวนใหขบขัน มักจะประสบในความทรงจําของบุคคลเปนเวลานาน 5. ระบบการใชคําทดแทน 6. การใชคําสําคัญ (Key Word) ไดแก การใชคํา อักษร หรือพยางคเพียงตัวเดียวเพ่ือชวยกระตุนใหจําส่ิงอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวกันได

Page 13: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

13

ข. วัตถุประสงคของรูปแบบ รูปแบบนี้มีวัตถุประสงคชวยใหผูเรียนจดจําเนื้อหาสาระท่ีเรียนรูไดดี และไดนาน และได

เรียนรูกลวิธีการจํา ซ่ึงสามารถนําไปใชในการเรียนรูสาระอ่ืน ๆ ไดอีก ค. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ในการเรียนการสอน เนื้อหาสาระใด ๆ ผูสอนสามารถชวยใหผูเรียนจดจํา เนื้อหาสาระไดดี

และนานโดยดําเนินการดังนี้ ขั้นท่ี 1 การสังเกตหรือศึกษาสาระอยางตั้งใจ ผูสอนชวยใหผูเรียนตระหนักรูในสาระท่ี

เรียน โดยการใชเทคนิคตาง ๆ เชน ใหอานเอกสารแลวขีดเสนใตคํา ประเด็นท่ีสําคัญใหตั้งคําถามจากเรื่องท่ีอาน ใหหาคําตอบของคําถามตาง ๆ เปนตน

ขั้นท่ี 2 การสรางความเช่ือมโยง เม่ือผูเรียนไดศึกษาสาระท่ีตองการเรียนรูแลว ใหผูเรียนเช่ือมโยงเนื้อหาสวนตาง ๆ ท่ีตองการจดจํากับส่ิงท่ีตนคุนเคย เชน กับคํา ภาพ หรือความคิดตาง ๆ

ขั้นท่ี 3 การใชจินตนาการ เพ่ือใหจดจาํสาระไดดีขึ้น ใหผูเรยีนใชเทคนคิการเช่ือมโยงสาระตาง ๆ ใหเห็นเปนภาพท่ีนาขบขันเกินความเปนจริง

ขั้นท่ี 4 การฝกใชเทคนิคตาง ๆ ท่ีทําไวขางตน ในการทบทวนความรูและเนื้อหาสาระ ตาง ๆ จนกระท่ังจดจําได

ง. ผลท่ีผูเรียนจะไดรับจากการเรียนตามรูปแบบ การเรียนโดยใชเทคนิคชวยความจาํตาง ๆ ของรูปแบบ นอกจากจะชวยผูเรยีนสามารถจดจาํ

เพ่ือหาสาระตาง ๆ ท่ีเรียนไดดี และไดนานแลว ยังชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูกลวิธีการจํา ซ่ึงสามารถนําไปใชในการเรียนรูสาระอ่ืน ๆ ไดอีกมาก

การเรียนแบบรวมมือ

การเรียนแบบรวมมือ ไดมีผูใหความหมายไวหลายทาน ดังนี ้ สลาวิน (Slavin, 1987:7-13) ใหความหมายของการเรียนแบบรวมมือวา หมายถึง วิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีใหนักเรียนทํางานรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ โดยท่ัวไปมีสมาชิกกลุมละ 4 คน สมาชิกกลุมมีความสามารถในการเรียนตางกัน สมาชิกในกลุมจะรับผิดชอบในส่ิงท่ีไดรับการสอน และชวยเพ่ือนสมาชิกใหเกิดการเรียนรูดวย มีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน โดยมีเปาหมายในการทํางานรวมกัน คือ เปาหมายของกลุม จอหนสันและจอหนสัน (Johnson and Johnson, 1974 : 11-12) กลาววา การเรียนแบบรวมมือเปนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนใหผูเรียนไดรวมมือ และชวยเหลือกันในการเรียนรู โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมเล็ก ๆ ประกอบดวยสมาชิกท่ีมีความสามารถแตกตางกันทํางานรวมกันเพ่ือเปาหมายกลุม สมาชิกมีความรับผิดชอบรวมกันท้ังในสวนตนและสวนรวม มีการฝกและใช

Page 14: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

14

ทักษะการทํางานกลุมรวมกัน ผลงานของกลุมขึ้นอยูกับผลงานของสมาชิกแตละบุคคลในกลุม สมาชิกตางไดรับความสําเร็จรวมกัน อาเรนดส (Arends, 1994 : 3) กลาวถึง การเรียนแบบรวมมือวา เปนรูปแบบการสอนท่ีใหนักเรียนทํางานรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ โดยสมาชิกในกลุมมีความสามารถคละกันท้ังสูง กลาง ต่ํา นักเรียนหญิงและชายมีเปาหมายในการทํางานรวมกัน ไดรับรางวัลหรือความสําเร็จรวมกัน ผดุงชัย ภูพัฒน (2544, 29-33) ไดนําเทคนิคการเรียนแบบรวมมือแบบไมเปนทางการ และเปนเทคนิคท่ีพัฒนาโดยเคเกน นําเสนอดังนี ้ 1. การพูดเปนคู (Rally Robin) เปนเทคนิคเปดโอกาสใหนักเรียนพูด ตอบ แสดงความคิดเห็นเปนคู ๆ โดยเปดโอกาสใหสมาชิกท่ีเปนคูไดพูดกัน ตัวอยางเชน กลุมมีสมาชิก 4 คน แบงเปน 2 คู คูหนึ่งประกอบดวยสมาชิกคนท่ี 1 และคนท่ี 2 แตละคูจะพูดพรอม ๆ กันไปโดย 1 พูด 2 ฟง จากนั้น 2 พูด 1 ฟง ตอมา 1 พูด 2 ฟง เปนตน 2. การเขียนเปนคู (Rally Table) เปนเทคนิคคลายกับการพูดเปนคูทุกประการ ตางกันเพียงการเขียนเปนคู เปนการรวมมือเปนคู ๆ โดยผลัดกันเขียน หรือวาด (ใชอุปกรณ : กระดาษ 2 แผน และปากกา 2 ดามตอกลุม) 3. การพูดรอบวง (Round Robin) เปนเทคนิคท่ีสมาชิกของกลุมผลัดกันพูด ตอบ เลา อธิบาย โดยไมใชการเขียน การวาด และเปนการพูดท่ีผลัดกันทีละคนตามเวลาท่ีกําหนด จนครบ 4 คน 4. การเขียนรอบวง (Round Table) เปนเทคนิคท่ีเหมือนกับการพูดรอบวง แตกตางกันท่ีเนนการเขียน การวาด (ใชอุปกรณ : กระดาษ 1 แผน และปากกา 1 ดามตอกลุม) วิธีการ คือ ผลัดกนัเขียนลงในกระดาษท่ีเตรียมไวทีละคนตามเวลาท่ีกําหนด 5. การแกปญหาดวยการตอภาพ (Jigsaw Problem Solving) เปนเทคนิคท่ีสมาชิกแตละคนคิดคําตอบของตนเองไว จากนั้นกลุมนําคําตอบของทุก ๆ คนมารวมกันอภิปราย เพ่ือหาคําตอบท่ีดีท่ีสุด 6. คิดเดี่ยว-คิดคู-รวมกันคิด (Think-Pair-Share) เปนเทคนิคโดยเริ่มจากปญหาหรือโจทยคําถาม โดยสมาชิกแตละคนคิดหาคําตอบดวยตนเองกอน แลวนําคําตอบไปอภิปรายกับเพ่ือนเปนคู จากนั้นจึงนําคําตอบของตน หรือของเพ่ือนท่ีเปนคูเลาใหเพ่ือน ๆ ท้ังช้ันฟง 7. อภิปรายเปนคู (Pair Discussion) เปนเทคนิคท่ีเม่ือครูถามคําถาม หรือกําหนดโจทยแลวใหสมาชิกท่ีนั่งใกลกันรวมกันคิดและอภิปรายเปนคู 8. อภิปรายเปนทีม (Team Discussion) เปนเทคนิคท่ีเม่ือครูตั้งคําถามแลวใหสมาชิกของกลุมทุก ๆ คนรวมกันคิด พูด อภิปรายเปนคู ๆ 9. ทําเปนกลุม-ทําเปนคู-และทําคนเดียว (Team-Pair-Solo) เปนเทคนิคท่ีเม่ือครูกําหนดปญหาหรือโจทย หรืองานใหทําแลว สมาชิกจะทํางานรวมกันท้ังกลุมจนทํางานไดสําเร็จ แลว

Page 15: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

15

จากนั้นจะแบงสมาชิกเปนคูใหทํางานรวมกันเปนคู จนงานสําเร็จ แลวถึงขั้นสุดทายใหสมาชิกแตละคนทํางานคนเดียวจนสําเร็จ 10. การเรียงแถว (Line-Ups) เปนเทคนิคท่ีงาย ๆ โดยใหนักเรียนยืนเปนแถวเรียงลําดับภาพคํา หรือส่ิงท่ีครูกําหนดให เชน ครูใหภาพตาง ๆ แกนักเรียน แลวใหนักเรียนยืนเรียงลําดับภาพ ขั้นตอนของวงจรชีวิตของแมลง หวงโซอาหาร เปนตน 11. การพูดเปนคูตามเวลากําหนด (Time-Pair-Share) เปนเทคนิคการเรียนแบบรวมมือท่ีสมาชิกจับคูกัน สมาชิกคนท่ี 1 พูดในเวลาท่ีกําหนดเพ่ือตอบโจทย หรือปญหาท่ีกําหนด สมาชิกคนท่ี 2 ฟง จากนั้นสมาชิกคนท่ี 2 พูด คนท่ี 1 ฟง การพูดใหเวลาเทากับครั้งแรก 12. การทําโครงงานเปนกลุม (Team Project) เปนเทคนิคการเรียนดวยวิธีโครงงาน โดยครูอาจจะกําหนดวิธีการทําโครงงาน ระบุบทบาทของสมาชิกแตละคนในกลุม ใหรวมกันทําโครงงานตามมอบหมาย หรือาจใชวิธีใหนักเรียนรวมกันคิดทําโครงงานเอง โดยนักเรียนแบงหนาท่ีใหสมาชิกทุกคนมีบทบาทในการทํางาน จากการเรียนแบบรวมมือ ผู เรียนทํางานเปนกลุมเล็ก ๆ ไดเรียนรูรวมกัน และไดรับความสําเร็จรวมกันโดยนําเอาเทคนิคตาง ๆ ท่ีพัฒนาจากเคเกนซ่ึงเปนกิจกรรมการเรียนเปนกลุมเล็กๆ ไมเกิน 4 คน ซ่ึงมีท้ังการพูด การเขียน สลับกันไปตามความเหมาะสมของลักษณะวิชา ในการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ผูเรียนตองจําช่ือธาตุและเขียนสัญลักษณธาตุได จึงเลือกเอาวิธีเขียนแบบรวมมือโดยใชการพูดเปนคูตามเวลากําหนด (Time-Pair-Share) มาใชเพ่ือแกปญหาใหกับผูเรียนท่ีจําสัญลักษณธาตุไมได ซ่ึงมีความสอดคลองกับเนื้อเรื่องท่ีเนนการจําในการสอน

หลักสูตรวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) หมวดวิชาสามัญ กลุมวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000-1401) จํานวน 2 หนวยกิต 3 คาบตอสัปดาห นักศึกษาทุกแผนกวิชาตองเรียนรายวิชานี้จึงจะจบหลักสูตร ปวช. ได ซ่ึงมีคําอธิบายรายวชิาดังนี ้ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร การรักษาดุลยภาพของรางกายพืช สัตว ความสัมพันธระหวางส่ิงแวดลอมกับส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ ดุลยภาพของระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โครงสรางของอะตอม สมบัติของสารและตารางธาตุ พันธะเคมี แรงและชนิดของแรง ลักษณะการเคล่ือนท่ีของวัตถุ งาน พลังงาน จากหนวยการเรียนท้ังหมด เปนความรูทางวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ท่ีมุงใหผูเรียนมีความรู เขาในในเคมี และฟสิกส ซ่ึงผูเรียนจะตองนําไปเปนความรูพ้ืนฐานสําหรับเรียนในระดับสูงตอไป ความสําคัญและประโยชนของการเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ในหนวยการเรียนเรื่องธาตุ ผูเรียนตองรูจัก จํา และเขียนสัญลักษณธาตุตาง ๆ โดยเฉพาะธาตุสําคัญท่ีนํามาใชประโยชน

Page 16: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

16

และพบเห็นมากในชีวิตประจําวัน ซ่ึงเปนส่ิงสําคัญมากในการเรียนเรื่องการอานช่ือสารประกอบ พันธะเคมี หรือเคมีในขั้นสูงตอไป และในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ผูเรียนตองเรียนวิชาวิทยาศาสตรท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิชาเคมีอีกหลายคาบ จําเปนตองอาศัยความรูพ้ืนฐานในเรื่องธาต ุสัญลักษณธาตุ และธาตุตาง ๆ ในตารางธาตุ ท่ีรวมกันเปนสารประกอบตาง ๆ มากมาย ถาหากไมรูจักสัญลักษณก็เขียนการรวมตัวของสารประกอบตาง ๆ ไมได กอใหเกิดปญหาในการเรียนการสอน การเขียนสัญลักษณธาต ุ หลักการเขียนสัญลักษณธาตุในปจจุบัน คือการใชอักษรยอเปนสัญลักษณมีหลักการเขียนดังนี ้ 1. ใชตัวอักษรตัวหนาของช่ือธาตุในภาษาอังกฤษ หรือภาษาละติน หรือภาษากรีก เปนสัญลักษณของธาตุ และเขียนดวยตัวพิมพใหญ 2. กรณีท่ีอักษรตัวหนาซํ้ากัน ใหใชอักษรตัวหนาเปนตวัพิมพใหญ และตัวอักษรถัดไปเปนตัวพิมพเล็ก ดังนั้น การท่ีเขียนช่ือธาต ุหรือสัญลักษณธาตุไดถูกตอง จะตองใชทักษะการจํา โดยจําหลักของการเขียนสัญลักษณธาตุ จําช่ือธาตุตาง ๆ ไดอยางแมนยํา เพราะธาตุมีช่ือท้ังภาษาอังกฤษ หรือภาษาละติน หรือภาษากรีก ผูเรียนจะตองมีความขยันในการอาน การทอง เพ่ือจําช่ือและเขียนสัญลักษณธาตุนั้น ๆ ไดถูกตอง

การจําและทฤษฎีเกี่ยวกบัความจํา

ความหมายของการจําและความจํา สังคม ภูมิพันธุ (http://vod.msu.ac.th/itde/article/memo/index.htm)ไดใหความหมาย การจํา (Memory) หมายถึง การนําบางสวนของการตอบสนองท่ีเกิดจากการเรียนรูมาแสดงใหปรากฏในสถานการณปจจุบัน หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง การจาํ หมายถึง การเกบ็ รกัษาขอมูลไวระยะหนึ่ง อาจจะเปนเวลานอยกวาหนึ่งวิธี หรือยาวตลอดชีวติกไ็ด ในกรอบของสมองหรือสตปิญญาของมนุษย ซ่ึงถือวาเปนกระบวนการทางพุทธิปญญา (Cognitive Process) มีสามคาํท่ีเกี่ยวของกนั คือ การเรียนรู (Learning) การจํา (Memory) และการลืม (Forgetting) ซ่ึงการจําถือวาเปนหัวใจของกระบวนการดังกลาว และการจํามีผลตอการตั้งใจรับรู การรู การเรียนและการใชภาษา การสรางมโนทัศน การแกปญหา การใชเหตผุลและการตดัสินใจ

Page 17: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

17

ขั้นตอนของการจํา มี 3 ขั้นตอน คือ 1. เปล่ียนแปลงกายภาพของส่ิงเราเปนขอมูล เชน เม่ือเห็นปาย เราอาจเปล่ียนสัญลักษณนี้

เปนรูปของมโนภาพ 2. เก็บขอมูลและบันทึกไว 3. เรียกใชขอมูล

เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ (2525:121) กลาววา ความจํา หมายถึง ความสามารถในการเกบ็รกัษา บันทึกเรื่องราวตาง ๆ ไวในสมอง อยางถูกตอง รวดเร็ว และสามารถระลึกได โดยสามารถถายทอดส่ิงท่ีจําไดออกมา ชาญวิทย เทียมบุญประเสริฐ (2528:163) กลาววา ความจําเปนสมรรถภาพในการจําเรื่องราว เหตุการณ ภาพ สัญลักษณ รายละเอียด ส่ิงท่ีมีความหมาย และส่ิงท่ีไรความหมายและสามารถระลึกหรือถายทอดออกมาได ไสว เล่ียมแกว (2528 :7) กลาววา เนื่องจากความจําเปนเหตุการณท่ีเรา “รูสึก” วาเกิดขึ้นในหัวของเรา ดังนั้นเกือบทุกคน จึงสามารถบอกความหมายของความจาํได ถาถามคนท่ัวไป ก็อาจจะไดรับคําตอบวา ความจํา คือส่ิงท่ีเหลือจากการลืม ความจาํคือส่ิงท่ีเราเคยเห็นแลวเม่ือวันกอน และวันนีก้็ยังระลึกไดอยู ความจาํคือบางส่ิงบางอยางในอดตี ท่ียังคงอยูในหัวของเรา เปนตน แตถาถามนักปรัชญา อยางเชน พลาโต (Plato) ก็จะไดรับคําตอบวา ความจําคือ “รอย” (Trace) ท่ีเกิดขึ้นในสมองหลังจากท่ีบางส่ิงบางอยางไดเขาไปทางประสาทสัมผัสแลว เชน ทางตา ทางหู เปนตน และรอยนี้จะยังคงเปนรอยอยูเชนนั้นตอไปอีกช่ัวระยะเวลาหนึง่ หลังจากส่ิงกระตุนหรือส่ิงเราไดหายไปจากตาหรือหูแลว ถาถามอริสโตเติล (Aristotle) กจ็ะไดรบัคาํตอบวา ความจํา คือรอยเชนเดยีวกับของพลาโต แตรอยนี้จะคอย ๆ เปนรอยชัดเจนขึ้น หลังจากเกดิซํ้า ๆ กัน และยังคงเปนรอยอยูเชนนั้นช่ัวระยะเวลาหนึ่ง หลังจากส่ิงเราไดหายไปแลว นอกจากนี ้ อริสโตเติล อาจจะตอบเพ่ิมเติมวา รอยเดิมอาจจะคงอยูตอไปไดนานถาได “โยงสัมพันธ” (Associate) กับรอยอ่ืน ๆ ท่ีเกิดเปนรอยอยูกอนแลว มาลินี จุฑะรพ (2539:149) กลาววา “ความจํา คือกระบวนการท่ีสมองสามารถเก็บสะสมส่ิงท่ีไดรับรูไว และสามารถนําออกมาใชไดเม่ือถึงภาวะจําเปน” สมบัต ิจําปาเงิน และสําเนียง มณีกาญจน (2539:3) ไดกลาววา “ความจํา คือการท่ีจิตใจหรือสมองเก็บพฤติกรรมตาง ๆ ท่ีไดพบเห็นมาแลว เพ่ือชวยในการปฏิบัติการอยางอ่ืนตอไป” ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ (2541:161) กลาววา ความจําเปนความสามารถในการระลึกนกึออกส่ิงท่ีไดเรียนรู ไดมีประสบการณ ไดรับรูมาแลว ความจําเปน ความสามารถพ้ืนฐานอยางหนึ่งของมนุษย ซ่ึงจะขาดเสียมิได ความคิดท้ังหลายก็มา จากการหาความสัมพันธของความจํานั่นเอง แบบทดสอบวัดความจําจึงใชวัดความสามารถในการระลึกนึกออกวา สมองไดส่ังสมอะไรไว จากท่ีเห็น ๆ มาแลว และมีอยูมากนอยเพียงใด

Page 18: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

18

สุรางค โควตระกูล (2544:250) กลาววา “ความจํา คือความสามารถท่ีจะเก็บส่ิงท่ีไดเรียนรูไวไดเปนเวลานานและสามารถคนความาใชได หรือระลึกได” กิลฟอรด (Guilford ,1956:221) กลาววา ความจําเปนความสามารถท่ีจะเก็บหนวยความรูไว และสามารถระลึกได หรือนําหนวยความรูนัน้ออกมาใชไดในลักษณะเดียวกันท่ีเก็บเขาไว ความสามารถดานความจาํเปน ความสามารถท่ีจําเปนในกจิกรรมทางสมองทุกแขนง เทอรสโตน (Thurstone,1958:121) กลาววา สมรรถภาพสมองดานความจําเปนสมรรถภาพดานการระลึกไดและจดจาํเหตกุารณหรือเรื่องราวตาง ๆ ไดถูกตองแมนยํา อดัมส (Adams,1967:9) กลาววา ความจําเปนพฤตกิรรมภายใน (Covert Behavior) ซ่ึงเกิดขึน้ภายในจติเชนเดียวกับความรูสึก การรับรู ความชอบ จินตนาการและพฤตกิรรมทางสมองดานอ่ืน ๆ ของมนษุย แมคคอนแนล และฟลิปชอลค McConnell and Philipohalk (1994:292) กลาววา “ความจาํ คือ ความสามารถในการบันทึกประสบการณในอดีต และสามารถท่ีจะระลึกถึงการรับรู อารมณ ความคดิ และการกระทําในอดีตได” บารอน Baron (1999:206) กลาววา “ความจาํ คือความสามารถท่ีจะเก็บรกัษาและสามารถดึงขอมูลออกมาใชได” จากความหมายของความจําและการจําดังท่ีกลาวมา อาจสรปุไดวา การจาํคือ ความสามารถทางสมองของบุคคลในการเก็บสะสมขอมูลใด ๆ ก็ตาม แลวสามารถระลึกถึงส่ิงนั้นออกมาใชไดเม่ือตองการ อันเปนกระบวนการทํางานของสมองท่ีตอเนื่องสัมพันธกัน ในการเรียนรูขอมูลจากแหลงตาง ๆ เม่ือเรียกใชขอมูลในครั้งตอไป ก็สามารถทําไดงายและถูกตองแมนยํา

ทฤษฎเีกีย่วกบัความสามารถดานความจํา ในทางจติวทิยา ไดมีการกลาวถึงทฤษฎีเกี่ยวกบัการจําและการลืมไวหลายทฤษฎี แตท่ีสําคัญสรุปไดมี 4 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีความจําสองกระบวนการ (Two – Process Theory of Memory) ทฤษฎีนี้สรางขึน้โดยแอตคินสัน และซิฟฟริน (Atkinson and Shiffrin) ในป ค.ศ. 1968 กลาวถึงความจําระยะส้ันหรือความจาํทันทีทันใดและความจาํระยะยาววา ความจาํระยะส้ันเปนความจาํช่ัวคราว ส่ิงใดกต็ามถาอยูในความจาํระยะส้ันจะตองไดรบัการทบทวนอยูตลอดเวลา มิฉะนั้นความจาํส่ิงนัน้จะสลายตัวไปอยางรวดเรว็ ในการทบทวนนั้นเราจะไมสามารถทบทวนทุกส่ิงท่ีเขามาอยูในระบบความจาํระยะส้ัน ดังนั้นจํานวนท่ีเราจําไดในความจาํระยะส้ันจึงมีจํากัด การทบทวนปองกนัไมใหความจาํสลายตัวไปจากความจําระยะส้ัน และถาส่ิงใดอยูในความจําระยะส้ันเปนระยะเวลายิ่งนาน ส่ิงนัน้ก็มีโอกาสฝงตัวในความจําระยะยาว ถาเราจําส่ิงใดไวในความจําระยะยาวส่ิงนั้นก็จะติดอยูในความทรงจําตลอดไป (ชัยพร วิชชาวุธ. 2520 : 71)

Page 19: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

19

ทฤษฎีการสลายตัว (Decay Theory) เปนทฤษฎีการลืม กลาววา การลืมเกดิขึน้เพราะการละเลยในการทบทวนหรือไมนําส่ิงท่ีจะจําไวออกมาใชเปนประจํา การละเลยจะทําใหความจําคอย ๆ สลายตัวไปเองในท่ีสุด ทฤษฎีการสลายตัวนีน้าจะเปนจรงิในความจาํระยะส้ัน เพราะในความจาํระยะส้ันหากเรามิไดจดจอหรือสนใจทบทวนในส่ิงท่ีตองการจะจําเพียงช่ัวครู ส่ิงนั้นจะหายไปจากความทรงจาํทันที (Adams, 1967 : 23 - 25) ทฤษฎีการรบกวน (Interference Theory) เปนทฤษฎีเกี่ยวกับการลืมท่ียอมรับกัน ในปจจุบันทฤษฎีหนึ่ง ทฤษฎีนีข้ัดแยงกับทฤษฎีการสลายตัว โดยกลาววาเวลาเพียงอยางเดียว ไมสามารถทําใหเกิดการลืมได แตส่ิงท่ีเกิดในชวงดังกลาวจะเปนส่ิงคอยรบกวนส่ิงอ่ืน ๆ ในการจํา การรบกวนนี้แยกออกเปน 2 แบบ คือ การตามรบกวน (Proactive Interference) หรือการรบกวนตามเวลา หมายถึง ส่ิงเกา ๆ ท่ีเคยประสบมาแลวหรือจําไดอยูแลวมารบกวนส่ิงท่ีจะจําใหม ทําใหจําส่ิงเราใหมไมคอยได อีกแบบของการรบกวนกค็ือ การยอนรบกวน (Retroactive Interference) หรือการรบกวนยอนเวลา หมายถึง การพยายามจาํส่ิงใหม ทําใหลืมส่ิงเกาท่ีจําไดมากอน (Adams, 1980 : 299 – 307) จึงกลาวไดวา ทฤษฎีการลืมนี้เกดิขึ้นโดยความรูใหมไปรบกวนความรูเกา ทําใหลืมความรูเกาและความรูเกาก็สามารถไปรบกวนความรูใหมไดดวย ทฤษฎีการจดักระบวนการตามระดบัความลึก (Depth – of – Processing Theory) ทฤษฎีนี้สรางขึ้นโดย เครก และลอกฮารท (Cralk and Lockhart) ในป 1972 ซ่ึงขัดแยงกับความคิดของ แอตคินสัน และซฟฟริน ท่ีกลาววาความจํามีโครงสรางและตัวแปรสําคญัของความจําในความจําระยะยาวก็คือ ความยาวนานของเวลาท่ีทบทวนส่ิงท่ีจะจําในความจําระยะส้ัน แตเครก และลอกฮารท มีความคดิวา ความจาํไมมีโครงสรางและความจาํท่ีเพ่ิมขึ้นไมไดเกิดขึ้นเพราะมีเวลาทบทวนในความจําระยะส้ันนาน แตเกิดขึ้นเพราะความซับซอนของการเขารหัสท่ีซับซอน หรือการโยงความสัมพันธของส่ิงท่ีตองการจํา ยอมอาศัยเวลา แตเวลาดังกลาวไมใชเพ่ือการทบทวน แตเพ่ือการระลึกหรือซับซอนของการกระทํากับสารท่ีเขาไป (การเขารหัส) ถายิ่งลึก (ซับซอน) ก็จะยิ่งจํา ไดมาก นัน่คือ ตองใชเวลามากดวย (ไสว เล่ียมแกว, 2528 : 20 - 23) ในดานเชาวนปญญาและความถนดันั้น ทฤษฎีความถนดัดานความจาํยังไมมีผูใดกลาวไวโดยตรง แตจะรวมอยูเปนองคประกอบหนึ่งในทฤษฎีตาง ๆ เชน 1. ทฤษฎีหลายองคประกอบ (Multiple Factor Theory) ของเทอรสโตน ซ่ึงวเิคราะห องคประกอบในป 1958 พบวา ความสามารถปฐมภูมิของสมอง (Primary Mental Ability) ของมนุษยท่ีเห็นและสําคัญมีอยู 7 ประการ คือ องคประกอบดานภาษา (Verbal Factor) องคประกอบดานความคลองแคลวในการใชคํา (Word Fluency Factor) องคประกอบดานจํานวน (Number Factor) องคประกอบดานการรับรู (Perception Factor) และองคประกอบดานเหตุผล (Relation Factor) สําหรับองคประกอบดานความจํานั้นเปนความสามารถดานความทรงจําเรื่องราว และมีสติระลึกรูจนสามารถถายทอดได (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2527 : 29 – 30)

Page 20: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

20

2. โครงสรางทางสมอง (The Structure of Intellect Theory) ของกิลฟอรด (Guilford) เสนอวา โครงสรางทางสมองมองไดในลักษณะ 3 มิติ ผลของการคดิ หมายถึง ผลของกระบวนการจัดกระทําของความคิดกับขอมูลจากเนื้อหา นับองคประกอบรวมกันได 120 องคประกอบ (Guilford, 1971 : 61 – 63) ตอมาไดพบวาในสวนของภาพ (Figural) แบงเปนส่ิงท่ีมองเห็น (Visual) และส่ิงท่ีไดยิน (Auditory) สวนท่ีเปนความจํา (Memory) นั้น แบงออกเปนการบันทึกความจํา (Memory Recording) และการเก็บรกัษาความจาํ (Memory Retention) นับองคประกอบรวมขึ้นเปน 180 องคประกอบ (Guilford, 1988 : 1 - 4) 3. ทฤษฎีความสามารถทางสมองสองระดับ (Two – Level Theory of Mental Ability) กลาววา ความสามารถทางสมองมีอยู 2 ระดับ ระดับท่ี 1 (Level 1) เปนความสามารถดานการเรียนรูและจําอยางนกแกว นัน่คือ เปนความสามารถท่ีจะส่ังสมหรือสะสมขอมูลไวไดและพรอมท่ีจะระลึกออกได ระดับนี้ไมไดรวมการแปลงรูปหรือการกระทําทางสมองแตประการใด เปนวิธีการท่ีไมใชความคิดเลย ระดับท่ี 2 (Level 2) เปนระดับท่ีสมองสรางมโนภาพ เหตุผล และแกปญหา (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2527 : 34) ระบบของความจํา นักจติวทิยาทฤษฎีกระบวนการประมวลขอมูลขาวสาร (Information Processing) ไดจําแนกความจาํออกเปน 3 ระบบ คือ ระบบการจําความรูสึกสัมผัส (Sensory Memory) ระบบความจําระยะส้ัน (Short – Term Memory) และระบบความจําระยะยาว (Long – Term Memory) ซ่ึงมีกระบวนการทํางานดังแผนภาพตอไปนี้ (วรรณ,ี 2541 : 94)

ภาพท่ี 1 ระบบความจําของมนุษย ท่ีมา : Dworetzky (1991 อางถึงใน วรรณ,ี 2541 : 95)

ควมจําจากความรูสึกสัมผัส

ความจําระยะสัน้

ความจําระยะยาว

ความใสใจ (การเขารหัส)

(การถอดรหัส) (การเก็บรหัส)

ทองจํา

ลืม

ลืม

ขอมูล

Page 21: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

21

1. ระบบการจําความรูสึกสัมผัส (Sensory Memory) หมายถึง ขอมูลท่ีไดรับเขามา หลังจากความรูสึกสัมผัส และการเสนอส่ิงเราไดส้ินสุดลง (Ormrod, 2000 : 230) เชน จําไดวาเม่ือสักครูนี้ไดกอดนองดวยความคิดถึง ปรากฏวาขณะนี้ยังมีความรูสึกจาํไดวาตัวนองนิ่มมาก หรือการฉายภาพยนตรใหดูเพียงแวบหนึ่งแลวภาพนั้นปรากฏตดิตาอยู 2. ระบบความจําระยะส้ัน (Short – Term Memory - STM) ซ่ึงมีความสําคัญตอการเรียนมาก สุรางค โควตระกลู (2544 : 222) ไดอธิบายวา เพราะความจําระยะส้ันเปนความจําหลังการ รับรูส่ิงเราท่ีไดรับการตีความจนเกิดการรับรูมาเก็บไวท่ีสมอง แลวจะอยูในความจําระยะส้ัน แตเปนการเก็บไวช่ัวคราว เปนความจาํท่ีคงอยูในระยะเวลาส้ัน ๆ หรือจําไวเพียงช่ัวขณะแลวกลื็มไป เชน กอนท่ีจะหมุนโทรศัพทก็เปดสมุดโทรศัพทดูหมายเลขท่ีตองการแลวทบทวนหมายเลขท่ีตองการนี้จนจําได และนํามาใชหมุนโทรศัพท เม่ือโทรศัพทเสร็จเรียบรอยแลวเวลาผานไประยะหนึ่ง ปรากฏวาไมอาจจําหมายเลขโทรศัพทได 3. ระบบความจําระยะยาว (Long – Term Memory - LTM) เปนความจําท่ีมีความคงทนถาวรกวาระบบความจําระยะส้ัน ถาผูเรียนใสใจหรือตั้งใจจะเรียนรูส่ิงเรานั้น ส่ิงเรานั้นก็จะผานเขามาในระบบความจาํระยะส้ัน และจะยังคงอยูในระบบความจาํระยะส้ันอยู ถาตองการท่ีจะเก็บขอมูลท่ีรับเขามาไวใชภายหลังอีก ขอมูลนัน้จะตองประมวลและเปล่ียนรูปจากความจาํระยะส้ันไปใชในความจําระยะยาว กระบวนการนี้คือ การเขารหัส ซ่ึงกระทําไดโดยการทองหรือการกระทํา พฤติกรรมนัน้ซํ้า ๆ (ธัญญะ และคณะ, 2534 : 191) วิธีวัดความจํา กมลรัตน หลาสุวงษ (2528 : 251 – 257) ไดกลาวถึงวธีิการทดสอบความสามารถทางดานความจาํของบุคคลวามีวิธีการทดสอบซ่ึงนิยมใชกันมาก คอื 1. การจําได (Recognition) หมายถึงการถายทอดความจาํออกมาโดยการช้ีส่ิงนัน้ได ถูกตองเม่ือมีส่ิงเราอ่ืน ๆ ปะปนอยูดวย เปนการทดสอบความจําโดยปรากฏส่ิงท่ีเคยเห็นมาแลวในอดีตปะปนกับส่ิงเราใหมๆ แลวช้ีวาส่ิงเราใดเปนส่ิงเราเดมิไดถูกตอง ส่ิงเราอาจเปนของจรงิ รูปภาพ คํา ท้ังท่ีมีความหมายและไมมีความหมาย วิธีการทดสอบท่ีนิยมใชมี 2 วิธี คือ 1.1 แบบจําสอบ (Study – Test Method) เปนการสนองส่ิงเราชุดหนึ่งอาจเปนคํา โดยฉายใหดู หรืออานใหฟง คําละ 4 – 5 วินาที แลวใหกจิกรรมอ่ืนประมาณ 30 นาที ตอจากนัน้เสนอส่ิงเราท่ีเปนคําปะปนกบัคําใหม ดวยวิธีเดยีวกันกบัท่ีเสนอในครั้งแรกแลวใหผูทดสอบตอบวาคําใดเปนคําเกา 1.2 แบบจําตอเนื่อง (Continuous Recognition Test) เปนการเสนอส่ิงเราเกาและ ส่ิงเราใหมปะปนกนั โดยการเสนอแตละครัง้ใหผูสอบตอบวาส่ิงเราท่ีเสนอไปนั้นเปนส่ิงเราเกาหรือส่ิงเราใหม

Page 22: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

22

2. การระลึกได (Recall) หมายถึงการถายทอดความจําออกมาโดยเลาบรรยายหรืออธิบายส่ิงท่ีเคยจําไดนัน้ออกมาไดถูกตอง โดยมิตองมีส่ิงนั้นมาปรากฏใหเห็น วิธีทดสอบมี 3 วิธี คือ 2.1 การระลึกเสรี (Free Recall) เปนการระลึกถึงส่ิงเราใด ๆ ท่ีใหจํากอนหรือหลังไดโดยไมตองเรียงลําดับ 2.2 การระลึกตามลําดับ (Serial Recall) เปนการระลึกส่ิงเราตามลําดับท่ีซ่ึงอาจจะระลึกตามลําดับจากหนาไปหลัง หรือระลึกตามลําดับยอนหลัง 2.3 การระลึกตามตวัแนะ (Cued Recall) เปนการระลึกถึงส่ิงเราท่ีกําหนดเปนคู ๆ หรือคูสัมพันธโดยแตละคูของส่ิงเราตัวแรกเรียกวา ตวัแนะหรอืตัวเรา ตัวท่ีสองเรียกวา ตวัสนอง เม่ือทดสอบจะเสนอตัวแนะแลวใหผูสอบระลึกถึงตวัสนองออกมา การทดสอบแบบนี้ยังแบงออกเปน 3 วิธี คือ แบบคาดคําตอบ แบบจําสอบ และแบบตอเนื่อง 3. การเรียนซํ้า (Relearning) หมายถึง การทําซํ้า ๆ หรือเสนอส่ิงเราซํ้า ๆ ในการเรียนรู ซ่ึงเปนการจําในส่ิงท่ีเคยรับรูหรือเคยเรียนรูมากอนแตบัดนี้ลืมไปแลว เม่ือกลับมาเรียนใหม ปรากฏวาเรียนไดรวดเรว็กวาหรือจําไดเร็วกวาในอดตี เชน เคยทองสูตรคณู 12 ´ 1 ถึง 12 ´ 12 ได แตบัดนี้ลืมแลว ก็เริ่มทองใหมปรากฏใชเวลาในการทองนอยลง เทคนิคชวยพัฒนาความจํา เทคนิคชวยพัฒนาความจาํท่ีไดผลดีอาจเปนไดท้ังในรูปภาพหรอืเสียง ซ่ึงมีอยูหลายวิธี ซ่ึงเปนกระบวนการท่ีสําคัญและงายตอการระลึก (Richard และคณะ, 2001 : 267) โดยมากมักจะใหความสนใจในคณุสมบัติของส่ิงท่ีจําดังท่ี Searleman และ Herrmann (1994 : 352) ไดจําแนกประเภทของเทคนคิชวยพัฒนาความจาํตามทักษะท่ีตองใชวาสามารถแบงได 2 ชนิด คือ เทคนิคชวยจําอยางงาย (Native Mnemonics) และเทคนิคชวยจําท่ีตองอาศัยหลักการ (Technical Mnemonics)

เทคนิคชวยจําอยางงาย (Native Mnemonics) Searleman และ Hermann (1994 : 352) ไดกลาวถึงเทคนคิชวยจําอยางงาย สรุปไดวาเปนเทคนคิชวยจําท่ีทําใหมนุษยสามารถเรยีนรูไดจากการเรียนรูโครงสรางของส่ิงท่ีตองจํา ตัวอยางเชน การนึกทบทวนซํ้า เชน ทองเบอรโทรศัพท ซํ้า ๆ เพ่ือใหจําได เปนการชวยเก็บรกัษาขอมูลไมใหหายไปจากความจาํระยะส้ัน การใชคํา คลองจอง (Rhymes) การจัดกลุม (Chunking) การสรางภาพ เพ่ือเช่ือมโยงส่ิงท่ีจะจําใหสามารถ นึกไดวาตอไปจะทําอะไร เชน ถาตองการจําวาตองไปซ้ือเส้ือและซ้ือแผนดิสกก็อาจสรางภาพวาใสแผนดิสกไวในกระเปาเส้ือ เปนตน เทคนิคอักษรตัวแรกเพ่ือพัฒนาความจํา (FIRST – Letter Mnemonic) ซ่ึงแบงไดเปน 2 ชนิด ใหญ คือ Acronyms และ Acrostics โดย Acronyms เปนการสรางคําเพ่ือชวยจาํอักษรตวัแรกของส่ิงท่ีจําเปนมาเปนคาํใหมท่ีมีความหมายโดย สุรางค โควตระกลู (2544 : 254) ไดยกตัวอยางไว เชน คําวา HOMES ซ่ึงใชชวยจําช่ือของ Great Lakes อัน

Page 23: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

23

ประกอบดวยทะเลสาป Huron, Ontario, Michigan, Erie และ Superior ตามลําดับ สวน Acrostic เปนชุดคําหรือประโยคท่ีอักษรตวัแรกของแตละคําชวยเตือนใหนกึถึงส่ิงท่ีจะจํา โดยวรรณี ลิมอักษร (2541 : 108) ไดยกตัวอยางไว เชน ในการจดัลําดับสีของแสงหรือสีรุงอาจจาํเปน “หมวย คน นัน้ แขน เรียว สวย ดี” ซ่ึงหมายถึง มวง คราม น้ําเงิน เขยีว เหลือง แสด และแดง เปนตน เทคนิคชวยจําแบบอาศัยหลักการ (Technical Mnemonics) Searleman และ Herrmann (1994:356) กลาววาเทคนิคชวยจําแบบอาศัยหลักการเปนเทคนิคท่ีตองอาศัยการเขารหัส (Encoding Schema) ในการถายทอดขอมูลท่ีจะเรียนใหอยูในอีกรูปหนึ่ง เชน เทคนิคคําเข็มหมุด (Peg – Word) ซ่ึงใชในการเรียนชุดคําท่ีลําดับของส่ิงนั้นมีความสําคัญ อาจทําไดโดยสรางคําท่ีมีเสียงคลองจองจาก 1 ถึง 10 ใหสอดคลองกับส่ิงท่ีจะจํา และเปนส่ิงท่ีนึกภาพไดงาย ตลอดจนสามารถโยงความหมายได ดังท่ี สุรางค โควตระกูล (2544 : 254) ไดยกตัวอยางไว เชน One-Bun Two-Shoe, Three-Tree, Four-Door, Five-Hive, Six-Sticks, Seven-Heaven, Eight-Gate, Nine-Line, Ten-Hen หรือวิธีของโลไซ (Method of Loci) ซ่ึงใชวิธีการจินตนาการใหส่ิงท่ีตองการจําอยูในสถานท่ีท่ีคุนเคย จากนั้นจึงเริ่มตนจากจุดแรกไปยังจุดท่ีมีของท่ีตองการจําวางอยูตามลําดับ นอกจากนี้ยังมีวิธี Link และ Story Muemonic นั้นคลายกับ Link System แตอาศัยประโยคในการสรางเรื่องแทนการจินตภาพ ส่ิงสําคัญของการเรียนรูดวยเทคนิคการชวยจําคือ การเช่ือมโยงส่ิงท่ีตองการจํากับตัวแนะ (Cognitive Cuing Structure) หนึ่งส่ิงหรือมากกวา ซ่ึงโดยท่ัวไปแลวตวัชวยแนะอาจเปนไดท้ังภาพหรือคําท่ีเปนประโยคหรือกลอน

งานวิจัยที่เกี่ยวของ งานวิจัยในประเทศ สถาพร ทัพพกุล (2516 : 20 – 36) ไดสรางแบบทดสอบความจําสัญลักษณชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 26 ขอ และเติมคํา 10 ขอ เพ่ือใชในการศึกษาความสัมพันธ โดยใหเวลาในการจําส่ิงเรา 30 วินาที และเวลาในการตอบ 12 นาที จะไดคาความเช่ือม่ันเทากับ .8547 และมีความสัมพันธกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรช้ันประถมศึกษาปท่ี 7 สุทธิพงษ สุขะจิระ (2522 : 70-77) ไดสรางแบบทดสอบความจําภาพไรความหมายสําหรับนักเรียน 3 ระดับ เพ่ือใชในการศึกษาความสัมพันธ พบวา ระดับประถมศึกษาปท่ี 7 สรางแบบทดสอบความจําโดยใหเวลาจําส่ิงเรา 24 คู 5 นาที และใหเวลา 10 นาที สําหรับการตอบคําถาม 20 ขอ ไดคาความเช่ือม่ัน .8108 ระดับมัธยมศึกษาปท่ี 2 สรางแบบทดสอบความจําโดยใหเวลาจําส่ิงเรา 32 คู 5 นาที และใหเวลา 10 นาที สําหรับการตอบคําถาม 30 ขอ ไดคาความเช่ือม่ัน .8916

Page 24: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

24

ระดับอุดมศึกษา สรางแบบทดสอบความจําโดยใชเวลาจําส่ิงเรา 32 คู 5 นาที และใหเวลา 8 นาที สําหรับการตอบคําถาม 20 ขอ ไดคาความเช่ือม่ัน .9150 สุวพร เซ็มเฮง (2522 : 69) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางความถนดัทางการเรยีนกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนธุรกิจศึษาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 พบวาแบบทดสอบความจําสัญลักษณสามารถเปนพยากรณท่ีดีสําหรับวชิาธุรกิจศึกษา อรุณ ี เพชรเจริญ (2522 : 82) ไดสรางแบบทดสอบวัดความจําสัญลักษณอิสระชนดิเลือกตอบ 5 ตัวเลือก เพ่ือใชในการศึกษาตวัพยากรณท่ีสงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 โดยใหเวลาจําส่ิงเรา 46 คู 3 นาที และใหเวลา 10 นาทีในการตอบคําถาม 40 ขอ พบวาความสามารถดานความจาํเปนตวัพยากรณท่ีดีในวิชาเคมี กูเกียรติ เอ่ียวเจริญ (2528 : 91) ไดใชแบบทดสอบความจําเกี่ยวกับสัญลักษณและภาพ เพ่ือใชในการศึกษาตวัพยากรณท่ีสงผลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนพลศึกษา พบวาความสามารถในการจาํเปนคาพยากรณท่ีดีอีกดวย ราตร ี พุทธทอง (2543 : บทคัดยอ) ศึกษาความสัมพันธระหวางความสามารถดานความจํากับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โดยใชแบบทดสอบความสามารถดานความจํา 5 แบบ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3 วิชา เปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก มีคาความเช่ือม่ันตั้งแต .7106 ถึง .969 ผลการวิจัยความสามารถดานความจํา 5 แบบ กับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3 วิชามีความสัมพันธกันในทางบวก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 งานวิจัยตางประเทศ Smith (1966 : 1671) ไดศึกษาองคประกอบท่ีสงผลตอผลการเรียนวิชาเคมี พบวามี องคประกอบดานความจาํรวมอยูดวย และไดมีผูวจิยัหลายทานไดแสดงใหเห็นวารูปภาพและคําเปนส่ิงเราท่ีทําใหการเรียนรูแตกตางกัน เชน เฮอรแมนและคนอ่ืน (ปณยา แพรเจริญวฒันา, 2541 : 27, อางจาก Herman and others, 1951) ไดทําการศึกษาพบวา รูปภาพชวยใหเรียนรูไดเร็วกวาคํา ลัมสเดน (ปณยา แพรเจริญวัฒนา, 2541 : 27, อางจาก Lumsdaine,1949) พบวาเม่ือใชรูปภาพเปนส่ิงเราในคูสัมพันธจะเรยีนรูไดเรว็กวาเม่ือใชคําเปนส่ิงเรา และดูชารป และฟราอิสส (อุษา วีระสัย, 2533 : 26, Duharm and Fraisse, 1965) ไดสรางแบบทดสอบระลึกคําและรูปภาพ พบวาเดก็มี แนวโนมท่ีจะระลึกคาํไดมากกวารูปภาพ แตสําหรับผูใหญจะระลึกรปูภาพไดมากกวาคาํ อินเกอรซอลล และปเตอร (Ingersoll and Peter, 1966 : 931 – 937) ไดใชแบบทดสอบ GATB สําหรับการแนะแนวทางดานการเรียนในรัฐไอโอวา พบวาความสามารถดานความจํากับความสามารถทางดานการเรียนวิทยาศาสตรท่ัวไปมีคาสหสัมพันธเทากับ .636

Page 25: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

25

คินส (Kintsch, 1969 : 1) ไดศึกษาสถานการณเรียนรูแบบตาง ๆ พบวา การเรียนรูส่ิงท่ี คูกันโดยเฉพาะการเรยีนรูภาษานัน้ผูเรยีนแบบคูสัมพันธ (Paired Associate) วิธีการเรียนแบบคูสัมพันธคือ ส่ิงเปนสัญลักษณทางภาษาสองอันนํามาคูกัน เพ่ือใชทดลองเกี่ยวกับการเรยีนและการจําวาอันไหนคูกับอันไหน สัญลักษณอันแรกเรียกวาส่ิงเรา อันท่ีสองเรียกวา การตอบสนอง แซมมูลส (Samuels, 1969 : 97 – 101) ไดศึกษาผลของคําสัมพันธในการจํา Flashed Words พบวาการจําคําคูท่ีมีความสัมพันธกันจําไดดกีวาคาํคูท่ีไมมีความสัมพันธกัน จี มารวิล และดีอาร ธมิทท (G. Marwil and D.R. Schmitt 1972 : 376 - 383) ไดทําการทดลองเปรียบเทียบการรวมมือกันในเกมท่ีใชผูเลน 2 คน กบัเกมท่ีใชผูเลน 3 คน โดยตั้งสมมติฐานวากลุมท่ีมีผูเลน 2 คน จะมีการรวมมือกันมากกวากลุมท่ีมีผูเลน 3 คน กลุมตวัอยางซ่ึงนํามาทดลองเปนนิสิตชาย จํานวน 60 คน แยกเปน 2 กลุมใหญ กลุมหนึ่งเปนกลุม 2 คน ได 12 กลุมยอย และอีกกลุมหนึ่งเปน 3 คน ได 12 กลุมยอยเชนกัน แลวใหตวัอยางประชากรเหลานั้นเลนเกม โดยแตละกลุมเลน 150 ครั้ง แตแบงเปนตอน ๆ ผลปรากฏวากลุมท่ีมีผูเลนแบบ 2 คน มีพฤตกิรรมรวมมือในแตละคนไมแตกตางกนั และยังพบอีกวา พฤติกรรมการรวมมือในแตละบุคคลของกลุมท่ีมีผูเลน 3 คน จะมีอยูคนหนึ่งท่ีไมคอยใหความรวมมือ ในขณะท่ีอีก 2 คนรวมมือกนัด ี จากเอกสารและงานวจิยัท่ีเกี่ยวของดังกลาวท้ังหมด จะเห็นไดวาการนําเทคนคิการสอนแบบตาง ๆ มาใชเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนจะเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหมีประสิทธิภาพ สูงขึ้น จากการศึกษารูปแบบการเรียนแบบรวมมือท่ีใชกจิกรรมเปนคู โดยใชเทคนคิการสอนพูดแบบตาง ๆ ท่ีพัฒนาโดยเคเกน ผูวิจัยจึงเลือกใชเทคนิคการสอนพูดเปนคู (Time – Pair – Share) เพ่ือแกปญหาและสงเสริมการจําสัญลักษณธาตุของนกัศึกษาช้ัน ปวช. 1 วิทยาลัยเทคนคิยะลา

Page 26: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

26

กรอบแนวคิดในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

ผลของการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) ท่ีมีตอการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน

ของนักศึกษาช้ัน ปวช.1 แผนกชางอิเล็กทรอนกิส วิทยาลัยเทคนิคยะลา

แนวคิดทฤษฎี - รูปแบบการเรียนการสอน - หลักสูตรวทิยาศาสตรพ้ืนฐานและการเขยีนสัญลักษณธาต ุ- การจําและ ทฤษฎีเกี่ยวกับความจํา - งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ตัวแปรตน เทคนิคการพูดเปนคู

แนวการจัดประสบการณ กระบวนการสอนแบบ เทคนิคการพูดเปนคู

เคร่ืองมือ แผนการสอนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ จํานวน 1แผน แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ จํานวน 20 ขอ

ตัวแปรตาม การจําสัญลักษณธาต ุ

นักศึกษาเขยีนสัญลักษณธาตุไดถูกตองโดยไมตองดู

แบบอยาง

แบบแผนการทดลอง One – Group

Pretest – Postest Design

Page 27: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

27

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพ่ือศึกษาผลของการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด ( Time- pair- share) ท่ีมีตอการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานของนักศึกษาช้ัน ปวช. 1 แผนกอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคยะลา ผูวิจัยจึงกําหนดวิธีดําเนินการวิจัยท่ีเกี่ยวของไดแกกลุมตัวอยาง เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย วิธีเก็บรวมรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลโดยจะแยกกลาวตามลําดับ ดังนี ้ กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษาช้ัน ปวช.1/7,1/8 ชางอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยเทคนิคยะลา จังหวัดยะลา จํานวน 18 คน วิธีดําเนินการเลือกกลุมตัวอยางมี ดังนี้ 1. วิธีเลือกกลุมตัวอยาง ผูวิจัยเลือกลุมตัวอยางดวยวิธีเลือกกลุมตัวอยางแบบเฉาะจง (Purposive Sampling) เปนนักเรียนระดับ ปวช1/7,1/8 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยเทคนคิยะลา สังกัดคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดยะลา จํานวน 18 คน คือนักศึกษาท่ีไมผานเกณฑการประเมินการจําสัญลักษณธาตุ จากนักศึกษาท้ังหมด 34 คน ใหเปนกลุมทดลองเพียง 1 กลุม ดังรายละเอียดตาราง 1 ตาราง 1 การจัดกลุมตัวอยางและจํานวนนกัศึกษา

กลุมตัวอยาง จํานวน (คน) กลุมทดลอง 18

Page 28: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

28

แบบแผนการวิจัย แบบแผนการทดลอง แบบแผนการทดลองท่ีใชในการวจิยัครั้งนี้ คือแบบ One - Group Pretest -Posttest Design ซ่ึงมีลักษณะตาราง 2 ตาราง 2 แบบแผนการทดลอง แบบ One - Group Pretest -Posttest Design

การทดสอบกอนทดลอง Treatment การทดสอบหลังการทดลอง O1 X O2

ท่ีมา : Sax , 1979 : 153 เม่ือ X หมายถึง การสอนโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-pair-share) O1 หมายถึง ทดสอบกอนการทดลอง O2 หมายถึง ทดสอบหลังการทดลอง เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยในครั้งนี ้ประกอบดวยดังตัวอยางตอไปนี ้ ชนิดท่ี 1 แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ เปนแบบทดสอบแบบปรนัย ซ่ึงผูวิจัยสรางขึ้นเอง มีขั้นตอนในการสรางตามลําดับดังนี ้ 1. ศึกษาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000-1401) ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) หมวดวิชาสามัญ กลุมวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ 2. สรางแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ จํานวน 20 ขอ โดยอาศัยตารางวิเคราะหหลักสูตรในขอบเขตเนื้อหาหนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ 3. นําแบบทดสอบท่ีสรางขึ้นไปใหผูทรงคุณวุฒิทางดานการวัดผลประเมินผลการศึกษา และมีความรูทางวิทยาศาสตรสาขาวิชาเคมี และการใชเทคนิคการสอน จํานวน 3 คน ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาและภาษา และใหขอเสนอแนะ 4. ปรับปรุงและแกไขแบบทดสอบ ตามขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิทางดานการวัดผลประเมินผลทางการศึกษา ผูมีความรูทางวิชาเคมี และผูมีความรูทางภาษา 5. นําแบบทดสอบไปทดลองใชกับนักเรียนท่ีไมใชกลุมตัวอยาง เพ่ือหาขอบกพรองและปรับปรุงแบบทดสอบ คือ นักเรียนช้ัน ปวช.1/5, 1/6 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยเทคนิคยะลา จํานวน 36 คน

Page 29: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

29

6. นําผลการทดสอบมาวิเคราะหหาคาความยาก (Difficulty) และคาอํานาจจําแนกของขอสอบ (Discrimination) เม่ือไดคาความยากและคาอํานาจของขอสอบแตละขอแลว จากนั้นจึงคิดเลือกเฉพาะขอสอบท่ีมีความยากระหวาง .02-.80 และคาอํานาจจําแนกตั้งแต .20 ขึ้นไป จํานวน 20 ขอ โดยคํานึงถึงความครอบคลุมเนื้อหาท่ีตองการวัด 7. นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิซ่ึงหาคุณภาพรายขอและปรับปรุงแลวไปทดสอบกับนักเรียนท่ีไมใชกลุมทดลองจากขอ 6 ขางตน ซ่ึงนําผลการทดสอบคํานวณหาคาความเช่ือม่ัน (Reliability) ของแบบทดสอบ โดยใชสูตรสัมประสิทธ์ิอัลฟาของครอนบาค 8. นําแบบทดสอบมาปรับปรุงแลวจัดพิมพ และทําแบบทดสอบไปเก็บขอมูล

ชนิด ท่ี 2 แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร พ้ืนฐาน ( 2000-1401) ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) ผูวิจัยไดดําเนินการจัดทําแผนการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุตามขั้นตอนดังตอไปนี ้ 1. ศึกษาวิธีการเขียนแผนการสอนตามแนวทางของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) และคูมือครูวิชาวิทยาศาสตร ช้ัน ปวช. 1 2. เขียนแผนการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ จํานวน 1 แผน ใชเวลาสอน 2 ช่ัวโมง 3. นําแผนการสอนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุไปใหผูเช่ียวชาญ จํานวน 3 คน ชวยพิจารณาตรวจและใหขอเสนอแนะเพ่ือแกไข 4. นําแผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ไปทดลองใชกับนักเรียนระดับ ปวช.1 ท่ีไมใชกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนระดับ ปวช.1/5,1/6 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส ปการศึกษา 2548 วิทยาลัยเทคนิคยะลา จังหวัดยะลา จํานวน 38 คน 5. นําแผนการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาต ุมาปรับปรุง แกไขใหสมบูรณตอไป 6. นําแผนการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ไปดําเนินการสอนเพ่ือเก็บขอมูลสําหรับการวิจัย

ชนิดท่ี 3 เทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-pair-share) ท่ีใชประกอบเรือ่งธาตุและสัญลักษณธาตุ โดยนํามาใชกับกลุมตัวอยางท่ีไมผานการประเมินการจําสัญลักษณธาต ุโดยใชเวลาเรียนในการเรียนการสอนควบคูกับกฎหรือขอตกลงของการเรียนแบบรวมมือ มีความรับผิดชอบ เพ่ิมสัมพันธภาพ การควบคุมตัวเอง การมีสวนรวมของผูเรียน ปฏิบัติตามใบงาน มีทักษะการส่ือสาร ทําใหเรียนรูและเขาใจและประสบผลสําเร็จจากการจัดกลุมเปนคูๆ

Page 30: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

30

ชนิดท่ี 4 เปนตารางเวลาสําหรับดาํเนินการสอนกลุมตัวอยางท่ีเปนกลุมทดลองดังตาราง 3 ตาราง 3 ตารางเวลาสําหรับดําเนินการทดลอง

ลําดับท่ี วัน เดือน ป เวลา หมายเหตุ 1 22 พ.ย. 2549 13.15-13.35 น. A1 2 25 พ.ย. 2549 10.15-11.15 น. B 3 29 พ.ย. 2549 13.15-14.15 น. B 4 1 ธ.ค. 2549 10.15-10.35 น. A2

หมายเหตุ A1 หมายถึง ทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตกุอนการทดลอง A2 หมายถึง ทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุหลังการทดลอง B หมายถึง ดําเนินการสอนโดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) กับกลุมทดลอง วิธีการเกบ็รวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดังตอไปนี ้ 1. ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยดวยตนเอง โดยการสอนตามกระบวนการในแผนการสอนกับนักเรียนกลุมตัวอยาง ครบ 2 ครั้งๆ ละ 1 ช่ัวโมง ผูวิจัยทําการทดสอบกอนและหลังการทดลองดวยแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ใชเวลาทดสอบครั้งละ 20 นาที บันทึกเปรียบเทียบคะแนนท่ีได 2. การวิเคราะหขอมูล ตรวจใหคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิจากการจําสัญลักษณธาตุมาหาคาสถิติ เปรียบเทียบคะแนนระหวางกอนและหลังการทดลอง โดยใชการทดสอบคาที (t-test) ระหวางคาเฉล่ีย 2 คา คือ กอนและหลังการทดลอง โดยมีกลุมตัวอยางเพียงหนึ่งกลุมเก็บขอมูล 2 ครั้ง (test-retest) โดยใชเครื่องมือแบบทดสอบชุดเดิมเปนแบบทดสอบ โดยเครื่องมือนี้ใหใชสูตรแบบไมอิสระตอกัน (Dependent or Correlated Samples) 3. นําผลการวิเคราะหมาสรุปและอภิปรายผล วิธีดําเนินการทดลอง ผูวิจยัดําเนนิการทดลองตามลําดับดงันี ้1. ขั้นเตรียมการทดลอง 1.1 เตรียมเครื่องมือท่ีใชในการทดลอง ซ่ึงประกอบดวย แผนการสอนท่ีสอนโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ

Page 31: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

31

1.2 เตรียมหองทดลองเพ่ือใชทดลองกับนักเรียน โดยใชหองเรียน หอง 317 ใหกลุมตัวอยางไดใชวิธีสอนแบบเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) 2. ขั้นการทดลอง ดําเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 ซ่ึงผูวิจัยเปนผูสอนเอง ใชเวลา 2ครั้ง ๆ ละ 1 ช่ัวโมง 2.1 ทดสอบกอนการทดลอง 1 ครั้ง คือทดสอบกอนการทดลองดวยแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ใชเวลาทดสอบ 20 นาที ในวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2549 ใชเวลาระหวาง 13.15-14.15 น. 2.2 ผูวิจัยดําเนินการสอนตามแผนการสอนกับกลุมทดลอง โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) ใชเวลาสอน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 ช่ัวโมง ในวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2549 เวลา 10.15-11.15 น. และวันท่ี 29 พฤศจิกายน 2549 เวลา 13.15-14.15 น. 2.3 ทดสอบหลังการทดลอง 1 ครั้ง คือ ทดสอบหลังการทดลองดวยแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ใชเวลาทดสอบ 20 นาที วนัท่ี 1 ธันวาคม 2549 ใชเวลาระหวาง 10.15-10.35 น. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยแบงการวิเคราะหขอมูลออกเปน 2 ขั้นตอน คือ ขัน้การหาคณุภาพของเครื่องมือ และขั้นวิเคราะหขอมูลจากผลการทดลอง ของแบบทดสอบการจําสัญลักษณธาตุ โดยดําเนินการตามลําดับขั้นตอนดังนี ้1. ขั้นการหาคุณภาพของเครื่องมือท่ีใชในการทดลอง 1.1 สถิติท่ีใชวิเคราะหหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ

1.1.1 หาคาความเท่ียงตรงตามโครงสราง (Construct Validity) ของแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ โดยใชสูตรโรวินเนลลี และแฮมเบิลตัน (Rovinelli and Hambleton , 1978 : 34-37 อางถึงใน พวงรัตน ทวีรัตน , 2540 : 177) สูตร

1OC = NR∑

เม่ือ IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคลองระหวางขอความในขอคําถามกับจุดประสงค เชิงพฤติกรรม ∑ R หมายถึง ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญแตละขอ N หมายถึง จํานวนผูเช่ียวชาญ

Page 32: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

32

1.1.2 หาคาความยาก (Difficulty) คือ คา D ของแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุเปนรายขอ โดยใชสูตรดังนี้ (Marshall and Hales, 1971 : 232) สูตร

D=LU

LU

NNRR

++

เม่ือ D หมายถึง ดัชนีความยาก RU หมายถึง จํานวนผูตอบถูกในกลุมสูง RL หมายถึง จํานวนผูตอบถูกในกลุมต่ํา NU หมายถึง จํานวนผูตอบท้ังหมดในกลุมสูง NL หมายถึง จํานวนผูตอบท้ังหมดในกลุมต่ํา

1.1.3 หาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) คือ คา V ของแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุเปนรายขอตามหลักการตัดกลุมสูงกลุมต่ําแบบ 27% ของมารแชลและเฮลส (Marshall and Hales) โดยใชสูตรดังนี้ (Marshall and Hales, 1971 : 231) สูตร

V= LuU

LU NNN

RR=

−;

เม่ือ V หมายถึง ดัชนีอํานาจจําแนก RU หมายถึง จํานวนผูตอบถูกในกลุมสูง RL หมายถึง จํานวนผูตอบถูกในกลุมต่ํา NU หมายถึง จํานวนผูตอบท้ังหมดในกลุมสูง NL หมายถึง จํานวนผูตอบท้ังหมดในกลุมต่ํา

1.1.4 หาคาความเช่ือม่ัน (Reliability) ของแบบทดสอบของ คูเดอร-ริชารดสัน (Kuder-Richardson) โดยใชสูตร KR. – 21 (ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ ,2536 : 168 – 170) ซ่ึงตองมีคาความเช่ือม่ันไมต่ํากวา .70 สูตร

rtt= })(1{1 2

tnsxnx

nn −

−−

เม่ือ n แทน จํานวนขอมูลของเครื่องมือวัด x แทน คะแนนเฉล่ียของเครื่องมือวัด S 2

t แทน คะแนนความแปรปรวนของเครื่องมือวัด

Page 33: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

33

2. ขั้นวิเคราะหขอมูลจากผลการทดลอง 2.1 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลจากการทดลอง 2.2.1 หาคามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ของคะแนนแบบทดสอบวัดการจาํสัญลักษณธาตุของกลุมตัวอยางกอนและหลังการสอน โดยใชสูตรดังนี้ (Ferguson, 1981 : 49) สูตร

NRX ∑=

เม่ือ X หมายถึง คามัชฌิมเลขคณิต ∑ R หมายถึง ผลรวมของคะแนนท้ังหมด N หมายถึง จํานวนคนในกลุมตัวอยาง 2.1.2 หาคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของคะแนนแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุของกลุมตัวอยางกอนและหลังการสอนโดยใชสูตรดังนี้ (Ferguson, 1981 : 68) สูตร

S.D. = )1(

2)(2

−∑ ∑−

NNN XX

เม่ือ S.D. หมายถึง สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ∑ X ) 2 หมายถึง ผลรวมของคะแนนท้ังหมดยกกําลังสอง ∑ 2X หมายถึง ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง N หมายถึง จํานวนในกลุมตัวอยาง 2.1.3 หาคาความแตกตางของคะแนนจากแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ โดยการทดสอบคาที (t-test) เปรียบเทียบคะแนน Dependent or Correlated Samples ระหวางคาเฉล่ีย 2 คา คือ กอนและหลังการทดลอง โดยมีกลุมตัวอยางเพียงหนึ่งกลุมเก็บขอมูล 2 ครั้ง (Test – retest) โดยใชเครื่องมือชุดเดิม ใหใชสูตรแบบไมอิสระตอกัน (Dependent or Correlated Samples) โดยใชสูตร ดังนี้(Ferguson, 1981 : 180)

Page 34: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

34

สูตร t =

1

2)(2

−∑ ∑−

NN DD

D

เม่ือ t หมายถึง คาการแจกแจงแบบที (t-test) D หมายถึง ความแตกตางของคะแนนแตละคู N หมายถึง จํานวนคูของกลุมตัวอยาง

Page 35: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

35

บทท่ี 4

ผลการวิจัย

การศึกษาวจิยัเรื่อง “ผลของการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-pair-share) ท่ีมีตอการจําสัญลักษณธาต ุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานของนักศึกษาช้ัน ปวช.1 แผนกชางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคยะลา” ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลและการแปลผลการวิเคราะหในการทดลอง เพ่ือเปรียบเทียบการดําเนินการสอนกอนและหลังการสอนโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-pair-share) ประกอบการสอนหนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ตามลําดับดังนี ้

สัญลกัษณทีใ่ชในการวิเคราะหขอมูล เพ่ือความเขาใจท่ีตรงกนัในการอานผลการวิเคราะหขอมูลและการแปลความหมายของการวิเคราะหขอมูล ผูวิจยัไดใหความหมายของสัญลักษณท่ีใชในการนาํเสนอผลดังตอไปนี ้ n แทน จํานวนนกัศึกษาในกลุมตวัอยาง

X แทน คะแนนเฉล่ียท่ีไดจากแบบทดสอบ ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด S.D. แทน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน )(∑ X 2 แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดยกกําลังสอง ∑ 2X แทน ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง t แทน คาการแจกแจงแบบที (t-test) D แทน ความแตกตางของคะแนนแตละคู กลุมทดลอง แทน การดําเนนิการสอนท่ีใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ี กําหนด (Time-Pair-Share) หนวยการเรียนเรื่องธาตุและ สัญลักษณธาต ุ

Page 36: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

36

ผลการวิเคราะหขอมูล 1. การเปรียบเทียบความสามารถในการจาํสัญลักษณธาตุของนักศึกษากลุมทดลองกอนและหลังการทดลองดังตาราง

ตาราง 4 คาการทดสอบคาที (t-test) เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการจําสัญลักษณธาตุของนักศึกษากลุมทดลอง ระหวางกอนและหลังการทดลอง

กอนทดลอง หลังทดลอง กลุมตัวอยาง S.D. S.D. t

กลุมทดลอง 3.67 2.3 16.67 2.22 15.69*** ***P<.001 จากตาราง คามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนความสามารถในการจําสัญลักษณธาต ุ ของนักศึกษากลุมทดลอง ในระยะกอนการทดลองมีคา เทากบั 3.67 และระยะหลังการทดลอง เทากับ 16.67 เม่ือนําคามัชฌิมเลขคณติดังกลาว มาเปรยีบเทียบดวยการทดสอบคาท่ี (t-test) พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 นั่นแสดงวา คะแนนความสามารถในการจําสัญลักษณธาตขุองนักศึกษากลุมทดลองในระยะหลังการทดลองสูงกวาในระยะกอนทดลอง

X X

Page 37: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

37

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ

การวจิยัครั้งนี้เปนการวิจยัเชิงทดลอง (Experimental – Research) เพ่ือศึกษาผลของการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกาํหนด (Time – Pair – Share) ท่ีมีตอการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ของนกัศึกษาช้ัน ปวช.1 แผนกชางอิเล็คทรอนิคส วิทยาลัยเทคนิคยะลา ผูวจิยัไดกําหนดและกลาวครอบคลุมท้ังวัตถุประสงคของการวจิยั สมมติฐาน กลุมตัวอยาง แบบแผนการทดลอง เครื่องมือในการวจิยั วิธีการรวบรวมขอมูล วธีิดําเนินการทดลอง การวเิคราะหขอมูล สรุปผลวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี ้ วัตถุประสงคของผูวิจัย เพ่ือศึกษาเปรยีบเทียบการจําสัญลักษณธาตกุอนและหลังการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานเรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกาํหนด (Time – Pair – Share) สมมติฐานการวิจัย นักศึกษาท่ีไดเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานเรื่องธาตุโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) ทําใหจําสัญลักษณธาตุสูงกวากอนการสอนวิชาวทิยาศาสตรพ้ืนฐานเรื่องธาตุโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) กลุมตัวอยาง กลุมประชากรในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษาระดบั ปวช.1/7,1/8 แผนกชางอิเล็กทรอนกิส ท่ีเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000 – 1401) หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยเทคนิคยะลา จํานวน 34 คน ผูวิจัยดําเนินการเลือกกลุมตัวอยางไวดังนี ้ ผูวิจยัเลือกกลุมตวัอยางดวยวิธีเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive - Sampling) เปนนักศึกษาระดบั ปวช.1/7,1/8 แผนกชางอิเล็กทรอนกิส ท่ีเรียนรายวิชาวทิยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000 - 1401) หนวยการเรยีนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ภาคเรยีนท่ี 2/2549 วิทยาลัยเทคนิค-ยะลา จํานวน 18 คน ท่ีไมผานเกณฑการประเมินการจําสัญลักษณธาต ุ

Page 38: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

38

แบบแผนการวิจัย การวจิยัครั้งนี้ เปนการวิจยัเชิงทดลอง (Experimental) โดยใชกลุมทดลองเพียงกลุมเดียว และมีการทดสอบกอนและหลังการสอน (One-Group-Pretest-Posttest Design) ตาราง 5 แบบแผนการทดลอง แบบ One-Group-Pretest-Posttest Design

การทดสอบกอนทดลอง Treatment การทดสอบหลังการทดลอง O1 X O2

ท่ีมา : Sax , 1979 : 153 เม่ือ X หมายถึง การดําเนนิการสอนโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-share) O1 หมายถึง การทดสอบกอนทดลอง O2 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยในครั้งนี ้ ประกอบดวยแบบทดสอบแบบปรนัยวัดความจําสัญลักษณธาตุจํานวน 20 ขอ แผนการสอนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาต ุ เทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-share) ตารางสอนสําหรับดําเนินการสอนกลุมตัวอยาง ดังรายละเอียดตอไปนี ้ 1. แบบทดสอบแบบปรนัย เปนแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน (2000-1401) หนวยการเรียนเรื่องธาตุ วดัความจาํสัญลักษณธาตุ จํานวน 20 ขอ ซ่ึงมีคาความยากตั้งแต .29 - .76 คาอํานาจจําแนกตั้งแต .20 - .72 และคาความเช่ือม่ันเทากับ .72 2. แผนการสอนวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรือ่งธาตุและสัญลักษณธาตุท่ีสรางขึ้นตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) และคูมือครูวิทยาศาสตรช้ัน ปวช.1 จํานวน 1 แผน ใชเวลาสอน 2 ช่ัวโมง 3. เทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-share) ใชการเรียนแบบรวมมือ มีทักษะการพูด (อาน) เขียน และจัดกลุมเปนคู โดยปฏิบัติตามใบงานท่ี 6.1 , 6.2 และแบบฝกการเขียนสัญลักษณธาต ุ 4. ตารางสอนสําหรับดําเนินการสอนกลุมตวัอยางท่ีเปนกลุมทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549

Page 39: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

39

ตาราง 6 ตารางเวลาสําหรับดําเนินการทดลอง

ลําดับท่ี วัน เดือน ป เวลา หมายเหตุ 1 22 พ.ย. 2549 13.15-13.35 น. A1 2 25 พ.ย. 2549 10.15-11.15 น. B 3 29 พ.ย. 2549 13.15-14.15 น. B 4 1 ธ.ค. 2549 10.15-10.35 น. A2

หมายเหตุ A1 หมายถึง ทดสอบวัดการจาํสัญลักษณธาตกุอนการทดลอง A2 หมายถึง ทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุหลังการทดลอง B หมายถึง ดําเนินการสอนโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) กับกลุมทดลอง วิธีการเกบ็รวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจยัครั้งนี้ ผูวจิยัไดดําเนินการเกบ็รวบรวมขอมูลดังตอไปนี ้ 1. ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยการสอนตามกระบวนการในแผนการสอนกับนกัเรียนกลุมตวัอยาง ครบ 2 ครั้ง ๆ ละ 1 ช่ัวโมง ผูวิจยัทําการทดสอบกอนและหลังการทดลองดวยแบบทดสอบการจําสัญลักษณธาต ุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ใชเวลาทดสอบครั้งละ 20 นาที บันทึกเปรียบเทียบคะแนนท่ีได 2. วิเคราะหขอมูล ตรวจใหคะแนนจากแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ มาหาคาสถิติ เปรียบเทียบคะแนนระหวางกอนและหลังการทดลอง โดยใชการทดสอบคาที (t-test) ระหวางคาเฉล่ีย 2 คา คือ กอนและหลังการทดลอง โดยมีกลุมตัวอยางเพียงหนึ่งกลุมเก็บขอมูล 2 ครั้ง (test-retest) โดยใชเครื่องมือแบบทดสอบชุดเดมิเปนแบบทดสอบ โดยเครื่องมือนีใ้หใชสูตรแบบไมอิสระตอกัน (Dependent or Correlated Samples) 3. นําผลการวิเคราะหมาสรุปและอภิปรายผล วิธีดําเนินการทดลอง ผูวิจยัดําเนนิการทดลองตามลําดับดังนี ้ 1. ขั้นเตรียมการทดลอง 1.1 เตรียมเครื่องมือท่ีใชในการทดลอง ซ่ึงประกอบดวย แผนการสอน แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณธาต ุ

Page 40: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

40

1.2 เตรยีมหองทดลองเพ่ือใชทดลองกับนักเรยีน โดยใชหองเรียน หอง 317 ใหกลุมตัวอยางไดใชวิธีสอนแบบเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time – Pair – Share) 2. ขั้นการทดลอง ดําเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 ซ่ึงผูวิจัยเปนผูสอนเอง ใชเวลา 2 ครั้ง ๆ ละ 1 ช่ัวโมง 2.1 ทดสอบกอนการทดลอง 1 ครั้ง คือ ทดสอบกอนการทดลองดวยแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน หนวยการเรียนเรื่องธาตุและสัญลักษณ ใชเวลาทดสอบ 20 นาที ในวนัท่ี 22 พฤศจกิายน 2549 ใชเวลาระหวาง 13.15 – 13.35 น. 2.2 ผูวิจัยดําเนินการสอนตามแผนการสอนกับกลุมทดลอง โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด ใชเวลาสอน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 ช่ัวโมง ในวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2549 เวลา 10.15-11.15 น. และวันท่ี 29 พฤศจิกายน 2549 เวลา 13.15-14.15 น. 2.3 ทดสอบหลังการทดลอง 1 ครั้ง คือ ทดสอบหลังการทดลองดวยแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ วิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุ ใชเวลาทดสอบ 20 นาที วันท่ี 1 ธันวาคม 2549 ใชเวลาระหวาง 10.15-10.35 น. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูล จากคะแนนท่ีไดกอนและหลังการทดสอบของแบบวัดการจําสัญลักษณธาตุ โดยดําเนินการตามลําดับขั้น ดังนี ้ 1. หาคามัชฉิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) หรือ X ของคะแนนแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ ของกลุมตวัอยางกอนและหลังการสอบ 2. หาคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) หรือ S.D. ของคะแนนแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุของกลุมตัวอยางกอนและหลังการสอบ 3. หาคาความแตกตางของคะแนนตามสมมติฐานจากแบบทดสอบวัดวัดการจําสัญลักษณธาตุ โดยการทดสอบคาที (t-test) 4. เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการจําสัญลักษณธาต ุ ระหวางคาเฉล่ีย 2 คา คือกอนและหลังการทดลอง โดยมีกลุมทดลองเพียงหนึ่งกลุมเกบ็ขอมูล 2 ครั้ง (test-retest) ใชเครื่องมือชุดเดมิ โดยเครื่องมือนี้ใหใชสูตรแบบไมอิสระตอกัน (Dependent or Correlated Samples)

Page 41: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

41

ผลการวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถสรปุไดดังนี้ คือ นักศึกษาท่ีไดรับการดําเนินการสอนโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) มีการจําสัญลักษณธาตุ หลังการทดลองมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 อภิปรายผล การวจิยัครั้งนี้ผูวิจยัมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาเปรยีบเทียบการจําสัญลักษณธาตุกอนและหลังการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) เพ่ือใหบรรลุผลดังกลาวผูวิจยัไดตั้งสมมตฐิานเพ่ือการทดสอบ ดังจะไดเสนอการอภิปรายผลจากการทดลองตามสมมติฐานดังตอไปนี ้ จากสมมติฐานท่ีกลาววา นักศึกษาท่ีไดเรียนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกาํหนด (Time-Pair-Share) ทําใหจําสัญลักษณธาตุสูงกวากอนการสอนวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานเรื่องธาตุ โดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) จากการทดสอบสมมติฐานพบวา นกัศึกษาท่ีไดรับการสอนโดยใชเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) มีการจําสัญลักษณธาตุหลังการสอนสูงกวากอนการสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 ซ่ึงเปนไปตามสมมตฐิานท่ีตั้งไว นัน่แสดงวาการดาํเนนิการสอนโดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ไดผลด ี ทําใหนักศึกษาจําสัญลักษณธาตุดีขึน้ จากการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ครั้งนี้เปนการใชเทคนคิชวยพัฒนาความจาํอยางงาย โดยใหนกัศึกษาไดเรียนรูโครงสรางของส่ิงท่ีจํา คือสัญลักษณธาตุ มีการทองจําและหัดเขียนซํ้า ๆ แลวถายทอดออกมาโดยตอบ (พูด) และเขียนออกมาเปนคํา ท่ีมีความหมาย คือสัญลักษณของธาตท่ีุถูกตอง ซ่ึงมีความสําคัญตอการเรียนมาก โดยเฉพาะในการศึกษาวชิาเคมีท่ีสูงขึ้น ซ่ึงสุรางค โควตระกูล (2544:222) ไดอธิบายวา ความจําระยะส้ันเปนความจาํหลังรับรูส่ิงเราท่ีไดรับการตคีวามจนเกดิการรับรู มาเก็บไวท่ีสมองแลวจะอยูในความจําระยะส้ัน แตเปนการเก็บไวช่ัวคราว เปนความจําท่ีคงอยูระยะเวลาส้ัน ๆ เพ่ือใหเกิดความจําระยะยาวดังท่ี ธัญญะ และคณะ (2534:191) กลาววาระบบความจําระยะยาวจากนัน้จะเปนความจาํท่ีมีความคงทนถาวรกวาระบบความจาํระยะส้ัน ถาผูเรยีนใสใจหรอืตั้งใจจะเรียนรูส่ิงเรานั้น ส่ิงเรานั้นก็จะผานเขามาในระบบความจําระยะส้ันและจะยังคงอยูในระบบความจําระยะส้ันอยู ถาตองการท่ีจะเก็บขอมูลท่ีรับเขามาไวใชภายหลังอีกขอมูลนั้นจะตองประมวลและเปล่ียนรูปจากความจาํระยะส้ันไปใชในความจาํระยะยาว กระบวนการนีค้ือ การเขารหัส ซ่ึงกระทําไดโดยการทองหรือการกระทําพฤตกิรรมนั้นซํ้า ๆ

Page 42: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

42

ในการสอนโดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) เปนการสอนแบบความรวมมือท่ีแบงกลุมนักศึกษาเปนกลุมเล็ก ๆ กลุมละ 2 คน หรือเปนคู ทําใหนักศึกษาแตละคนเพ่ิมความรับผิดชอบและใหความรวมมือในการเรียนเพ่ิมมากขึ้น เพราะจะไมมีการเกี่ยงงานกัน ทุกคนรับรู ท่ีจะปฏิบัติตามใบงานท่ีไดกําหนดไวอยางชัดเจน ผลของการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ทําใหนักศึกษาจําสัญลักษณธาตุไดดียิ่งขึ้น เนื่องมาจากนักศึกษาแตละคนมีความสนใจ ตั้งใจ และใหความรวมมือกนัดีในการเรียนรู เม่ือมีการจับคูเพ่ืออานและเขียนสัญลักษณธาตุตามเวลาท่ีกําหนด แตละฝายมีความพยายามในการเขียนใหถูกตองมากท่ีสุด และจากการท่ีแตละฝายไดฝกอานและเขียนมาเปนอยางดีแลว ทําใหมีการจําไดแมนยําและถูกตอง สงผลใหผลสัมฤทธ์ิในการจําสัญลักษณธาตุสูงขึ้น สอดคลองกับ จี มารวิล และดีอาร ชมิทท (G. Marwil and D.R Schmitt, 1972 : 376 - 383) ไดทําการทดลอง เปรียบเทียบการรวมมือกันในเกมท่ีใชผูเลน 2 คน กับเกมท่ีใชผูเลน 3 คน กลุมตัวอยางซ่ึงนํามาทดลองเปนนิสิตชายจํานวน 60 คน แยกเปน 2 กลุมใหญ กลุมหนึ่งเปนกลุม 2 คน ได12 กลุมยอย และอีกกลุมหนึ่งเปนกลุม 3 คน ได 12 กลุมยอยเชนกัน แลวใหตัวอยางประชากรเหลานั้นเลมเกม โดยแตละกลุมเลน 150 ครั้ง แตแบงเปนตอน ๆ ผลปรากฏวากลุมท่ีมีผูเลนแบบ 2 คน มีพฤติกรรมรวมมือมากกวากลุมท่ีมีผูเลนแบบ 3 คน ซ่ึงในกลุมแบบ 2 คน มีพฤติกรรมรวมมือในแตละคนไมแตกตางกันและยังพบอีกวาพฤติกรรมการรวมมือในแตละบุคคลของกลุมท่ีมีผูเลน 3 คน จะมีอยูคนหนึ่งท่ีไมคอยใหความรวมมือ ในขณะท่ีอีก 2 คนรวมมือกันดี

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจยัไปใช ผลการทดลองครั้งนี้พบวาการใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) มีผลตอการจําสัญลักษณธาตุไดสูงขึ้น เนือ่งจากนกัศึกษาแตละคนไดเตรยีมตัวเปนอยางดใีนการทํากิจกรรมรวมกนั คือ พูด (อานช่ือธาต)ุ และเขียน (เขียนสัญลักษณธาตุ) และสงผลตอการเรยีนวิชาเคมีในขั้นสูงไดดยีิ่งขึ้น คือเม่ือจําสัญลักษณธาตุไดดี ทําใหอาน – เขียนช่ือสูตรเคมีของสารประกอบตาง ๆ ไดดีไปดวย จากการวจิยัครั้งนี้ ผูวิจยัสนับสนุนใหครูผูสอนวิชาวิทยาศาสตรไดนําเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ไปใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและหนวยการเรียนเกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตรและวิชาอ่ืน ๆ 2. ขอเสนอแนะในการวจิยัครั้งตอไป 2.1 ควรนาํเทคนคิการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share) ไปใชกับวิชาอ่ืน ๆ เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สังคมศึกษา เปนตน 2.2 ควรเลือกใชวิธีสอนอ่ืน ๆ ท่ีเปนการเรียนแบบรวมมือ เพ่ือเปรียบเทียบกับเทคนิคการสอนพูดเปนคู (Time-Pair-Share)

Page 43: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

43

บรรณานุกรม กมลรัตน หลาสุวงษ. จิตวิทยาการศกึษา.(พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการแนะแนว และจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2528. กูเกียรติ เอ่ียวเจริญ. ความสัมพันธระหวางสมรรถภาพสมองบางประการกบัผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศกึษาวิทยาลยัพลศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการวัดผลการศึกษามหาวทิยาลัยศรนีครนิทรวิโรฒประสานมิตร, 2528.(อัดสําเนา) ชัยพจน รกังาม. การวิจัยเเพ่ือการเรียนรู.(พิมพครั้งท่ี 2).นนทบุร ี: โรงพิมพและทําปกเจริญผล,2544. ชัยพร วิชชาวุธ. ความจํามนุษย.กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ, 2520. ชาญวิทย เทียมบุญประเสริฐ. การวัดความถนัด. กรุงเทพฯ : สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวโิรฒประสานมิตร, 2528. เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ. การวัดผลทางการศกึษา. กรุงเทพฯ : สํานักทดสอบทางการศึกษาและจติวทิยา มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวโิรฒประสานมิตร, 2525. ทิศนา แขมมณ.ี รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548. ธัญญะ บุปผเวส, พรรณทิวา รุจิพร, ฉันทนา กลอมจิต, นิตย บุหงามงคล, ศุภลักษณ จารรุัตนจามร และนีออน กล่ินรัตน.จิตวิทยาเบื้องตน.ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2534. บุญชม ศรีสะอาด.การพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2537. ปณยา แพรเจริญวัฒนา. การเปรียบเทียบความเชือ่ม่ันของแบบทดสอบความจําที่มีรูปแบบและ จํานวนตวัเลอืกตางกนั. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวโิวฒ ประสานมิตร, 2541.(อัดสําเนา) ผดุงชัย ภูพัฒน.เอกสารประกอบการอบรม การวิจัยในชัน้เรียน.2544. (อัดสําเนา) พวงรัตน ทวีรัตน.วิธีการวิจัยทางพฤตกิรรมศาสตรและสังคมศาสตร.(พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโวฒ ประสานมิตร, 2531. มาลินี จุฑะรพ.จิตวิทยาการเรียนการสอน.(พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพมหานคร : ศูนยสงเสริมวิชาการ, 2539. ยุทธพงษ ไกยวรรณ. เทคนิคและวิธีสอน. กรุงเทพฯ : พิมพดีจํากดั, 2541. ราตร ี พุทธทอง. ความสัมพันธระหวางความสามารถดานความจํากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2. ปตตาน ี: วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวชิา การวดัผลและวจิยัการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 2543.

Page 44: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

44

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. ความถนัดทางการเรียน. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2527. . เทคนคิการสรางและสอบขอสอบความถนดัทางการเรียน. (พิมพครั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2541. วรรณี ลิมอักษร.จิตวิทยาการศึกษา. สงขลา : งานสงเสริมการผลิตตํารา มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2541. สถาพร ทัพพกุล. ความสัมพันธระหวางสมรรถภาพทางสัญลกัษณกบัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการวดัผลการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรนีครนิทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2516. (อัดสําเนา) สมบัต ิ จําปาเงินและสําเนียง มณีกาญจน.หลักนักจํา. (พิมพครั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ ขาวฟาง, 2539. สังคม ภูมิพันธุ.การจําและการลืม.http://vod.msu.ac.th/itdc/article/memo/index.htm,10/2/2550. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. หลักสูตรประกาศนยีบตัรวิชาชพี พุทธศักราช 2545. (ปรับปรุง พ.ศ. 2546), 2546 (อัดสําเนา) สุทธิพงษ สุขะจิระ. สมรรถภาพสมองบางประการที่สัมพันธกบัผลสัมฤิทธในการเรียนวิชา ประวัติศาสตร, ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการวดัผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวโิรฒ ประสานมิตร, 2512. (อัดสําเนา) สุรางค โควตระกูล. จิตวิทยาการศกึษา. (พิมพครั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2544. สุวพร เซ็มเฮง. ความสัมพันธระหวางความถนดัทางการเรียนกบัผลสัมฤทธิท์างการเรียนธุรกิจ ศึกษาของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตกรุงเทพฯ, ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวดัผลการศึกษา มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2522. (อัดสําเนา) ไสว เล่ียมแกว. ความจําของมนษุย : พฤษฎและวิธทีดสอบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมิตรสยาม, 2528. อรุณี เพชรเจริญ. ตวัพยากรณบางตวัที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนกัเรียน มัธยมศึกษาปที่ 4, ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรนีครนิทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2522. (อัดสําเนา) อุษา วีระสัย. การเปรียบเทยีบคณุภาพของแบบทดสอบความจําที่มีรูปแบบความจําตางกนั. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการวัดผลการศึกษา มหาวทิยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร, 2533. (อัดสําเนา)

Page 45: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

45

Adams , Jack A. Human Memmory. New York : McGraw – Hill, 1967. Arends , R. J. Learning to Teach. 3rd. New York : Mc Grawhill, 1994. Baron , R.A. Essention of Psychology. (2nd ed.). Boston : Allyn and Bacon, 1999. Ferguson, George A.Statistic Analysis in Phychology and Education.5 th ed. New York: McGrawHill Internationnal Book Company, 1981. Guilford , J.P. Fundamental Statistics in Psycho logy and Education. (3rd ed.) New York : McGraw – Hill, 1956. . “Some Change in the Structure of intellect Model”, Edncational and Psychological Measurement. 58 (Sping 1998) , 1-4. Ingersoll , Ralph W. and Peter , Herman J. “Predictive Indicies of the GATB” The personal and Guidance Journal. 44 (may 1966). 931-937. Johnson , D.W.and Johnson , F.P. Johnson Together Group Theory and Group Skills. Moston : Allyn and Bacon,1974. Joyce ,B. & weil.M. Models of Teaching.(5 th ed). London: Allyn and Bacon, 1996. Kintsch , Walter. Leaning Memmory and Conceptual process. John Wiley and Sons,1969. Marwil , G. and Schmitt,D.R.“Cooperative in a three Persons Prisoner’s Dilemma” The Journal of personality & Social Psychology, 1972. Mc Connell. J.V and R.P.Philipchalk. Understanding Human Behariov (7thed). Fortworth : Holt , Rinehart and Winston, 1994. Ormrod , J.E. Educational Psychology. New York : Prentice Hall, 2000. Richard, D.P,L.H.Stephanic and S.B.Deborah. Educational Phychology. Toronto.Ontario: Wadsworth Thomson Learing,2001. Samuels , Jay S “Effect of word Associations on the Recognition of Flashed Memory” Educational Psychology. 60 (April 1969). 92-102. Sax, Gilbert.Foundation of Education Research. Enqlewood Cliffs, New Jersey: Prentice- HallInc,1977. Searleman , A. and D. Herrmann. Memory from a Broader Derspecter. Singapore : Mc Graw- Hill, 1994. Slavin , R.E “Cooperative learning and Cooperative school” Educational leadship. 45 (November 1987). 7-13 Smith , lola Ragins. “Factors in Chemistry Acherement amory Eleventh Grade Girls and Boys” Dissertation Abstracts International. 27 (December 1966). 1671 Thurstone , L.L. Primary Mental Abilities. Chicago : University of Chicago, 1958.

Page 46: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

46

ภาคผนวก

Page 47: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

47

แผนการสอน หนวยที ่ 6 ชื่อวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน สอนครั้งที ่ 12 – 14

ชื่อหนวย ธาตุและสัญลักษณธาตุ คาบรวม 9 ชื่อเรื่อง สมบัติของสารและตารางธาตุ จํานวนคาบ 2

หัวขอเร่ือง 6.1 ธาตุและสัญลักษณธาตุ 6.2 หลักการเขียนสัญลักษณของธาตุในปจจุบัน

สาระสําคัญ สัญลักษณธาตุ (Symbol) คือตัวอักษรท่ีใชเขียนแทนธาตุตาง ๆ มีความหมายแทน 1 อะตอมของธาตุ โดยใชอักษรตัวหนาของช่ือธาตุในภาษาอังกฤษหรือภาษาลาตินหรือภาษากรีก เปนสัญลักษณและเขียนแทนดวยตัวพิมพใหญ กรณีท่ีตัวอักษรหนาซ้ํากันใหใชอักษรตัวหนาเปนตัวพิมพใหญและอักษรถัดไปเปนตัวพิมพเล็ก

สมรรถนะที่พึงประสงค ความรู ทักษะ คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ การจําสัญลักษณธาตุกอนและหลังการสอน โดยใชเทคนิคการพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-Share)

ดานความรู 1. บอกช่ือธาตุและสัญลักษณธาตุท่ีพบเห็นในชีวิตประจําวันได 2. อธิบายวิธีเขียนสัญลักษณธาตุในปจจุบันได

ดานทกัษะ 1. เขียนสัญลักษณช่ือธาตุไดถูกตอง

ดานคุณธรรม จริยธรรม 1. ปฏิบัติงานไดถูกตองตามข้ันตอน 2. ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นได

สอศ.

Page 48: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

48

+ å

I Z C L S

เนื้อหาสาระ 6.1 ธาตุและสัญลักษณธาตุ ธาตุ (Element) เปนสารบริสุทธิ์เนื้อเดียว ประกอบดวยอะตอมท่ีเหมือนกัน ธาตุอาจเกิดข้ึนตามธรรมชาติ เชน ในธรรมชาติพบธาตุท้ังสถานะของแข็ง ของเหลว และกาซ ธาตุท่ีเปนของแข็ง เชน เหล็ก สังกะสี ทองแดง อะลูมิเนียม ธาตุท่ีเปนของเหลว เชน ปรอท โบรมีน

ธาตุท่ีเปนกาซ เชน ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน คลอรีน และธาตุท่ีเกิดจากการประดิษฐข้ึน เชน ธาตุพลูโตเนียม ธาตุยูเรเนยีม เปนตน ธาตุท่ีคนพบและยอมรบัแลวมี 112 ธาตุ ธาตุท่ี 1 ถึง 92 เปนธาตุ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ สวนธาตุท่ีเหลือนั้นเปนธาตุท่ีเกิดจากการประดิษฐข้ึนดวยปฏิกิริยานิวเคลียรโดยนักวิทยาศาสตร ไดแก ธาตุกัมมันตรังสี สัญลักษณธาตุ (Symbol) คือตัวอักษรท่ีใชเขียนแทนธาตุตาง ๆ มีความหมายแทนคา 1 อะตอมของธาตุ ธาตุสามารถเขียนสัญลักษณแทนได จอหน ดอลตัน เปนนักเคมีคนแรกท่ีเสนอใหมีการใชรูปภาพแทนสัญลักษณของธาตุ ดังตัวอยาง û ไฮโดรเจน ô เหล็ก

Å ออกซิเจน ô สังกะสี Å ไนโตรเจน ô ทองแดง ò คารบอน ô ตะกั่ว Å ฟอสฟอรัส ô เงิน

Å กํามะถัน ô ปรอท ตอมาในศตวรรษท่ี 19 โจนส จาคอบ เบอรซเีรียสไดเสนอใหใชตัวอักษรเปนสัญลักษณแทนช่ือธาตุโดยใชตัวอักษรตัวแรกของช่ือธาตุซึ่งเขียนดวยตัวพิมพใหญและถาตัวแรกซ้ํากันใหเพิ่มตัวอักษรตัวท่ีสองหรือตัวถัดไปอีก 1 ตัวลงไปดวย โดยเขียนดวยตัวพิมพเล็ก สําหรับธาตุท่ีพบมาต้ังแตโบราณโดยมากจะใชสัญลักษณท่ีมาจากช่ือในภาษาอังกฤษ

6.2 หลักการเขียนสัญญาลักษณธาตุในปจจุบัน การใชอักษรยอเปนสัญลักษณของธาตุ มีหลักดังนี้

6.2.1 ใชอักษรตัวหนาของช่ือธาตุในภาษาอังกฤษ หรือภาษาละติน หรือภาษา กรีก เปนสัญลักษณของธาตุ และเขียนดวยตัวพิมพใหญ

6.2.2 กรณีท่ีอักษรตัวหนาซ้ํากัน ใหใชอักษรตัวหนาเปนตัวพิมพใหญ และตัวอักษรถัดไปเปนตัวพิมพเล็ก

Page 49: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

49

กิจกรรมการเรียนการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ข้ันตอนการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน 1. ข้ันนําเขาสูบทเรียน

1.1 ครูนําสนทนาเพื่อทบทวนเรื่องโครงสรางอะตอมของธาตุ การเรียกช่ือธาตุตางๆ

1.2 ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการใชเครื่องหมาย และสั ญ ลั ก ษณ ต า ง ๆ ท่ี นั ก เ รี ย น พ บ เ ห็ น ใ นชีวิ ต ป ระ จํ า วั น เ ช น ตั ว โ น ต ข อ ง เ พ ล ง เครื่องหมายจราจร แบบตางๆ

1.1 นักเรียนรวมสนทนาเรื่องโครงสรางอะตอมของธาตุและตอบคําถาม

1.2 นักเรียนรวมสนทนาการใชเครื่องหมาย หรือสัญลักษณตางๆ ท่ีรูจัก เชน เครื่องหมายของตัวโนต สัญญาณไฟ หรือสัญญาณจราจรตางๆ

ตัวอยาง สัญลักษณธาตุบางชนิดท่ีเราคุนเคยในชีวิตประจําวันแสดงในตารางท่ี 6.1

- ตาราง 6.1 ตารางแสดงช่ือธาตุภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาละติน และสัญลักษณของธาตุ - ใบงาน 6.1 - แบบฝกการอานและเขียนเขียนสัญลักษณธาตุ - ใบงาน 6.2 - แบบทดสอบการเขียนสัญลักษณธาตุ (ใชสําหรับทดสอบกอนและหลังการเรียนโดยใชเทคนิค

การสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-share)

Page 50: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

50

2. ข้ัน สอน

ครูอธิบายธาตุและสัญลักษณของธาตจุากอดตีถึงปจจุบัน โดยนําภาพแทนสัญลักษณธาตุในอดีต เปรียบเทียบกับการเขียนสัญลักษณธาตใุนปจจบัุน

และใหนักเรียนซักถามไดหากไมเขาใจ 3. ข้ันทํากิจกรรม

- ใหนักเรียนศึกษาช่ือธาตุจากใบความรู ตาราง 6.1

- ใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ

- นักเรียนเขียนสัญลักษณธาตุตามแบบฝกการเขียนจํานวน 20 ช่ือตามใบงานท่ี 6.1

- นักเรียนท่ีไมผานการประเมินจากแบบทดสอบการประเมินใหทํากิจกรรมตามใบงานท่ี 6.2 ซึ่งครูใชการสอนเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด

4. ข้ันสรุป ใหนักเรียนรวมกันสรุปหลักการเขียนสัญลักษณธาตุท่ีถูกตอง 5. ข้ันประเมินผล

ครูประเมินผลจากการเขียนสัญลักษณธาตุ โดยผูไมผานการประเมินใหทํากิจกรรมตามใบงาน 6.2 และทําแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุชุดเดิม

นักเรียนรับฟงความรูเรื่องธาตุและสัญลักษณธาตุตามท่ีครูอธิบายและใหซักถามขอสงสัยเม่ือครูเปดโอกาสใหถาม

- นักเรียนศึกษาช่ือธาตุจากใบความรูตาราง 6.1 - นักเรียนทําแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ - นักเรียนปฏิบัติตามใบงานท่ี 6.1 ผูไมผานการ

ประเมินใหทํากิจกรรมใบงานท่ี 6.2 โดยทํากิจกรรมเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลา ท่ีกําหนด เม่ือไดฟงครูอธิบายอยางเขาใจแลว

นักเรียนรวมกันสรุปผลการเขียนสัญลักษณธาตุท่ีถูกตองและจดสรุปผลการเรียน นักเรียนสงแบบทดสอบการเขียนสัญลักษณธาตุชุดเดิม

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม กอนเรียน อานทบทวนโครงสรางอะตอม และศึกษาตารางธาตุจากแบบเรียนมาลวงหนา

ขณะเรียน ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานท่ี 6.1 - 6.2 หลังเรียน สงแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ ส่ือการเรียนการสอน ส่ือส่ิงพิมพ

- หนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ของชมรมครูวิทยาศาสตรอาชีวศึกษาภาคใต

Page 51: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

51

บรรณานุกรม

ชมรมครูวิทยาศาสตรอาชีวศึกษาภาคใต. วิทยาศาสตรพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม, 2546. ธวัชชัย จํารัสแสง และคณะ. วิทยาศาสตรพื้นฐาน. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : เอ็ดดูเท็กซ, 2547. สุทิน สัมปตตะวนิช. พจนานุกรมศัพทวิทยาศาสตร. พิมพครั้งท่ี 3 .กรุงเทพฯ : แพรพิทยา, 2526. ไสว ฟกขาว และวรรณภา ทองสีไพล. วิทยาศาสตร1.กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเอมพันธ, 2544.

หุนจําลองหรือของจริง (ถามี) -

การประเมินผล กอนเรียน

- ตรวจดูความพรอมทุกดานกอนเรียน - ทบทวนความรูเรื่องโครงสรางอะตอมของธาตุ ความรูเกี่ยวกับเรื่องธาตุ

ขณะเรียน

สมรรถนะ การจําสัญลักษณธาตุกอนการสอนโดยใชเทคนิคการพูดเปนคูตาม เวลาท่ีกําหนด

วิธีวัด วัดการจําสัญลักษณธาตุจากแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ

เครื่องมือวัด แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ

เกณฑการใหคะแนน คะแนน 20 คะแนน เขียนถูก 1 ขอ ได 1 คะแนน ได 0 คะแนนเม่ือเขียนผิด หลังเรียน

สมรรถนะ การจําสัญลักษณธาตุ หลังการสอนโดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาท่ีกําหนด (Time-Pair-share)

วิธีวัด การจําสัญลักษณธาตุจากแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ เครื่องมือวัด แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาตุ เกณฑการใหคะแนน คะแนน 20 คะแนน เขียนถูก 1 ขอ ได 1 คะแนน

Page 52: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

52

ตางราง 6.1 ตารางแสดงช่ือธาตุภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาลาติน และสัญลักษณของธาตุ

ช่ือธาตุ ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาลาตนิ สัญลกัษณของธาต ุซีลีเนียม Selenium Selene Se โซเดยีม Sodium Natrium Na ดีบุก Tin Stannum Sn ทองคํา Gold Aurum Au เงิน Silver Argentum Ag

ทองแดง Copper Cuprum Cu ทังสเตน Tungsten Wulfram W ปรอท Mercury Hydragyrum Hg พลวง Antimony Stibium Sb

โพแทสเซียม Potassium Kalium K เหล็ก Iron Ferrum Fe ตะก่ัว Lead Plumbum Pb

ไฮโดรเจน Hydrogen – H ฮีเลียม Helium – He โบรอน Boron – B เบรลิเลียม Beryllium – Be แบเรยีม Barium – Ba คารบอน Carbon – C แคลเซียม Calcium – Ca แคดเมียม Cadmium – Cd คลอรีน Chlorine – Cl

ไนโตรเจน Nitrogen – N นิกเกิล Nickel – Ni นีออน Neon – Ne

แมงกานีส Manganese – Mn

Page 53: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

53

แมกนีเซียม Magnesium – Mg สังกะสี Zinc – Zn ออกซิเจน Oxygen – O กํามะถัน Sulfur – S ทองคําขาว Platinum – Pt สารหน ู Arsenic – As บิสมัท Bismuth – Bi

บรรณานุกรม ชมรมครูวิทยาศาสตรอาชีวศึกษาภาคใต. วิทยาศาสตรพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม, 2546. ธวัธชัย จํารัสแสง และคณะ. วิทยาศาสตรพื้นฐาน. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: เอ็ดดูเท็กซ, 2547.

ผดุงชัย ภูพัฒน.เอกสารประกอบการอบรม การวจิยัในช้ันเรียน.2544. (อัดสําเนา) สุทิน สัมปตตะวนิช. พจนานุกรมศัพทวิทยาศัพทวิทยาศาสตร. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ: แพรพิทยา, 2546. ไสว ฟกขาว และวรรณภา ทองสีไพล. วิทยาศาสตร1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเอมพันธ, 2544.

Page 54: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

54

ใบงานที ่6.1 หนวยที ่ 6 ชื่อวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา 2000-1401

สอนครั้งที ่ 12 – 13

ชื่อหนวย สมบัติของสารและตารางธาต ุ ชั่วโมงรวม 6 ชื่อเรื่อง ธาตุและสัญลักษณของธาต ุ จํานวนชั่วโมง 2

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม เขียนสัญลักษณของธาตุได 20 ชื่อ จากแบบฝกการเขียนสัญลักษณธาตุและแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาต ุ อุปกรณ ใบความรูแสดงชื่อธาตตุาง ๆ ที่ควรรูจักในชีวิตประจําวัน จํานวน 20 ธาต ุ โดยแสดงเปนตาราง บอกชื่อธาตุภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาลาติน และสัญลักษณของธาต ุ แบบฝกการเขียนสัญลักษณธาต ุ วิธีการดําเนินกิจกรรม

1. แจกใบความรูตารงธาต ุ6.1 ใหนักเรยีนทกุคนกลับไปอานและฝกเขียน 2. แจกแบบฝกการเขียนสัญลักษณธาต ุ ใหนักเรียนทุกคนกลับไปทบทวน

3. นัดหมายวันใหนักเรยีนเขียนสัญลักษณของชื่อธาต ุตามแบบฝกการเขียนสัญลักษณธาต ุ จํานวน 20 ชื่อ 4. ใหนักเรียนเขียนสง ใชเวลาประมาณ 20 นาท ี 5. ตรวจผลที่นักเรียนสงใชเวลาประมาณ 20 นาท ี 6. นักเรยีนกลับไปทบทวนแกไขการเขียนสัญลักษณธาตทุี่ผดิ 7. นัดหมายใหเขียนใหมในคาบตอไป

Page 55: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

55

8. ใหนักเรียนเขียนชื่อธาตุจํานวน 20 ธาตตุามแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาต ุ 9. ใหนักเรยีนเขียนสง ใชเวลา 20 นาท ี 10. ตรวจผลที่นักเรียนสงใหคะแนนขอละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 20 คะแนน เพื่อนําไปประเมินผล ใบงานที ่6.2 หนวยที ่ 6 ชื่อวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา 2000-1401

สอนครั้งที ่ 12 – 13

ชื่อหนวย สมบัติของสารและตารางธาต ุ ชั่วโมงรวม 6 ชื่อเรื่อง ธาตุและสัญลักษณของธาต ุ จํานวนชั่วโมง 2

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ตอบ (พูด) และเขียนสัญลักษณของธาตไุดถูกตองตามแบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาต ุ20 ชื่อ หลังจากไดเรียนโดยใชเทคนิคการสอนพดูเปนคูตามเวลาที่กําหนด (time-pair-share) อุปกรณ 1. ใบความรูเดมิ จากกิจกรรมที่ 6.1 2. แบบฝกปฏิบตัิกิจกรรมโดยเทคนคิการสอนพดูเปนคูตามเวลาที่กําหนด (Time-Pair-Share) วิธีการดําเนินกิจกรรม 1. ใหนักเรยีนที่ไมผานการประเมนิผลในกิจกรรมที่ 6.1 นั่งจับคู ตามความสมัครใจ 2. นักเรยีนที่ไมผานการประเมนิกลับไปอานและหัดเขียนตามใบความรู 3. ทาํกิจกรรมตามแบบฝกปฏิบตัิกิจกรรมการสอนโดยใชเทคนคิการสอนพดูเปนคูตามเวลาที่กําหนด (Time-Pair-Share) ใชเวลาทํากิจกรรม 2 ชั่วโมง 4. นัดหมายใหนักเรยีนแตละคู บอกชื่อธาต ุและอีกฝายเขียนสัญลักษณของธาตทุี่ถูกตอง สลับกันในเวลาที่กําหนด (คูละ 20 นาที)

Page 56: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

56

5. ตรวจผลที่นักเรียนสง ใหคะแนนเต็ม 20 คะแนนเพื่อนาํไปประเมินผล

แบบฝกปฏิบัติกิจกรรมการสอนโดยใชเทคนิคการสอนพูดเปนคูตามเวลาที่กําหนด (Time-Pair-Share) วิธีปฏิบัติ 1. ใหนักศึกษานั่งจับคูเพื่อทํากิจกรรม 2. รับแบบฝกจากครูและปฏิบัติตามข้ันตอน 2.1 คนท่ี 1 อานช่ือเต็มของธาตุใหเพื่อนฟง คนท่ี 2 ตอบสัญลักษณธาตุดวยปากเปลา และเขียนตอบลงในแบบตอบ 2.1 (ธาตุท่ี 1 - 10) ถาคนท่ี 2 ตอบผิด ใหคนท่ี 1 เฉลยทันที หลังจากนั้นนาํสงครู (ใชเวลา 10 นาที) 2.2 คนท่ี 2 อานช่ือเต็มของธาตุใหเพื่อนฟง คนท่ี 1 ตอบสัญลักษณธาตุดวยปากเปลา และเขียนตอบลงในแบบตอบ 2.1 (ธาตุท่ี 1 - 10) ถาคนท่ี 1 ตอบผิด ใหคนท่ี 2 เฉลยทันที หลังจากนั้นนาํสงครู (ใชเวลา 10 นาที) 2.3 ปฏิบัติซ้ําเหมือนขอ 2.1 และ 2.2 โดยอานช่ือธาตุท่ี 11 – 20 ใชเวลาครั้งละ 10 นาที เชนกัน 2.4 แตละคนรับแบบตอบ 2.1 และแบบเขียนตอบ 2.1 ตัวอยางการตอบ

คนที่ตอบ คนที่อานช่ือเต็มของธาตุ ตอบ (พูด) เขียนสัญลักษณ

ออกซิเจน โอ O

โซเดียม เอ็น – เอ Na

คลอรีน ซี – แอล Cl

เหล็ก เอฟ – อี Fe

Page 57: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

57

แบบตอบ 2.1 คนท่ี 1 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีอานช่ือเต็มของธาตุ

คนท่ี 2 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีตอบสัญลักษณธาตุ

คําช้ีแจง จงทําเครื่องหมาย aลงในชองท่ีตรงกับการตอบของคนท่ี 2

ช่ือธาตุ เฉลย ตอบถูก ตอบผิด 1. คารบอน C ……………… ………………

2. แคลเซียม Ca ……………… ………………

3. คลอรีน Cl ……………… ………………

4. ทองแดง Cu ……………… ………………

5. แคดเมียม Cd ……………… ………………

6. โซเดียม Na ……………… ………………

7. โพแทสเซียม K ……………… ………………

8. เหล็ก Fe ……………… ………………

9. สังกะสี Zn ……………… ………………

10. ไฮโดรเจน H ……………… ………………

Page 58: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

58

แบบตอบ 2.1 คนท่ี 2 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีอานช่ือเต็มของธาตุ

คนท่ี 1 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีตอบสัญลักษณธาตุ

คําช้ีแจง จงทําเครื่องหมาย aลงในชองท่ีตรงกับการตอบของคนท่ี 1

ช่ือธาตุ เฉลย ตอบถูก ตอบผิด 1. คารบอน C ……………… ………………

2. แคลเซียม Ca ……………… ………………

3. คลอรีน Cl ……………… ………………

4. ทองแดง Cu ……………… ………………

5. แคดเมียม Cd ……………… ………………

6. โซเดียม Na ……………… ………………

7. โพแทสเซียม K ……………… ………………

8. เหล็ก Fe ……………… ………………

9. สังกะสี Zn ……………… ………………

10. ไฮโดรเจน H ……………… ………………

Page 59: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

59

แบบตอบ 2.1 คนท่ี 1 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีอานช่ือเต็มของธาตุ

คนท่ี 2 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีตอบสัญลักษณธาตุ

คําช้ีแจง จงทําเครือ่งหมาย aลงในชองท่ีตรงกับการตอบของคนท่ี 2

ช่ือธาตุ เฉลย ตอบถูก ตอบผิด 11. แมงกานีส Mn ……………… ………………

12. แมกนีเซียม Mg ……………… ………………

13. ออกซิเจน O ……………… ………………

14. ไนโตรเจน N ……………… ………………

15. แบเรียม Ba ……………… ………………

16. เงิน Ag ……………… ………………

17. ทองคํา Au ……………… ………………

Page 60: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

60

18. ดีบุก Sn ……………… ………………

19. ปรอท Hg ……………… ………………

20. นิกเกิล Ni ……………… ………………

แบบตอบ 2.1 คนท่ี 2 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีอานช่ือเต็มของธาตุ

คนท่ี 1 ช่ือ................................................................................................................... ทําหนาท่ีตอบสัญลักษณธาตุ

คําช้ีแจง จงทําเครื่องหมาย aลงในชองท่ีตรงกับการตอบของคนท่ี 1

ช่ือธาตุ เฉลย ตอบถูก ตอบผิด 11. แมงกานีส Mn ……………… ………………

12. แมกนีเซียม Mg ……………… ………………

13. ออกซิเจน O ……………… ………………

14. ไนโตรเจน N ……………… ………………

15. แบเรียม Ba ……………… ………………

16. เงิน Ag ……………… ………………

17. ทองคํา Au ……………… ………………

18. ดีบุก Sn ……………… ………………

Page 61: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

61

19. ปรอท Hg ……………… ………………

20. นิกเกิล Ni ……………… ………………

กระดาษเขียนตอบชุดที่ 2.1

ช่ือผูตอบ..............................................................................................................................................(คน

ท่ี 1)

คําส่ัง จงเขียนสัญลักษณธาตุท่ีทานไดรับฟงจากผูถามใหถูกตอง 1. ………………………………… 2. ………………………………… 3. ………………………………… 4. ………………………………… 5. ………………………………… 6. ………………………………… 7. ………………………………… 8. ………………………………… 9. ………………………………… 10. ………………………………. 11. ………………………………. 12. ………………………………. 13. ………………………………. 14. ……………………………….

Page 62: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

62

15. ………………………………. 16. ………………………………. 17. ………………………………. 18. ………………………………. 19. ………………………………. 20. ……………………………….

กระดาษเขียนตอบชุดที่ 2.1

ช่ือผูตอบ..............................................................................................................................................(คน

ท่ี 2)

คําส่ัง จงเขียนสัญลักษณธาตุท่ีทานไดรับฟงจากผูถามใหถูกตอง 1. ………………………………… 2. ………………………………… 3. ………………………………… 4. ………………………………… 5. ………………………………… 6. ………………………………… 7. ………………………………… 8. ………………………………… 9. ………………………………… 10. ………………………………. 11. ………………………………. 12. ………………………………. 13. ………………………………. 14. ………………………………. 15. ……………………………….

20 คะแนนที่ได

Page 63: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

63

16. ………………………………. 17. ………………………………. 18. ………………………………. 19. ………………………………. 20. ……………………………….

แบบฝกการอานและเขียนสัญลักษณธาตุ

ตัวอยาง สัญลักษณของธาตุที่ควรรูจักและเขียนไดถูกตอง

ที่ ช่ือธาต ุ สัญลักษณของธาต ุ1. โซเดยีม Na 2. คลอรีน Cl 3. โพแทสเซียม K

4. เหล็ก Fe 5. คารบอน C 6. ทองแดง Cu

7. สังกะสี Zn

8. เงิน Ag 9. ทองคํา Au 10. ดีบุก Sn

11. ปรอท Hg 12. แคลเซ่ียม Ca 13. แคดเมียม Cd

14. แมงกานิส Mn 15. แมกนีเซียม Mg 16. ออกซิเจน O

20 คะแนนที่ได

Page 64: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

64

17. ไฮโดรเจน H 18. ไนโตรเจน N

19. นิกเกิล Ni 20. แบเรยีม Ba

วิทยาลัยเทคนิคยะลา แบบทดสอบวัดการจําสัญลักษณธาต ุ

¨ ทดสอบกอนการทดลอง ¨ ทดสอบหลังการทดลอง วิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน (2000-1401) ระดับช้ัน ปวช.

ช่ือหนวย สมบัติของสารและตารางธาตุ ช่ือเร่ือง ธาตุและสัญลักษณของธาตุ

คําชี้แจง 1. ขอสอบมีจํานวน 20 ขอ ใชเวลา 20 นาที 2. กอนทําแบบทดสอบใหนักศึกษาเขียนช่ือ สกุล ใหเรียบรอย 3. ใหนักศึกษาเขียนสัญลักษณของธาตุตามช่ือธาตุใหถูกตอง 4. ไมเขียนขอความใด ๆ ลงในแบบทดสอบ

ที่ ช่ือธาตุ สัญลักษณของธาตุ

1. คารบอน 2. ไฮโดรเจน 3. โซเดียม 4. นิกเกิล 5. แคลเซี่ยม 6. สังกะสี 7. ดีบุก 8. ไนโตรเจน 9. แมกนีเซียม

Page 65: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

65

10. ทองคํา 11. โพแทสเซียม 12. เงิน 13. แบเรียม 14. ออกซิเจน 15. คลอรีน 16. เหล็ก 17. ทองแดง 18. ปรอท 19. แมงกานิส 20. แคดเมียม

ช่ือ …..……………………………………. ช้ัน ………………….. แผนก ………………………………..

20

คะแนนที่ได

Page 66: ผลของการใช เทคนิคการสอนพูดเป นคู ตามเวลาที่กําหนด (Time ... · 2 ชื่องานวิจัย

66

ประวัติผูวิจัย ช่ือ – นามสกุล นางอรทิน สีลาภรณ วัน เดือน ปเกิด 9 มกราคม 2498 คุณวุฒิ วท.บ (ศึกษาศาสตร) วิชาเอกวิทยาศาสตรท่ัวไป ศศ.ม (สังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา) ประสบการณทํางาน พ.ศ.2522 – 2524 อาจารย 1 ระดับ 3 อาจารยประจําวิชาวิทยาศาสตร วิทยาลัยเทคนิคตรัง จังหวัดตรัง พ.ศ.2524 – 2550 อาจารย 2 ระดับ 7 อาจารยประจําวิชาวิทยาศาสตร วิทยาลัยเทคนิคยะลา จังหวัดยะลา ผลงานวิจัย 1. รวมกับคณะวิจัยบทเรียนวิทยาศาสตรทองถิ่น เรื่องการอนุรักษแมน้ําปตตานี

พื้นท่ีผานเทศบาลนครยะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ในโครงการวิจัยวิทยาศาสตรทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2547) 2. วจิัยในช้ันเรยีน เรื่องการแกปญหาการหาเวกเตอรลพัธ โดยวิธกีารเขียนรูปแบบหางตอหัว โดยใชใบความรูและใบงานเปนกิจกรรมเสริมของนักศึกษา ปวส.2/1,2/2 แผนกชางไฟฟา (2547) 3. วิจัยในช้ันเรยีน เรื่องการพฒันาการเรียนรู หนวยการเรียนเรื่องงานในแนวราบและแนวด่ิงของนักศึกษา ช้ันปวช. 1/11,1/12 แผนกวิชาชางยนต โดยใชกิจกรรมกลุม (2548) 4. วิจัยในช้ันเรียน เรื่องการพัฒนาหนวยการเรียนรู เรื่อง Unit Vector วิธ ี Cross Product ของนักศึกษาช้ัน ปวส. 1/1,1/2 แผนกวิชาชางอิเล็กทรอนิกส โดยใช Determinant (2549)

ตําแหนงปจจุบัน ครูชํานาญการ สถานท่ีทํางานปจจุบัน วิทยาลัยเทคนิคพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา