2
| Creative Thailand | กุมภาพันธ์ 2558 | วรพล หลังโส๊ะ 2 ALONE TOGETHER Why We Expect More fromTechnology and Less from Each Other โดย Sherry Turkle แค่ชื่อหนังสือก็ตั้งค�าถามชวนให ้คิดว่า ท�าไมเราถึงคาดหวังกับเทคโนโลยีมากขึ้น แต่กลับคาดหวังจากคนอื่นลดลง เชอร์รี เทอร์เคิล ศาสตราจารย์ผู ้เชี่ยวชาญด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และ เทคโนโลยีของสถาบันเทคโนโลยีแมสซา ชูเซตส์ (MIT) เขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นจาก ผลจากการศึกษายาวนานกว่า 15 ปี เท อร์เคิลอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไปหลังจากทีเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ�าวันเป็นอย่างมาก บางครั ้งเราก็ห่างเหินความรู ้สึก ของการใช้เวลาร่วมกับผู ้อื่นซึ่งนับวันยิ่งท�าให้เราประหลาดใจ เธอยกตัวอย่างง่ายๆ ว่าปัจจุบัน การโทรศัพท์หากันหรือการพูดคุยแบบซึ่งหน้ากลายเป็นเรื่องเคอะเขิน หรืออาจท�าให้บางคน รู ้สึกถูกรุกล� ้าความเป็นส่วนตัว แต่มันจะสะดวกใจกว่าหากสื่อสารกันด้วยการส่งข้อความ (Text) ผ่านโปรแกรมสนทนา และเราก็ใช้วิธีนี ้มากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นนิสัยโดยที่ไม่รู ้ตัว จนอาจต้องให้ค�าจ�ากัดความค�าว่า “ความสันโดษ” กันใหม่แล้วจริงๆ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงอาจไม่ใช่เรื่องเกินคาดหมาย ส�าหรับปรากฏการณ์การเชื่อมต่อกันทางอินเทอร์เน็ต แต่ ค�าถามใหญ่หลังจากนั้นคือ เทคโนโลยีเหล่านี้มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและสังคมในภาพรวมอย่างไร ในบท ส่งท้ายของเล่มผู ้เขียนได้เล่าถึงเหตุการณ์แผ่นดินไหวทีมณฑลเสฉวนในจีน ซึ่งมีการกระจายข่าวอย่างรวดเร็ว โดย ผู ้รายงานคนแรกเป็นชาวเสฉวนที่รายงานผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ชื่อคิวคิว จากนั้นมีการอัพโหลดภาพการทวิ ตข้อมูลจนถึงสายข่าวบีบีซี ภายใน 40 นาทีมีการบันทึก ข้อมูลในวิกิพีเดีย ไม่กี่ชั่วโมงถัดมามีเว็บไซต์ช่วยค้นหาผู ้คน ที่สูญหาย และเริ่มเปิดช่องทางการบริจาค แต่ความเห็นใจ ก็ไม่สามารถทดแทนการสูญเสียขั้นรุนแรงนี้ได ้ เพราะไม่ นานหลังเหตุการณ์กลับมีการตีแผ่เรื่องราวการคอร์รัปชั่น ในการก่อสร้างอาคารเรียนจนเกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์บน โลกออนไลน์ต่อในวงกว้าง แต่ละบทจากหนังสือเล่มนี ้จะทยอยเล่าถึงแง่มุมของพลังกลุ ่มคน ที่ก�าลังเลือนรางระหว่างภาพของสื่อและการสื่อสาร ไปจนถึงการบรรจบกันระหว่างแรง บันดาลใจส่วนตัวสู ่เรื่องส่วนรวม การเคลื่อนไหว ท้าทาย รวมถึงการต่อรองในแต่ละมิติอย่าง รอบด้านซึ่งจะท�าให้เห็นว่าคนตัวเล็กจ�านวนมากสามารถรวมตัวเ GOOGLE AND THE WORLD BRAIN ก�า กับโดย Ben Lewis ในปี 2002 กูเกิลได้เริ่มโปรเจ็กต์ขนาดใหญ่ด้วยการสแกน หนังสือจ�านวนกว่าล้านเล่มอย่างเงียบๆ เพื่อเก็บไว้ในกู เกิลบุ ๊ก อันเป็นความพยายามในการสร้างศูนย์กลางคลัง ความรู ้ขนาดใหญ่ที่จะส่งตรงสู ่ผู ้ใช้ผ่านระบบดิจิทัล สอดคล้องกับงานเขียนแนววิทยาศาสตร์ในปี 1937 ของ เอช.จี. เวลส์ (H.G. Wells) ที่เขียน ถึงประเด็น World Brain หรือคลังสมองของโลกที่จะ น�าพามนุษย์ไปสู ่ปัญญาอันยิ่งใหญ่ แต่ความเป็นจริง หนังสือจ�านวนมากในโปรเจ็กต์ต่างมีลิขสิทธิ และกลาย เป็นคดีฟ้ องร้องอื ้อฉาวในปี 2012 สารคดีเรื่องนี้จึง เป็นการน�าเสนอการวิพากษ์อันเผ็ดร้อนของคณาจารย์ บรรณารักษ์ รวมถึงผู ้บริหารของกูเกิล ซึ่งต่างร่วมสร้าง มุมมองที่น่าสนใจทั้งเรื่องลิขสิทธิ ขอบเขตของเทคโนโลยี ราคาค่างวดของความรู ้ กระทั่งความสามารถในการเข้า ถึงแหล่งความรู ้อย่างเสรี เสมือนเป็นการมอง หาความเป็นไปได้ที่เหมาะสมส�าหรับผู ้คนแต่ละกลุ ่มใน การสร้างสรรค์ และส่งต่อองค์ความรู ้ส�าหรับอนาคตโดย มีเครื่องมือส�าคัญเป็นเทคโนโลยี เรื่อง: เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร และ กริยา บิลยะลา พลังกลุ ่มไร้สังกัด เขียนโดย Clay Shirky แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล BOOK DOCUMENTARY CREATIVE RESOURCE วัตถุทางความคิด

Journal

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Working Design Journal

Citation preview

Page 1: Journal

| Creative Thailand | กมภาพนธ 2558 | วรพล หลงโสะ2

ALONE TOGETHER

Why We Expect More fromTechnology and Less from

Each Other

โดย Sherry Turkle

แคชอหนงสอกตงค�าถามชวนใหคดวา ท�าไมเราถงคาดหวงกบเทคโนโลยมากขน แตกลบคาดหวงจากคนอนลดลง เชอรร เทอรเคล ศาสตราจารยผ เชยวชาญดานค ว า ม สม พน ธ ร ะ ห ว า ง ม น ษ ย แ ล ะเทคโนโลยของสถาบนเทคโนโลยแมสซาชเซตส (MIT) เขยนหนงสอเลมนขนจากผลจากการศกษายาวนานกวา 15 ป เทอรเคลอธบายถงความสมพนธระหวางมนษ ย ท เปล ยนแปลงไปหลงจาก ท

เทคโนโลยเขามามบทบาทในชวตประจ�าวนเปนอยางมาก บางครงเรากหางเหนความรสกของการใชเวลารวมกบผ อนซงนบวนยงท�าใหเราประหลาดใจ เธอยกตวอยางงายๆ วาปจจบนการโทรศพทหากนหรอการพดคยแบบซงหนากลายเปนเรองเคอะเขน หรออาจท�าใหบางคนรสกถกรกล�าความเปนสวนตว แตมนจะสะดวกใจกวาหากสอสารกนดวยการสงขอความ (Text) ผานโปรแกรมสนทนา และเรากใชวธนมากขนเรอยๆ จนกลายเปนนสยโดยทไมรตว จนอาจตองใหค�าจ�ากดความค�าวา “ความสนโดษ” กนใหมแลวจรงๆ

มนษยเปนสตวสงคม จงอาจไมใชเรองเกนคาดหมายส�าหรบปรากฏการณการเชอมตอกนทางอนเทอรเนต แตค�าถามใหญหลงจากนนคอ เทคโนโลยเหลานมผลตอการเปลยนแปลงวถชวตและสงคมในภาพรวมอยางไร ในบทสงทายของเลมผ เขยนไดเลาถงเหตการณแผนดนไหวทมณฑลเสฉวนในจน ซงมการกระจายขาวอยางรวดเรว โดยผ รายงานคนแรกเปนชาวเสฉวนทรายงานผานเครอขายสงคมออนไลนชอควคว จากนนมการอพโหลดภาพการทวตขอมลจนถงสายขาวบบซ ภายใน 40 นาทมการบนทกขอมลในวกพเดย ไมกชวโมงถดมามเวบไซตชวยคนหาผคนทสญหาย และเรมเปดชองทางการบรจาค แตความเหนใจกไมสามารถทดแทนการสญเสยขนรนแรงนได เพราะไมนานหลงเหตการณกลบมการตแผเรองราวการคอรรปชนในการกอสรางอาคารเรยนจนเกดเสยงวพากษวจารณบน

โลกออนไลนตอในวงกวาง แตละบทจากหนงสอเลมนจะทยอยเลาถงแงมมของพลงกลมคนทก�าลงเลอนรางระหวางภาพของสอและการสอสาร ไปจนถงการบรรจบกนระหวางแรงบนดาลใจสวนตวสเรองสวนรวม การเคลอนไหว ทาทาย รวมถงการตอรองในแตละมตอยางรอบดานซงจะท�าใหเหนวาคนตวเลกจ�านวนมากสามารถรวมตวเ

GOOGLE AND

THE WORLD BRAINก�า กบโดย Ben Lewis

ในป 2002 กเกลไดเรมโปรเจกตขนาดใหญดวยการสแกนหนงสอจ�านวนกวาลานเลมอยางเงยบๆ เพอเกบไวในกเกลบก อนเปนความพยายามในการสรางศนยกลางคลงความรขนาดใหญทจะสงตรงสผ ใชผานระบบดจทลสอดคลองกบงานเขยนแนววทยาศาสตรในป 1937 ของ เอช.จ. เวลส (H.G. Wells) ทเขยน

ถงประเดน World Brain หรอคลงสมองของโลกทจะน�าพามนษยไปสปญญาอนยงใหญ แตความเปนจรงหนงสอจ�านวนมากในโปรเจกตตางมลขสทธและกลายเปนคดฟองรองออฉาวในป 2012 สารคดเรองนจงเปนการน�าเสนอการวพากษอนเผดรอนของคณาจารยบรรณารกษ รวมถงผบรหารของกเกล ซงตางรวมสรางมมมองทนาสนใจทงเรองลขสทธ ขอบเขตของเทคโนโลย ราคาคางวดของความร กระทงความสามารถในการเขาถงแหลงความรอยางเสร เสมอนเปนการมอง

หาความเปนไปไดทเหมาะสมส�าหรบผคนแตละกลมในการสรางสรรค และสงตอองคความรส�าหรบอนาคตโดยมเครองมอส�าคญเปนเทคโนโลย

เรอง: เลอชาต ธรรมธรเสถยร และ กรยา บลยะลา

พลงกลมไรสงกดเขยนโดย Clay Shirky

แปลโดย สฤณ อาชวานนทกล

BOOK DOCUMENTARY

CREATIVE RESOURCEวตถทางความคด

Page 2: Journal

| วรพล หลงโสะ | กมภาพนธ 2558 | Creative Thailand | 3

THE DIGITAL ECONOMY

Rethinking Promise and Peril in the Age of

Networked Intelligence

โดย Don Tapscott

ไมวาคณจะคดเหนอยางไร ขณะนเราก�าลงอยในยคทอนเทอรเนตกลายเปนสวนหนงของชวตและเปนสาธารณปโภคพนฐานททกคนถามหา แคลองคดวาถาไมมอนเทอรเนต การตดตอสอสารระหวางกนการรบรขอมลตางๆ จะยากขนเพยงใด หากยอนกลบไปในวนทโลกนเพงรจกอนเทอรเนตไดไมนาน ดอน แทปสกอตต ไดเขยนหนงสอเลมนขน ซงนเปนหนงในหนงสอทขายดทสดในป 1995 เขายงเปนคนแรกทใหค�าจ�ากดความค�าวา “เศรษฐกจฐานดจทล (Digital Economy)” ทหลายคนพดถงกนอยในทกวนน

ในยคอตสาหกรรม เทคโนโลยเครองจกรกลเขามามสวนส�าคญในการสรางมาตรฐานใหกบสงตางๆ เพอปรบปรงประสทธภาพการผลตใหกบธรกจ ขบเคลอนระบบเศรษฐกจแบบทนนยม ทมแนวคดมงตอบสนองความตองการระดบบคคล กระตนใหเกดการใชทรพยากร

อยางไมค�านงถงผลกระทบทอาจเกดขน จรงอยทการแขงขนเปนเรองด แตหากการแขงขนถกยดโยงกบความสามารถในการเขาถงอ�านาจ อาจท�าใหเกดความไมเทาเทยมขนมากมาย และในทสดความตองการแบบไมมทสนสดจะพาเราไปถงทางตน เชนในหลายประเทศทก�าลงประสบปญหาทางเศรษฐกจ

ระหวางทกลไกทนนยมก�าลงกระจายไปทวโลก อนเทอรเนตไดถกพฒนาขนใหเขามาเปนสวนหนงในการชวยลดตนทนการบรหารจดการไมเพยงแตภาคการผลตเทานน แตยงรวมถงการพฒนาการบรการขยายขอบเขตทางธรกจ สรางโอกาสทางการตลาดใหมๆ หลอมรวมโลกเปนหนงเดยว เราอาจไมเชอวานอกจากอนเทอรเนตจะเปลยนวธการเขาถงขอมลแลว มนยงเปลยนวธคดของผคนทมตอสงคมและระบบเศรษฐกจอกดวย

แทปสกอตตเคยกลาวไววา ถอเปนเ รองนาเสยดายทค�าวา “สงคมนยม (Socialism)” ไดถกใชโดยคารล มารกซ (Karl Marx)ไปแลว ไมเชนนนมนอาจเปนค�าทใชอธบายปรากฏการณทเกดขนในปจจบนไดดทสด ในวนทเรามสอสงคม (Social Media) เครอขายสงคม (Social Net-work) และธรกจเพอสงคม (Social Business)พรอมสรรพ นนหมายความวาอนเทอรเนตไดสรางการเขาถงอยางทไมเคยมมากอน คนจะใหความส�าคญกบการรวมกลมมากขน เปนยคของการเปนสวนหนง รวมมอกนสรางสรรคสงใหม ลดความเปน “ของฉน”เพมความเปน “ของเรา” ไมใชแคการแชรขอมลระหวางกน แตรวมถงการแชรภมปญญาทสงสมมาในกลมทมความสนใจเรองเดยวกน จนเกดเปนสงคมทระบบเศรษฐกจในอนาคตจะถกปรบเปลยนไปเพอตอบสนองตอความตองการของกลมสงคมมากขน ทงนเพอการสรางความยงยนใหแกทกคน

เวลาผานไป 20 ป หนงสอเลมนพสจนไดวาแทปสกอตตมองเหนอนาคตของโลกดจทลไดอยางถกตองแมนย�า เขาตพมพหนงสอเลมนอกครง พรอมปรบปรงเนอหาขอมลเชงลกทนาสนใจและเหมาะกบสถานการณปจจบนนอกจากนยงตงประเดนใหฉกคดถงผลกระทบของเทคโนโลยในดานตางๆไมวาจะตอครอบครว เศรษฐกจ สงคม การศกษา และหลกการประชาธปไตยในยคดจทล เพอใหเราไดท�าความเขาใจและพรอมทจะรบมอกบสงทจะเกดขนในอนาคต

FEATURED BOOK

CREATIVE RESOURCEวตถทางความคด