39
Chapter 3 อถ ตฺฤตีโย ธฺยายะ อัธยายที่ ๓ รงฺคไทวตปูชาวิธานมฺ วิธีบูชาเทวดาประจําโรงละคร

The natyasastra chapter3

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฎีนาฏยศาสตร์ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ อาจารย์ธรรมจักร พรหมพ้วย (สงวนสิทธิ์)

Citation preview

Page 1: The natyasastra chapter3

Chapter 3

อถ ตฺฤตีโย ธฺยายะ อัธยายท่ี ๓

รงฺคไทวตปูชาวิธานมฺ

วิธีบูชาเทวดาประจําโรงละคร

Page 2: The natyasastra chapter3

๑ เมื่อโรงละครงามไดสรางขึ้นสมบูรณดวยลักษณะพรอมสรรพแลว

พึงใหโคทั้งหลายอยูในโรงละครน้ัน พรอมดวยพราหมณทั้งหลาย

น่ังภาวนาอยูในน้ัน ๗ วัน ๗ คืน

๒ ครั้นแลว ครูละครพึงอยูบนเวทีในโรงละคร

เวลาค่ําประพรมรางกายดวยนํ้ามนตร

(พราหมณสยาม เรียก สนานกาย - ธรรมจักร)

Page 3: The natyasastra chapter3

๓ พึงสํารวมระวังกายใจ เหมือนไปในที่อ่ืน

นุงหมผาใหม ถือบวช ๓ ราตรี

(พราหมณสยามเรียก ถือพรต ไมกินเน้ือสัตว

กินไดแตผักผลไม ไมอยูดวยภริยา - ธรรมจักร)

Page 4: The natyasastra chapter3

มหาเทพ

พระศิวะ

พระพรหม

พระวิษณุ

พระอินทร

พระขันธกุมาร???

พระสรัสวดี

พระลักษมี

พระสิทธิ (ศักติของพระคเณศ)

พระเมธา (ศักติของพระมนัส-ใจ)

พระธฤดี

พระมติ

ศักติ

Page 5: The natyasastra chapter3

เทพนพเคราะหและโลกบาล

พระจันทร (โสม)

พระอาทิตย (สูรยะ)

พระโลกบาล ท้ัง ๔

พระอัศวิน ท้ัง ๒

พระมิตร (พระอาทิตยองค ๑ ใน ๑๒)

พระอัคนี (พระเพลิง)

พระสวระ (เสียง) ท้ังหลาย

พระวรรณะ (ผิวพรรณ) ท้ังหลาย

พระรุทร ท้ังหลาย

พระกาล

พระกาลี ???

พระมฤตยู

พระนิยติ

พระกาลทัณฑะ

Page 6: The natyasastra chapter3

พระแสงเทพาวุธ

พระแสงจักร ของพระวิษณุ

พระแสงวัชระ ของพระอินทร

พระวิทยุต (สายฟาผา) ???

วาสุกี นาคราช

เทพพาหนะ

Page 7: The natyasastra chapter3

พระสมุทร

คนธรรพ

อัปสร

ฤๅษี

ภูติ

ปศาจ

ยักษ

คุหยกะ

พญานาค

อสูร

อสูรพวกอ่ืนที่ทําลายผูแสดงละคร

เทวดา

รากษส

ยักษ

คุหยกะ

อมนุษย

Page 8: The natyasastra chapter3

นาฏยมารดา มหาครามณี – เทวดาประจําหมูบาน??

Page 9: The natyasastra chapter3

ภวทฺภิรฺนิศายํา กรฺตวฺยะ ศํปริคฺรหะ

สาหายฺยํา ไจว ทาตวฺยมสมินนาเฏย สหานุไคะ

๑๐ ขอพระผูเปนเจาทั้งหลาย พึงกระทําการสงเคราะหพวกขาพเจาใน

เวลาราตรี และขอพระผูเปนเจาทั้งหลายพึงประทานผูชวยเหลือ

คอยติดตามขาพเจาในการแสดงละครน้ีดวยเถิด

Page 10: The natyasastra chapter3

๑๑ แลวรวมเครื่องดนตรี เครื่องละคร บูชาเครื่องท้ังหมดในท่ีแหงเดียวกันแลว

พึงประกอบการบูชาธงชรชระ เพ่ือมีประสิทธิภาพในการแสดงละคร

ตวํ มเหนฺทฺรปฺรหรณฺ สรฺวทานวสูทน

นิรฺมิตสฺตฺวํ สรฺวเทไวะ สรฺววิฆฺนนิรฺพหณ

นฺฤปสฺย วิชยํ ศํส ริปูณํา จ ปราชยมฺ

โคพฺราหฺมณศิวํ ไจว นาฏยสฺย จ วิวรฺธรมฺ

๑๒-๑๓ ขาแตชรชระ ทานเปนเทพอาวุธของพระอินทร เปนผูผลาญอสูรท้ังปวง

เทวดาท้ังหมดสรางทานขึ้นมา เพ่ือใหทําลายอันตรายท้ังปวง ทานจงสดุดีความชนะ

ของพระเจาแผนดิน จงสดุดีความพายแพของศัตรูท้ังหลาย จงสดุดีผูมีคุณงามความดี

คือโคและพราหมณ และจงสดุดีความเจริญรุงเรืองของการแสดงละคร

Page 11: The natyasastra chapter3

เขาไปในโรงละครแลว

พึงทําการบูชาเย็นหรือเชา

ฤกษ นักษัตรฤกษที่เปนปูรวาทั้ง ๓ คือ อารทรา มฆา และภรณี

(ไดแก ปูรวาผาลคุนี ปูรวาษาตะ และปูรวาภาทรปทะ หรือในนักษัตรฤกษ

อาศเลษา และนักษัตรฤกษมูลก็ได)

ครูผูประกอบพิธีทําความสะอาด แลวถวายพลีกรรม (ยกอุลุบ?)

ยกเวทีละคร (ประกาศใหรู)

บูชาเทพเจา

Page 12: The natyasastra chapter3

ฤกษพระยมในเวลาสนธยา (พลบค่ํา) เปนยามแรงและกลาแข็ง

พึงบวนปาก ๓ ครั้ง

เชิญเทวดาเขาโรง

ใชดายแดงผูกรอบขอมือ

บูชาดวยไมจันทนแดง พรอมดอกไมและผลไมแดง

เครื่องกระยาบวด มี ขาวเหนียว เมล็ดพันธุผักกาด ขาวตอก ขาวสาร

ขาวเจาไมแตกหัก ผงดอกบุนนาค ขาวปริยงคุ (จีนเรียกขาวเบะ? - แสง)

ซึ่งไมมีแกลบ

Page 13: The natyasastra chapter3

เขียนวงกลม วัดโดยรอบ (เสนรอบวง??) ๑๖ ศอก ทําทางเขาไปในวงนั้น ๔ ทิศ กลางวงกลมขีดเสน ๒ เสน คือ เสนขวางและเสนขึ้นลง (ขีดเสนกากบาท)

กลางวงกลม ตั้งพระพรหมประทับบนดอกบัว

ทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) พระศิวะ, หมูภูต (บริวารของพระศิวะ) พระนันทิหรือหัวหนาคณะของพระศิวะ, พระพรหม /คือนักบวชท้ังหลาย

ทิศบูรพา (ตะวันออก) พระพรหม, พระอินทร, พระสกันทะ (ขันธกุมาร), พระอาทิตย, พระอัศวินท้ังคู,

พระจันทร, พระสรัสวดี, พระลักษมี, พระนางศรัทธา, พระนางเมธา /อยูมุมเสนเบื้องหนา

Page 14: The natyasastra chapter3

ทิศอาคเนย (ตะวันออกเฉียงใต) พระอัคนี (พระเพลิง), พระนางสวาหา, พระวิศวกรรมพรอมพระคนธรรพ,

พระรุทรพรอมคณะเทวดา

ทิศทักษิณ (ทิศใต) พระยม, พระมิตร พรอมทั้งบริวาร, เทพบรรพบุรุษ, ปศาจ, นาค, คุหยกะ

ทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต) รากษส, ภูติทั้งหลาย

ทิศประจิม (ตะวันตก) พระสมุทร, พระวรุณ, เจาสัตวน้ําทั้งหลาย

Page 15: The natyasastra chapter3

ทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) เทพวายุ ๗ องค (เทพวายุมี ๔๙ องค แบงเปนพวกๆ ละ ๗ องค), ครุฑ, นก

ทั้งหลาย

ทิศอุดร (ทิศเหนือ) พระกุเพระ (กุเวร), นาฏยมารดา, ยักษทั้งหลาย, คุหยกะ

การกําหนดอัฐทิศท้ังแปดนี้ คลายในพระราชพิธีตรีปวายท่ีพราหมณจะนําเทียนวางบูชาทิศท้ัง ๘ และการโรยแปงเปนอัฐทิศ - ธรรมจักร

Page 16: The natyasastra chapter3

๓๙ พึงประดิษฐานเทวรูปทั้งปวงที่งามนาเลื่อมใสไวตามสถานที่อันสมควร

และตามวิธีที่กลาวไวในศาสตรโดยวิธีน้ีแทเชียว

Page 17: The natyasastra chapter3

พระคนธรรพ –ถวายดอกไมขาว ผงจันทนขาว

พระอัคนี, พระอาทิตย – ดอกไมแดง ผงจันทนแดง

๓๕ พึงถวายเครื่องหอม (ผงจันทน) ดอกไม และธูป? โดยลําดับตามวิธีบูชา แลวจึงทําพลีกรรมบูชาตามวิธีอันสมควร

พระพรหม – ขาวสุกคลุกนํ้าผึ้ง

พระสรัสวดี – ขาวมธุปายาส

พระศิวะ พระวิษณุ พระอินทร และเทวดาอ่ืนๆ – ขนมโมทกะ (ขนมโมทกะ คือ ขนมที่ทําดวยแปงถั่วผสมขาวสาลีกวนกับนํ้าตาลและนํ้ามันเนยจนแหงแลวปนเปนกอนกลมๆ ขนาดผลมะนาวใหญๆ ภาษาฮินดี เรียก ลฑู - แสง)

Page 18: The natyasastra chapter3

พระอัคนี – ขาวสุกคลุกนํ้ามันเนย

พระจันทร พระอาทิตย – ขาวสุกคลุกนํ้าออย

พระวิศวกรรม คนธรรพ ฤาษี – ขาวมธุปายาส (ขาวกวนกับนมสดผสมนํ้าผึ้ง?? - แสง)

พระยม พระมิตร – ขนมอาวะปู (คลายขนมเคกของฝรั่ง??? – แสง) ขนมโมทกะ

เทพบรรพบุรุษ ปศาจ นาค – นํ้ามันเนย นมสด

ภูตผี – เน้ือสุก สุรา นํ้าตาลเมา นํ้าผลไมหมัก (เมา)

ชางซับมัน - ถั่วจนะ (ถั่วหัวชาง? - แสง) กะเทาะเปลือก

รากษส – ขาวสุก ปลาดิบ //แยกตางหาก - ธรรมจักร

Page 19: The natyasastra chapter3

ทานพ - สุรา เน้ือ

หมูเทวดานอกน้ัน – ขนมแปง ขาวสุก

พระสาคร (สมุทร) พระสริต (แมนํ้า) – ปลา ขนม ขาวสุก

พระวรุณ – นํ้ามันเนย ขาวมธุปายาส

พระฤาษี (มุนี) – เผือก มัน ผลไม

พระพาย – นกทั้งหลาย โภชนของกินอันวิจิตร?

นาฏยมารดา พระกุเวรพรอมบริวาร – โภชนของกิน? ขนมแปงยอมสี

Page 20: The natyasastra chapter3

๔๕ พึงทําพลี (ถวายเครื่องเซนบวงสรวง) อาศัยโภชนตางๆ แกเทพเจา

ทั้งหลายเหลาน้ี และการทําพลีกรรม ขาพเจา (ภรต) จะกลาวดวยวิธี

ภาวนามนตรกํากับอีกตอไป

Page 21: The natyasastra chapter3

๔๖-๗๑ มนตรบูชาเทพเจาตางๆ ตามลําดับ

ลําดับการอานมนตรบูชา

พระพรหม

พระอินทร

พระขันธกุมาร

พระนารายณ (พระวิษณุ?)

พระคเณศ

พระศิวะ

พระสรัสวดี

พระกุเวร

Page 22: The natyasastra chapter3

ลําดับการอานมนตรบูชา (ตอ) พระลักษม ี พระมรุต (พระพาย-ลม) พระอัคนี พระอาทติย พระจันทร พระนนทิ เทพบรรพบุรษุ คนธรรพ พระยม พญานาค

Page 23: The natyasastra chapter3

ลําดับการอานมนตรบูชา (ตอ)

พระวรุณ

ครุฑ

พระกุเวร (ซ้ําในโศลกที่ ๕๓ เปนองคเดียวกันหรือไม?)

นาฏยมารดา

เทพาวุธของพระเปนเจา

พระยม

เทวดาประจําหมูบาน

คนธรรพเหลาอื่น

Page 24: The natyasastra chapter3

๗๒ พึงต้ังหมอนํ้ามีนํ้าเต็มไวกลางเวทีน้ัน บูชาดวยดอกไมพวงมาลัย

และปดทองเวทีน้ันดวย?

การต้ังหมอนํ้าน้ีเปนการถือเคล็ด ดังเชนละครในสยาม

ปรากฏรูปหมอนํ้าบนสันหลังคาโรงรํา – ธรรมจักร

แทรกรูปโรงรําที่มีหมอนํ้า

Page 25: The natyasastra chapter3

๗๔ บูชาเทวรูปทั้งปวงตามลําดับแลว พึงบูชาดวยของหอม พวงมาลัย ธูป

และอาหารของกินทั้งหลาย

เทียบในพิธีไหวครู ตองรําถวายเครื่อง

และกลาวบทบูชาถวายเครื่อง - ธรรมจักร

Page 26: The natyasastra chapter3

โศลกที่ ๗๕

วันธรรมดา – โพกผาขาว

วันรุทรปรฺวณะ (ดิถีที่มีเทวดาประจํา) – โพกผานํ้าเงิน

วันวิษณุ – โพกผาเหลือง

วันสกันทะ – โพกผาแดง

วันพระจันทรเสวยมูลนักษัตร – โพกผาลาย

พึงถวายธูป มาลัย และแปงหอมเชนเดียวกัน

Page 27: The natyasastra chapter3

ปรฺวณะ หมายถึง ดิถีที่มีเทวดาประจํา ดิถีน้ันมีขางขึ้น ๑๕ วัน ขางแรม

๑๕ วัน หรือเดือนขาดก็มี ๑๔ วัน

ดิถี ๑๕ วันน้ันคือ วัน ๑ ค่ํา พระอัคนี / ๒ ค่ํา พระพรหม / ๓ ค่ํา

พระเคารี / ๔ ค่ํา พระเคศวร / ๕ ค่ํา พระสรรป / ๖ ค่ํา พระสกันทะ /

๗ ค่ํา พระสุริยะ / ๘ ค่ํา พระศิวะ / ๙ ค่ํา พระทุรคา / ๑๐ ค่ํา พระยม /

๑๑ ค่ํา พระ วิศฺวศเทพ / ๑๒ ค่ํา พระวิษณุ / ๑๓ ค่ํา พระกามเทพ /

๑๔ ค่ํา พระรุทร ทั้ง ๑๔ วันน้ี เหมือนกันทั้งขางขึ้นขางแรม แตขึ้น ๑๕ ค่ํา

พระจันทร แรม ๑๕ ค่ํา เทพบรรพบุรุษ

(แสง มนวิทูร)

Page 28: The natyasastra chapter3

๗๗ พึงคลุมเครื่องดนตรีทั้งหมดดวยผา พึงบูชาดวยของหอม (ผงจันทน)

มาลัย ธูปและอาหารของกินทั้งหลาย

(ดูเทียบการผูกผาหนาโขน ผารัดตะโพน ในพิธีไหวครู - ธรรมจักร)

๗๘ ครั้นบูชาดวยของหอม พวงมาลัย และแปงหอมตามวิธีทุกอยางดังน้ี

แลว พึงปลุกเสกชรชระเพ่ือกําจัดอันตรายวา

Page 29: The natyasastra chapter3

๗๙ อตฺร วิฆฺนวินาศารฺถํ ปตามหมุไขสฺสระ

นิรฺมิตสฺตฺวํ มหาวีรฺโย วชฺรสาโร มหาตุนะ

ทาน (ชรชระ) อันเทพเจาท้ังหลายมีพระพรหมเปนประธาน

สรางขึ้นมาเพื่อกําจัดอันตรายในการแสดงละครนี้ ทานเปน

ผูมีความเพียรมาก เปนแกนของวชิราวุธมีรางใหญโต

Page 30: The natyasastra chapter3

๘๐ พระพรหมพรอมดวยหมูเทวดาทั้งปวงจงรักษาศีรษะของทาน

พระศิวะจงรักษาทอนที่ ๒ และพระวิษณุจงรักษาทอนที่ ๓

๘๑ และพระสกันทพะ (ขันธกุมาร) จงรักษาทอนที่ ๔ พญานาค

ผูประเสริฐสุด จงรักาทอนที่ ๕ เทพทั้งปวงจงรักษาทานเปนนิตย

และทานจงเปนผูประกอบดวยคุณงามความดีตอไป

๘๒ ทานเปนผูทําลายศัตรู เกิดในนักษัตรอภิชาต (ช่ัวโมงที่ ๘ - เที่ยงคืน)

อันประเสริฐที่สุด จงนํามาซึ่งชัยชนะและความเจริญใหแกพระเจาแผนดิน

Page 31: The natyasastra chapter3

๘๓ ครั้นบูชาธงชรชระแลว พึงจัดพลีกรรมทั้งหมด ตอไปจึงทําโหม (บูชา)

ทํามนตร บูชาอาหุดี (การบูชาเทวดาในไฟยัญ) ในไฟ

(แทรกรูปพราหมณโหมกูณฑ)

Page 32: The natyasastra chapter3

๘๔ ครูละครพึงสะเดะเคราะห (ชําระใหหมดมลทินโทษ) ดวยวิธีเกรียกไมสมิต (ไมฟน) เปนซี่ จุดตางเทียน เวียนรอบแลวทิ้งลงในกองไฟ ครั้นแลว

พรมนํ้าลงในกองไฟ (นํ้าที่พรมน้ันใสนํ้าตาลเล็กนอยพรมลงครั้งที่ ๑ นํ้าพรมครั้งที่ ๒ ใสการบูร ถือเปนนํ้าอบปากเรียกวา ปริมารชนะ - แสง)

ใหเวียนรอบองคพระเจาแผนดินและตัวละครทั้งหลาย เพ่ือใหเกิดความเจริญรุงเรืองย่ิงๆ ขึ้น

(เทียบธรรมเนียมถวายใบสมิตปดพระองค แลวพราหมณน้ันใบสมิตน้ันกลับมาเผาโหมกูณฑ - ธรรมจักร)

Page 33: The natyasastra chapter3

๘๕ ครั้นเวียนเทียนเสร็จแลว พึงพรมนํ้ามนตรพระเจาแผนดิน และตัว

ละคร แลวจึงพูดกับเขาเหลาน้ันวา

๘๖ ทานทั้งหลายเกิดแลวในตระกูลใหญ และประดับดวยหมูแหง

คุณสมบัติ คือศิลป สิ่งใดประกอบดวยคุณตามกําเนิด (หรือคุณประจําชาติ)

ของทานทั้งหลาย ขอใหสิ่งน้ัน จงมีอยูเปนนิตยเทอญ

๘๗ ครั้นกลาวคําอยางน้ีแลว ผูรู (ครูละคร?) จึงใชคําอํานวยพรเพ่ือความ

เจริญของพระเจาแผนดิน และเพ่ือประสิทธิภาพในการแสดงละคร

Page 34: The natyasastra chapter3

๘๘ นาฏยมารดา (ศักติทั้งปวง - ธรรมจักร) ผูมีสภาพออนโยน คือ

พระนางสรัสวดี พระนางธฤดี พระนางเมธา พระนางหรี พระนางศรี พระ

นางลักษมี พระนางสมฤดี และพระนางมติ ขอจงคุมครองทานทั้งหลาย

และจงอํานวยความสําเร็จแกทานทั้งหลายดวย

(นาฏยมารดา ในที่น้ีไมนาจะหมายถึงมารดาแหงการฟอนรํา แตคือมารดา

แหงโลก – Mother of Earth และไมตรงความหมายกับนาฏยกุมารี -

ธรรมจักร)

Page 35: The natyasastra chapter3

๘๘ ครูละคร ครั้นทําโหม (บูชา) บูชาไฟรายมนตรตามวิธีแลว พึงทุบหมอนํ้าโดยความพยายาม

(หมอที่ใสนํ้ากลางโรงน่ันหรือไม? - ธรรมจักร)

คําทํานาย ทุบครั้งเดียวไมแตก – พระเจาแผนดินจะมีภัยจากศัตรู ทุบครั้งเดียวแตก – พระเจาแผนดินจะส้ินศัตรู

๙๑ ครั้นหมอแตกแลว ตอจากน้ัน ครูละครพึงพยายามประคองดวงประทีปสองใหสวางทั่วโรงละคร

Page 36: The natyasastra chapter3

๙๒ แลวเอาดวงประทีปที่สวางนั้น ต้ังไวกลางเวทีละคร พรอมกับ

สงเสียงโหรองเปาหวีดมือ ส่ิงกระโดดโลดเตนใหอึกทึกครึกโครม

๙๓ พึงใหเลนรบกันในเรื่องละคร

ดวยการบันลือสังขใหญ กลองสองหนา และบัณเฑาะว

พรอมดวยการประโคมเครื่องดนตรีทั้งปวง

๙๔ ในการเลนรบกันนั้น ตองมี ฉีก แจก ถลอก เลือดออก

มีบาดแผลถูกไฟไหมและถูกตีเจ็บปวด

เปนนิมิตแหงลักษณะความสําเร็จของละคร

(เหมือนละครครั้งที่เทวดาชนะอสูร - ธรรมจักร)

Page 37: The natyasastra chapter3

๙๕ สวนโรงละครที่บูชาถูกตองตามวิธี จะนําความดีงามมาใหแก

พระเจาแผนดิน แกเด็ก ผูใหญ และราษฎรอีก

๙๖ แตโรงละครที่บูชาไมถูกวิธี และเทวรูปซึ่งเปนที่สถิตของเทวดาไมดี

(เทวรูปไมงามหรือชํารุด? - แสง) ก็จะเปนเครื่องทําลายตัวละคร

และจะเกิดอัปมงคลแกพระเจาแผนดิน

๙๗ ผูใดเวนวิธีอันถูกตองดังไดกลาวมาอยางน้ีเสียแลว ประกอบการบูชา

ตามอําเภอใจตนเอง จะไดรับการดูหมิ่นโดยเร็ว

และเมื่อตายแลวจะไปเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน

(ตรงกับไทยเรื่องการทําตามโองการไหวครูโดยเครงครัด จะประกอวพิธีเอา

เองตามใจมิได - ธรรมจักร)

Page 38: The natyasastra chapter3

๙๘ จริงอยู การบูชาเทวรูปในโรงละคร จะตองทําใหถูกวิธีบูชา

แตเมื่อยังไมไดบูชาโรงละคร ก็ไมควรแสดงละครใหคนดูเด็ดขาด

๙๙ เทพเจาประจําโรงละครเหลาน้ัน เราบูชา ทานก็บูชาตอบ

เรานับถือ ทานก็นับถือตอบ เพราะฉะน้ัน จึงพยายามทําการบูชาโรงละคร

(ใหถูกตองตามวิธี) ทุกอยาง

๑๐๐ จริงอยู เมื่อสรางโรงละครขึ้นแลว ไมประกอบพิธีการบูชา ไฟจะไหม

ตามโอกาส แตเมื่อประกอบพิธีการบูชาแลวไฟจะไมไหม

ลมจะไมพัดใหหกัโคนทุกขณะ

Page 39: The natyasastra chapter3

๑๐๑ จะตองไดครูละครผูทําพิธีบูชาเปนผูเช่ียวชาญในศาสตร สุภาพ

เรียบรอย มีกายใจสะอาด มีความสงบ ทําการบูชาโรงละคร

๑๐๒ ผูใด ถวายพลีที่ไมสมควร มีใจฟุงซาน ผูน้ันจะตองไดรับบาป

เหมือนผูบูชาโดยปราศจากมนตรกํากับ

๑๐๓ วิธีน้ี ไดช้ีแจงไวในการบูชาเทวรูปในโรงละครดังน้ีแลว

ผูสรางโรงละครพึงทําในการเริ่มเริ่มโรงละครไหมครั้งแรกหนเดียว

(ตอไปไมตองทํา? - แสง)

อัธยายที่ ๓ ช่ือการบูชาเทวรูปในโรงละครในนาฏยศาสตรอันเปนของพระ

ภรตมุนีจบแลว แล ฯ