15
บทที 3 สวนประกอบและระบบการทํ างานของกลองถายภาพ (ที ่มา : รังสรรค ศิริชู . 2530 : 22)

chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

บทท่ี 3สวนประกอบและระบบการทํ างานของกลองถายภาพ

(ท่ีมา : รังสรรค ศิริชู. 2530 : 22)

Page 2: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

17

ผูคนสวนใหญชอบการถายภาพ อยากเก็บภาพสวย ๆ งาม ๆ ไวเปนที่ระลึก ไมวาจะเปนภาพเหตุการณตาง ๆ ภาพบุคคลอันเปนท่ีรัก เพ่ือนสนิทมิตรสหาย สถานที่ที่ไดไปมา บันทึกภาพเหลาน้ันดวยกลองถายภาพ ตามงานตาง ๆ และสถานที่ทองเที่ยวจึงพบเห็นคนสะพายกลองถายภาพเสมอ คุณอาจเปนคนหน่ึงในจํ านวนน้ันก็ได จะเปนการนาเสียดายเพียงใด เม่ือนํ าฟลมไปลางและอัดขยายออกมาแลว ปรากฏวาภาพที่ถาย “เสีย” ไมมีใครอยากเจอกับเหตุการณเชนน้ีกับตนเองเปนแน

ดังน้ัน การปองกันความผิดพลาดเหลาน้ี ไดดวยการศึกษาและฝกฝน กลวิธีในการถายภาพ เพื่อจะไดไมเสียใจในภายหลัง

ตอไปนี้จะกลาวถึงสิ่งที่เปนพื้นฐาน ท่ีนักถายภาพทุกคนจะตองรู เม่ือรูแลวนํ าไปปรับใหเขากับสถานการณท่ีตองการถาย ไดแก กลองถายภาพ ฟลม อุปกรณถายภาพท่ีควรรูจักการจัดองคประกอบภาพ เปนตน

นักถายภาพท่ีดีน้ัน สิ่งแรกที่จะตองทํ าคือ ทํ าความรูจักกับกลองถายภาพของตนเองใหละเอียดที่สุด รูวาปุมใดอยูตรงไหนบนตัวกลองถายภาพ ทํ าหนาที่อยางไร และมีผลตอภาพที่ถายเชนใด กลองถายภาพตางรุน ตางย่ีหอ อาจจะวางตํ าแหนงของปุมตาง ๆ ไมเหมือนกัน หนาตาอาจจะตางกันบาง แตก็มีหนาท่ีท่ีเหมือนกัน นอกจากน้ันกลองถายภาพในบางรุนอาจมีปุมกลไกพิเศษเพิ่มมาตางหากเพื่อใหถายภาพสะดวกมากขึ้น หรือสรางภาพลักษณะพิเศษ ใหแปลกไปกวาภาพธรรมดาท่ัว ๆ ไป เชน ถายภาพซอนไดหลายคร้ังในฟลมเดียวกัน เปนตน แนนอนราคายอมแพงข้ึนดวย

สวนประกอบของกลองถายภาพ ที่จํ าเปนอยางย่ิงยวดท่ีนักถายภาพจะตองรูตํ าแหนงลักษณะการทํ างาน การควบคุม และผลของภาพที่จะไดออกมา น่ันคือ

3.1 ตัวกลอง (Camera Body)

ตัวกลอง นักถายภาพมักเรียกทับศัพทวา “บอด้ี” (Body) ตัวกลองเปนเสมือนหองมืดขนาดเล็ก คอยปองกันแสงสวางที่ไมตองการเขากลอง มักทํ าดวยโลหะหรือพลาสติกแข็งลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มีความหนาประมาณน้ิวคร่ึงเพ่ือใหจับกระชับมือเวลาถาย ภายในมีที่วางพอที่จะบรรจุฟลมได ฉาบดวยสีดํ าท้ังหมดและเปนส่ีดาน เพ่ือปองกันการสะทอนแสงภาย

Page 3: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

18

ในตัวกลอง ตัวกลองยังมีกลไกตาง ๆ ท่ีชวยในการถายภาพต้ังอยู เชน ชัตเตอร ปุมกรอฟลมกลับ ที่ตั้งความไวแสงของฟลม วงแหวนปรับโฟกัส ฯลฯ

ภาพท่ี 3.1 แสดงสวนประกอบของกลองถายภาพ (ที่มา : Doeffinger. 1985 : 15)

Page 4: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

19

ภาพท่ี 3.2 (ก) แสดงภาพดานหนาและดานบนของกลอง Nikon FM 2 N

1. ปุมถายภาพซอน 13. ที่กรอฟลมกลับ2. เลขบอกจํ านวนฟลม 14. แขนกรอฟลม3. ไกชัตเตอร 15. ลอคฝาหลังกลอง4. ที่ขึ้นฟลมพรอมชัตเตอร 16. เครื่องหนวงลั่นไก5. ที่ต้ังความเร็วชัตเตอร 17. ท่ีตรวจความชัดลึก6. ที่ต้ังความไวแสงของฟลม 18. ที่ลอคเลนส7. เครื่องหมายชี้ความเร็วชัตเตอร 19. กระจกสะทอนภาพ8. จุดสัมผัสกับแฟลช 20. เมาท (Mount)9. จุดตอเพื่อบอกความพรอมของแฟลช 21. เคร่ืองหมายถอดเปล่ียนเลนส10. ฐานเสียบแฟลช (Hot shoe) 22. ท่ีปลดลอคเลนส11. ที่บอกขนาดรูรับแสงซึ่งปรากฏในชอง 23. ท่ีตอสายแฟลช

มองภาพ เมื่อใชกับเลนส AI 24. ท่ีรอยสายกลอง12. ท่ีบอกตํ าแหนงของฟลมในกลอง

Page 5: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

20

ภาพท่ี 3.2 (ข) แสดงภาพดานหลังและดานลางของกลอง Nikon FM 2 N (ท่ีมา : Nikon. 1993 : 11)

25. ขอบยางชองมองภาพ26. ไฟบอกความพรอมของแฟลช27. ชองมองภาพ28. เมมโมโฮลเดอร (Memo holder)29. ฝาหลังกลอง30. ชองตอมอเตอรไดรฟ31. ชองใสแบตเตอร่ี32. สกรูใสขาต้ังกลอง33. ปุมปลดลอคกรอฟลมกลับ34. มอเตอรไดรฟใชกดไกชัดเตอร35. ที่ขึ้นฟลมเมื่อใชมอเตอรไดรฟ

Page 6: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

21

3.2 เลนส (Lens)

ภาพท่ี 3.3 แสดงภาพกลองถายภาพและเลนส(ท่ีมา : Nikon. 1993 : 7)

เลนสเปนอุปกรณท่ีทํ าจากแกวใสที่มีคุณภาพสูง เปนสวนท่ีมีราคาแพงท่ีสุดในกลองถายภาพ กลองท่ีมีราคาถูกเลนสอาจทํ าดวยพลาสติก ลักษณะเปนเลนสอันเดียว ในกลองที่มีราคาแพงจะเปนกลุมเลนสหลายอันมาเรียงตอกัน ภายในกระบอกเลนส มีประมาณ 5 - 7 อัน มีทั้งเลนสนูนและเลนสเวา เลนสทํ าหนาท่ีหักเหแสง ท่ีสะทอนจากวัตถุผานเลนสเขาไปภายในกลองทํ าใหเกิดภาพจริงหัวกลับตกกระทบบนฟลม ภาพท่ีไดมีคุณภาพดีหรือไม เลนสเปนสวนสํ าคัญท่ีสุด

นอกจากน้ีเลนสถูกออกแบบมา ใหสามารถแกสีท่ีเพ้ียนและแกความคลาดเคล่ือนของรูปทรงใหถูกตองตามความเปนจริงอีกดวย ผิวเลนสจะเคลือบดวยสารเคมีปองกันแสงสะทอน ดังน้ัน ควรเช็ดเลนสอยางนุมนวล ดวยหนังชามัวร หรือกระดาษเช็ดเลนสท่ีผลิตมาเพ่ือการน้ีโดยเฉพาะเทานั้น

เลนสท่ีใชกับกลองแตละแบบ มีขนาดแตกตางกันออกไป โดยจัดแบงตามความยาวโฟกัส (Focus) ของเลนส หรือเปล่ียนเลนสไดหลายขนาด ในกลองบางรุน ซึ่งจะไดกลาวในเรื่องของเลนสโดยเฉพาะตอไป

Page 7: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

22

3.3 ไดอะแฟรม (Diaphragm)

ภายในกระบอกเลนสจะมีแผนโลหะบางสีดํ า ลักษณะเปนกลีบเรียงซอนกัน เม่ือปรับวงแหวนปรับรูรับแสง กลีบโลหะจะขยับทํ าใหรูรับแสงมีขนาดเล็ก หรือเปดกวางไดตามตองการดังน้ัน รูรับแสงจึงทํ าหนาท่ีกํ าหนดปริมาณของแสงท่ีเขากลอง รูรับแสงเล็กแสงจะเขาไดนอย รูรับแสงท่ีกวางแสงก็เขาไดมาก รูรับแสงขนาดตาง ๆ จะถูกกํ ากับดวยตัวเลขเพ่ือใหทราบขนาดของรูรับแสง ดานนอกของกระบอกเลนส จะเปนวงแหวนใหหมุนไปมาได จึงเรียกอีกอยางวา“วงแหวนปรับรูรับแสง” (Aperture Ring)

ภาพท่ี 3.4 แสดงขนาดของรูรับแสงและความยาวโฟกัส (ท่ีมา : สุมิตรา ขันตยาลงกต. 2534 : 10)

ภาพท่ี 3.5 แสดงรูรับแสงขนาดตาง ๆ (ที่มา : สมาน เฉตระการ. 2532 : 35)

Page 8: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

23

ตัวเลขเหลาน้ีจะเรียงกันตามลํ าดับ จากนอยไปหาเลขคามาก คาของตัวเลข เรียกวาเอฟนัมเบอร (F/Number) หรือ เอฟสตอป (F/Stop) ไดจากอัตราสวนของความยาวโฟกัสของเลนส กับเสนผาศูนยกลางของรูรับแสง

เอฟสตอป = ความยาวโฟกัสของเลนส เสนผาศูนยกลางรูรับแสง

ตัวอยางเอฟสตอปจะเรียงตามลํ าดับดังน้ี 1.4, 2, 2.8, 4, 5.6, 8, 11, 16, 22, 32เอฟสตอปที่มีคานอยที่สุด รูรับแสงจะกวางที่สุด น่ันคือ ยอมใหแสงผานเขากลองมากที่สุด ในทางตรงกันขามเอฟสตอปที่มีคามากที่สุด รูรับแสงจะเล็กที่สุด และยอมใหแสงผานเขากลองนอยท่ีสดุดวย ตัวเลขเอฟสตอปจะเขียนอยูบนวงแหวนปรับรูรับแสง

3.4 ชัตเตอร (Shutter)

ชัตเตอรมีลักษณะเปนมานที่ทํ าดวยผาหรือแผนโลหะบางสีดํ า ต้ังอยูระหวางเลนสกับฟลม มีกลไกบังคับใหชัตเตอรเปดปดได เรียกวา “ไกชัดเตอร” และสามารถกํ าหนดเวลาการเปดปดชัตเตอรไดนานเทาที่ตองการ โดยการปรับที่ปุมความเร็วชัตเตอร ซ่ึงอยูตํ าแหนงติดกับไกชัตเตอร สังเกตไดโดยมีเลขกํ ากับไดแก B 1 2 4 8 15 30 60 125 250 500 เรียงตามลํ าดับเลขเหลาน้ีเปนเลขสวนของเศษหน่ึง มีหนวยเปนวินาที

เมื่อปรับปุมความเร็วชัตเตอรไปที่เลข 1 หมายความวา เม่ือเรากดไกชัดเตอร ชัตเตอรชัตเตอรจะเปดใหแสงผานเขาไปกระทบกับฟลม เปนเวลา 1/1 วินาที ซ่ึงก็คือชัตเตอรเปดอยูนาน1 วินาที ถาปรับไปท่ีเลข 2 ชัตเตอรจะเปดนาน 1/2 วินาที (คร่ึงวินาที) ถาเปนเลข 125 ชัตเตอรจะเปดโดยใชเวลานอยลง คือ 1/125 วินาที (เศษหน่ึงสวนหน่ึงรอยย่ีสิบหาวินาที) ซึ่งเร็วมากจนตามองแทบไมเห็น

นอกจากชุดตัวเลขความเร็วชัตเตอรแลว บนปุมปรับความเร็วชัตเตอรน้ียังมีตัวอักษร“B” รวมอยูดวย ยอมาจากคํ าวา Brief Time แปลวา ชวงเวลาสั้น ๆ ใชกับการถายภาพท่ีตองการความเร็วชัตเตอรนานกวา 1 วินาที โดยเม่ือต้ังความเร็วชัตเตอรท่ี B เมือ่กดไกชัตเตอรจะเปดคาง

Page 9: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

24

ไว จนกวาจะปลอยน้ิวท่ีกดไกชตัเตอร ชัตเตอรจึงจะปด มีไวสํ าหรับใชถายภาพในที่ที่มีแสงนอยมาก ๆ เชน ไฟตามทองถนน แสงไฟในงานเทศกาลตาง ๆ ในเวลาค่ํ าคืน เราสามารถถายต้ังแตหลาย ๆ วินาที จนถึงหลาย ๆ ชั่วโมง ท้ังน้ีผูถายตองจับเวลาเอาเองและจัดใหกลองน่ิงท่ีสุด จึงนิยมใชคูกับขาต้ังกลอง (Tripod) ซึ่งจะไดกลาวตอไป

ภาพท่ี 3.6 แสดงความเร็วชัตเตอรและกลีบชัตเตอร (ที่มา : Nikon. 1993 : 4)

ชัตเตอรจึงทํ าหนาท่ีกํ าหนดปริมาณของแสงท่ีผานเขากลองดวยเวลาเปดปด เวลามากแสงก็เขาไดมาก (เลขคานอย) เวลานอยแสงก็เขาไดนอย (เลขคามาก) ตัวอยาง เชน ความเร็วชัตเตอรที่ 1 / 60 แสงเขาไดมากกวา 1 / 125 วินาที

ชัตเตอรมีดวยกันสองแบบ คือ แบบโฟคัลเพลน (Focal - Plane) ซึ่งเปนชัตเตอรที่เปดปดตามแนวตั้งหรือตามแนวนอน แบบท่ีสองเปนแบบลีฟ (Leaf) มีลักษณะเปนกลีบซอนกันคลายกลีบมานเปดรูรับแสง

ความสัมพันธระหวางความเร็วชัตเตอรกับรูรับแสง จะไดกลาวในรายละเอียดในเร่ืองหลกัการถายภาพ

Page 10: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

25

ภาพท่ี 3.7 แสดงชัตเตอรแบบโฟคัลเพลนและแบบลีฟ (ท่ีมา : The Image Bank. 1988 : 13-4)

3.5 วงแหวนปรับโฟกัส (Focusing Ring)

มักจะอยูขอบกระบอกเลนสของกลอง สามารถปรับไดโดยการหมุนเล่ือนไปทางซายหรือขวา มีตัวเลขเขียนบนวงแหวนสองชุดเรียงเปนแถว มีตัวอักษรกํ ากับคือ M และ Ft โดยท่ีM เปนหนวยของระยะทางเปนเมตร และ Ft มีหนวยเปนฟุต ในกลองถายภาพท่ีมีราคาถูก อาจจะใชรูปภาพแทนตัวเลขก็ได

Page 11: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

26

ภาพท่ี 3.8 แสดงตํ าแหนงของวงแหวนปรับโฟกัส (ท่ีมา : Nikon. 1993 : 22)

เมื่อเราปรับโฟกัสเลนสจะยึดออก และเมื่อหมุนไปทางตรงขามเลนสก็จะหดเขา เพื่อใหไดภาพท่ีชัดตามท่ีตองการ ในการปรับโฟกัส (ปรับความคมชัด) สามารถเลือกทํ าได 2 วิธี วิธีแรกโดยการวัดระยะจากตัวแบบถึงกลอง อาจคาดคะเนระยะทางก็ไดแลวปรับวงแหวนปรับโฟกัสใหตัวเลขบนวงแหวนตรงกับขีดท่ีวัดระยะได วิธีท่ีสองเปนการปรับโฟกัสโดยมองในชองมองภาพที่พบมากมีดวยกัน 2 แบบ โดยท่ีแบบแรกเปนแบบสปลิท-อิมเมจ (Split-image) คือการแบงคร่ึงภาพออกเปนสองสวนแยกจากกัน ผูถายเพียงปรับท่ีวงแหวนปรับโฟกัส ภาพทั้งสองสวนก็จะคอยๆ ขยับเขามาตอกันจนตอกันสนิทเปนภาพเดียวกัน เทานี้ก็จะไดภาพที่คมชัดที่สุด

โฟกัสอีกแบบ คือแบบซุปเปอรอิมโพส-อิมเมจ (Superimposed-image) มีลักษณะเปนภาพสองภาพซอนกัน โดยเหล่ือมกันอยูเล็กนอย เม่ือปรับวงแหวนปรับโฟกัส ภาพจะเลื่อนซอนทับกันเปนภาพเดียว น่ันคือระยะโฟกัสท่ีตองการ

ภาพท่ี 3.9 แสดงโฟกัสแบบสปริท - อิมเมจและแบบซุปเปอรอิมโพส-อิมเมจ (ที่มา : สมาน เฉตระการ. 2532 : 39)

Page 12: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

27

3.6 สวนประกอบอื่น ๆ

3.6.1 ชองมองภาพ (Viewfinder)

ภาพท่ี 3.10 แสดงเคร่ืองหมายตาง ๆ บนจอวิวไฟนเดอร (ท่ีมา : Nikon. 1993 : 6)

ใชสํ าหรับมองดูวัตถุท่ีจะถาย เพ่ือจัดองคประกอบของภาพ และใชเปนจอรับภาพ เพื่อท่ีนักถายภาพจะไดเห็นลักษณะ และขอบเขตของภาพที่จะบันทึกบนฟลม รวมท้ังความคมชัดนอกจากน้ีภายในกลองบางตัว ยังมีเครื่องวัดแสงซึ่งอาจเปนเข็มหรือสัญญาณไฟ เพ่ือบอกใหรูวาแสงขณะนั้นเปนเชนไร จะไดปรับกลองใหไดนอรมอล (Normal) ในกลองบางตัวยังอํ านวยความสะดวกเพิ่มขึ้นอีก โดยการเพ่ิมตัวเลขบอกขนาดหนากลองและความเร็วชัดเตอร จะไดไมตองละสายตามามองดานนอกกลอง ทํ าใหเสียเวลา

3.6.2 ที่ตั้งความไวแสงของฟลม (Film Speed Dial)เน่ืองจากฟลมในทองตลาด มีความไวแสงหลายระดับใหเลือกใช เพื่อใหเหมาะกับงาน

แตละอยาง สภาพแสงแตละแบบ ดังนั้นจึงจํ าเปนท่ีจะตองบอกกับกลอง วาขณะนี้ใชฟลมอะไรอยูเพื่อท่ีเคร่ืองวัดแสงในกลอง จะไดวัดแสงไดอยางถูกตอง ในกลองบางรุนมีระบบอานรหัสดีเอ็กซ (DX Code) ซ่ึงสามารถตรวจไดเอง วามีฟลมชนิดใดอยูในกลองก็นับวาสะดวกดี

Page 13: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

28

ภาพท่ี 3.11 แสดงที่ตั้งความไวแสงของฟลมและรหัสดีเอ็กซที่กลักฟลม (ที่มา : Taylor. 1985 : 54)

โดยท่ัวไปตํ าแหนงท่ีปรับต้ังความไวแสง จะอยูรวมกับปุมท่ีต้ังความเร็วชัดเตอรหรือท่ีกรอฟลมกลับท่ีใดท่ีหน่ึง สังเกตไดโดยท่ีจะมีตัวอักษร ASA หรือ ISO กํ ากับ ซ่ึงคือหนวยความไวแสงของฟลมนั่นเอง

3.6.3 ปุมลั่นไกชัตเตอร (Shutter Release Button)

ภาพท่ี 3.12 แสดงปุมล่ันไกชัตเตอร (ท่ีมา : Nikon. 1993 : 11)

ปุมน้ีมักอยูสวนบนของกลองดานขวามือ ตรงตํ าแหนงท่ีสามารถวางน้ิวช้ีไดพอดี เพื่อสะดวกในการกดไกชัตเตอร เม่ือจะถายก็เพียงแตกดลงเบา ๆ ในกลองบางรุน การกดลงไปเล็กนอย เปนการเปดเคร่ืองวัดแสงของกลองดวย

Page 14: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

29

3.6.4 คานเลื่อนฟลม (Film Advance Lever)

ภาพท่ี 3.13 แสดงตํ าแหนงคานเล่ือนฟลม (ท่ีมา : Nikon. 1993 : 11)

สวนใหญเปนคานสามารถงางหมุนได โดยใชนิ้วหัวแมโปงงางหมุนไป ทํ าหนาท่ีเล่ือนฟลมท่ีถายแลวใหเคล่ือนท่ีไป โดยใหฟลมท่ียังไมไดถายเคล่ือนเขามาแทนท่ี เพ่ือรอการถายภาพตอไป การขึ้นฟลมจะรวมถึงการขึ้นชัตเตอรดวยพรอมกันไป แตถาเปนกลองสะทอนภาพเลนสคูที่ขึ้นฟลมกับที่ขึ้นชัตเตอรจะแยกจากกัน ผูถายจะตองข้ึนไกชัตเตอรทุกคร้ัง หลังจากขึ้นฟลมแลว

3.6.5 ตัวเลขบอกจํ านวนภาพ (Film Counter Number)บนตัวกลองจะมีที่บอกจํ านวนฟลม เพ่ือใหผูถายไดทราบวา ถายภาพไปแลวเทาไร

และยังคงเหลืออีกกี่ภาพที่ยังไมไดถาย

3.6.6 ฐานเสียบแฟลช (Hot Shoe)เปนชองสํ าหรับเสียบฐานแฟลชเขากับตัวกลอง เพ่ือใหแฟลชติดกับตัวกลองต้ังอยูสวน

บนของกลอง ที่ฐานแฟลชนี้จะมีหนาสัมผัสโลหะใหแฟลชสัมผัสได เพ่ือท่ีวาขณะท่ีถายชัดเตอรจะลั่นไกพรอมกับการสวางของแฟลช ดังน้ันจึงไมตองมีสายแฟลชเช่ือมตออีก

3.6.7 ชองเสียบสายแฟลช (Flash Socket)ในกรณีกลองบางตัวไมมีฐานเสียบแฟลช หรือตองการถายโดยแยกแฟลชออกจาก

กลอง จะตองใชสายแฟลชตอเชื่อม โดยเสียบเขาท่ีชองเสียบ ซ่ึงมีตัวอักษร X กํ ากับ

Page 15: chapter3 ส่วนประกอบและระบบการทำงานของกล้องถ่ายภาพ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

30

3.6.8 ท่ีถายเองอัตโนมัติ (Self Timer Lever)การไปถายภาพภายนอกสถานท่ีตามลํ าพัง หรือตองการถายคนท้ังกลุมรวมท้ังคนถาย

ดวย ในท่ีน้ันอาจจะหาใครชวยถายไมได ท่ีถายเองอัตโนมัติจะชวยไดโดยการหมุนปุมน้ีแลวจัดภาพใหสวยงาม อยาลืมกันท่ีสํ าหรับคนถายดวย จากน้ันกดไกชัตเตอรกอนท่ีชัตเตอรจะล่ันไก มีเวลาประมาณ 10 - 15 วินาที ท่ีคนถายจะว่ิงไปยืนในตํ าแหนงที่เตรียมไว

3.6.9 ที่กรอฟลมกลับ (Film Rewind Button)ตํ าแหนงท่ีจะกลาวถึงสุดทาย ในเร่ืองสวนประกอบของกลองถายภาพไดแกท่ีกรอฟลม

กลับ เมื่อถายภาพจนฟลมหมดมวน จํ าเปนที่จะตองกรอฟลมกลับเขากลักฟลมเพื่อนํ าไปลางตอไป ในการกรอฟลม จะตองปลดลอคกันฟลมหมุนกลับเสียกอน โดยการกดปุมใตฐานกลองจากน้ันก็จะสามารถกรอฟลมกลับโดยงาย กรอจนแนใจวา ฟลมกลับเขากลักหมดแลว จึงเปดฝาหลังกลอง นํ าฟลมออกจากกลองเพ่ือนํ าไปลางตอไป

สวนประกอบของกลองที่กลาวมา เปนส่ิงท่ีกลองโดยท่ัวไปมี แตก็ยังมีบางกลอง ที่มีสวนประกอบเพิ่มเติมมากกวานี้ เพือ่อํ านวยความสะดวกในการถายและราคาก็สูงตามไปดวยโดยเฉพาะกลองรุนใหม ๆ ที่มีระบบไมโครคอมพิวเตอรบรรจุอยูภายใน อยางไรก็ตามนักถายภาพก็สามารถทราบกลไกที่เพิ่มมานั้นไดจากคูมือ (Manual) ท่ีแนบมาใหพรอมกลอง ดังน้ัน จึงไมควรละเลยหรือท้ิงไปโดยไมไดอานอยางเด็ดขาด