12
กกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกก (Couple Oscillation) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก : กกกกกก กกกกก กกกกก กกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกก(oscillation)[1]กกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกก(Simple Harmonic Motion)[2] กกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก[3] กกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกก(Couple Oscillation)[1] กกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก[4] กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกก (Couple Oscillation)กกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก

personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

การทดลองเรื่อง การศึกษาการแกวง่ของลกูตุ้มแบบควบคู่ (Couple Oscillation)ชื่อผู้ทดลองและเขยีนรายงาน : ศุภณัฐ สงัขเ์พช็ร

บทนำา

เราคงเคยได้ยนิหรอืเคยได้รูจ้กัการเคล่ือนที่แบบสัน่ของลกูตุ้ม(oscillation)[1]จากการทดลองอยา่งง่ายและจากวชิาฟสิกิสใ์นระดับมธัยมศึกษาตอนปลายมาบา้งแล้ว โดยสว่นมากจะเป็นการเคล่ือนท่ีของลกูตุ้มอยา่งง่าย(Simple Harmonic Motion)[2] การเคล่ือนท่ีเชน่น้ีเป็นการเคล่ือนท่ีภายใต้เง่ือนไขหลักอนุรกัษ์พลังงานซึ่งท่ีจุดใดๆในการเคล่ือนที่นัน้ จะมพีลังงานรวมเท่ากันทกุจุด ตัวอยา่งที่เราพบเหน็ได้ในชวีติประจำาวนัท่ีใกล้ตัวเรามากท่ีสดุก็คือนาฬิกาลกูตุ้ม[3] หากลองศึกษาเพิม่เต่ิมจะพบวา่การเคล่ือนที่แบบสัน่น้ี ยงัมอีีกหลากหลายรูปแบบ หน่ึงในนัน้คือการแกวง่แบบควบคู่(Couple Oscillation)[1] ซึ่งเป็นการตัวอยา่งท่ีชดัเจนในเรื่องของการถ่ายทอดพลังงานในการเคล่ือนที่แบบกวดัแกวง่[4]

ในรายงานน้ีคณะทดลองสนใจท่ีจะศึกษาการแกวง่ของลกูตุ้มแบบควบคู่ (Couple Oscillation)และต้องการสรา้งแบบจำาลองการเคล่ือนที่ของลกูตุ้มเพื่อใชอ้ธบิายลักษณะการเคล่ือนที่ของลกูตุ้มภายใต้หลักอนุรกัษ์พลังงาน ทัง้น้ีคณะทดลองยงัสนใจอีกวา่ถ้าเปล่ียนขนาดของความยาวเชอืกท่ีหอ้ยลกูตุ้มแล้ว จะมผีลต่อการเคล่ือนท่ีอยา่งไรซึ่งจะมาพูดอภิปรายในสว่นสดุท้าย

Page 2: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

วธิกีารทดลอง

ในการทดลองนี้เราทำาการแกวง่ลกูเหล็กมมีวล 0.0446 kg โดยแกวง่เป็นมุมθ เล็กๆจากจุดคงท่ี (equilibrium point ,θeq=0) ดังรูป โดยมรีะยะหา่งระหวา่งลกูเหล็ก 2 ลกู เท่ากับ 19 เซนติเมตร ทำาการบนัทึกวดีิโอของการเคล่ือนท่ีโดยใชก้ล้องท่ีมคีวามเรว็ 210 เฟรม/วนิาที เพื่อนำาขอ้มูลท่ีได้ไปหา ระยะทางการเคล่ือนที่ของลกูเหล็ก โดยใชโ้ปรแกรม Tracker คำานวณ ใชs้tep size เท่ากับ 10 และนำาไปคำานวณหาค่า eigen –frequency,f และคำานวณหาค่า (coupling strength)

กรณีแรก เพื่อเป็นการศึกษาลักษณะการเคล่ือนท่ีของ Couple Oscillation และเพื่อง่ายต่อการคำานวณ คณะทดลองจงึกำาหนดใหเ้ป็นการเคล่ือนท่ีที่ปราศจากแรงต้านอากาศ และประมาณวา่ลกูเหล็กทัง้สองลกูมมีวลเท่ากัน สรา้งแบบจำาลองการเคล่ือนท่ีของระบบและหาค่า eigen –frequency,f นำาขอ้มูลที่ได้จากการ tracker มา

Page 3: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

คำานวณหาค่า f โดยใช ้Fourier Transform จากโปรแกรม MATLAB และนำาค่าfท่ีได้ไปหาค่า

กรณีที่สอง เพื่อศึกษาความสมัพนัธข์องเชอืกกับค่าfคณะทดลองจงึทำาการเปล่ียนความเชอืกท่ีหอ้ยลกูเหล็กเป็น 15,20,30 เซนติเมตร ตามลำาดับ โดยใหค้วามยาวระหวา่งมวลหอ้ยทัง้สอง ยงัมคี่าเท่าเดิมเท่ากับ 19 เซนติเมตร นำาขอ้มูลที่ได้มาคำานวณหาค่า f และค่า ดังเชน่กรณีแรก

กรณีที่สาม เน่ืองจากการใช ้Fourier transform เป็นวธิสีากลในการหา eigen-frequencies ซึ่งอาจมไีด้หลายค่า แต่ในกรณีนี้เรามคี่า eigen-frequencies 2 ค่า ซึ่งอาจใชว้ธิลัีดจากการสมการตรโีกณ

Y=A sin (ω1 t )+A sin (ω2 t )=2 Acos((ω1−ω2

2) t )sin((

ω1+ω2

2) t) คณะทดลองจงึพจิารณา

ลักษณะของผลการทดลองเพื่อหาค่า ω1−ω2

2 และ ω1+ω2

2และนำาไปเปรยีบเทียบการหา

ค่า eigen-frequencies โดยการใช ้Fourier transform

ผลการทดลองและการอภิปรายผล

สรา้งแบบจำาลอง เราสามารถสรา้งแบจำาลองของระบบการเคล่ือนที่น้ีได้จากพลังงานศักย(์โดยประมาณ) ซึ่งพลังงานศักยจ์ะอยุใ่นรูป

V ≈−mglcos (θ1 )−mglcos (θ2 )+12 τ (θ1−θ2)2

นิยาม K ij=d2Vd x j x i

, x1=lθ1 , x2=lθ2 จะได้วา่ K ij=1l2

d2Vdθ jθ i

เมื่อพจิารณาท่ีตำาแหน่งสมดลุ (θ¿¿1=θ2=0)¿

K 11=1l2

d2Vdθ1

2=1l2

¿ K 12=1l2

d2Vd θ1θ2

=−1l2

K 21=1l2

d2Vdθ2θ1

=−1l2

K 22=1l2

d2Vd θ2

2 =1l2

¿

Page 4: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

จาก d2

d t 2(θ1θ2

)=−1m l2

A2x 2(θ1θ2) เมื่อ A2 x2=(K11 K12

K21 K22)=−1

ml2¿

เมื่อแก้สมการแล้ว จะสามารถหาค่า ω ได้ โดยท่ี

ω1≈√|−gl |,ω2≈√|−g

l− 2 τ

ml2|τ ≈

|ω12−ω2

2|ml2

2

สมการการเคล่ือนท่ี

Y=A sin (ω1 t )+A sin (ω2t )=2 Acos((ω1−ω2

2) t)sin((

ω1+ω2

2) t)

เมื่อ ความแรงควบคู่(coupling strength) , ω มคี่าเท่ากับ2πf

g ความเรง่โน้มถ่วงของโลก มคี่าเท่ากับ 9.81 kg .ms2

, M มวลของลกูเหล็กมคี่า

เท่ากับ 0.446 kg

l ความยาวของเชอืกหอ้ยลกูเหล็ก มหีน่วยเป็นเซนติเมตร

Page 5: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

รูปท่ี1 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง eigen-frequency กับ amplitude ท่ีความยาวเชอืก 25 เซนติเมตร

กรณีที่ 1 เพื่อเป็นการศึกษาลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบแกวง่แบบควบคู่ของลกูตุ้ม คณะทดลองทำาการบนัทึกวดิีโอการเคล่ือนที่ นำามา tracker และนำาขอ้มูลท่ีได้มาพล๊อตกราฟหา eigen-frequency,f โดยใชโ้ปรแกรม MATLAB ดังรูปท่ี1 ผลจากการพล็อตกราฟได้ค่า eigen-frequency 2 ค่า คือ f 1≈0.9251Hz , f 2≈0.9537Hz และ

นำาค่าf นำามาหา (coupling strength) ท่ีจากสมการ τ=|ω12−ω2

2|ml2

2

โดยที่ ω=2πf จากการคำานวณ ได้วา่ ≈0.0030 จู ล

รูปท่ี2 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง eigen-frequency กับ amplitude ท่ีความยาวเชอืก 15 เซนติเมตร

Page 6: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

รูปท่ี3 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง eigen-frequency กับ amplitude ท่ีความยาวเชอืก 20 เซนติเมตร

รูปท่ี4 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง eigen-frequency กับ amplitude ท่ีความยาวเชอืก 30 เซนติเมตร

Page 7: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

กรณีที่สอง เพื่อศึกษาความสมัพนัธข์องเชอืกกับค่าf คณะทดลองจงึทำาการเปล่ียนความเชอืกท่ีหอ้ยเป็น 15 ,20 และ 30 เซนติเมตร ตามลำาดับ ทำาการ tracker โดยใชโ้ปรแกรม tracker และนำาค่าท่ีได้มาพล็อตกราฟเพื่อหาค่า eigen-frequency ,f ท่ีความยาวเชอืก 15 เซนติเมตร (รูปท่ี 2) ผลจากการพล็อตกราฟได้ค่า eigen-frequency คือ f 1≈1.157Hz , f 2≈1.21Hz ซึ่งเมื่อคำานวณหาค่า ได้ค่า≈0.0025 จู ล ในขณะท่ีเมื่อทำาการเปล่ียนความยาวเชอืกเท่ากับ 20 เซนติเมตร (รูปท่ี 3) ผลจากการพล็อตกราฟได้ค่า eigen-frequency คือ f 1≈1.015Hz , f 2≈1.055Hz ซึ่งคำานวณหาค่า ได้ ≈0.0029 จู ล และเมื่อเปล่ียนความยาวเชอืกเท่ากับ 30 เซนติเมตร(รูปท่ี 4) ผลจากการพล็อตกราฟเพื่อหา eigen-frequency ผลจากการพล็อตกราฟ ได้ค่า eigen-frequency คือ f 1≈0.8574Hz , f 2≈0.8796Hz ซึ่งคำานวณหาค่า ได้≈0.0031 จู ล ซึ่งเมื่อเปรยีบเทียบกับกรณีแรกแล้ว พบวา่ท่ีความยาวเชอืกเท่ากับ 20 เซนติเมตร, 25 เซนติเมตร และ 30 เซนติเมตร ได้ค่า ค่อนขา้งใกล้กัน โดยมีความคลาดเคล่ือนประมาณ 3 % เมื่อคิดจากเชอืกความยาว 25 เซนติเมตร

รูปท่ี5 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง Time กับ Displacement ท่ีความยาวเชอืก 25 เซนติเมตร

Page 8: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

รูปท่ี6 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง Time กับ Displacement ท่ีความยาวเชอืก 15 เซนติเมตร

รูปท่ี7 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง Time กับ Displacement ท่ีความยาวเชอืก 20 เซนติเมตร

Page 9: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

รูปท่ี8 แสดงความสมัพนัธร์ะหวา่ง Time กับ Displacement ท่ีความยาวเชอืก 30 เซนติเมตร

กรณีที่สาม เพื่อเปรยีบเทียบการหา eigen-frequency โดยวธิ ีFourier Transform กับการหาจากสมการตรโีกณ สมการตรโีกณ

Y=A sin (ω1 t )+A sin (ω2t )=2 Acos((ω1−ω2

2 ) t)sin((ω1+ω2

2 )t ) คณะทดลองจงึได้ทำาการพ

ล็อตกราฟระหวา่งเวลา(วนิาที) กับ การกระจดั(เมตร) ท่ีความยาวเชอืก 25 เซนติเมตร (รูปท่ี 5) โดยใหร้ะยะ P≈|T1−T2|และ Q≈|T3−T 4| คือ คาบการเคล่ือนท่ีของคล่ืนทัง้สองขบวน และนำาค่าP,Q ท่ีได้จากการคำานวณมาหา ω1และ ω2 จากความ

สมัพนัธ ์ω1−ω2

2และ

ω1+ω2

2 ซึ่งผลจากการคำานวณได้ค่า ω1≈5.58

rads

,ω1≈5.94rads

ด้วยผลลัพธน์ี้ สามารถคำานวณหา eigen-frequency และค่า ได้ ผลจากการคำานวณได้f 1≈0.88Hz , f 2≈0.945Hz เมื่อเทียบกับวธิ ีFourier Transform พบวา่มีความคลาดเคล่ือนประมาณ 0.9% สำาหรบัในกรณีท่ีความยาวเชอืกเท่ากับ 15 เซนติเมตร (รูปท่ี6) เมื่อพล็อตกราฟแล้วหาค่าP,Q แล้วคำานวณหาω ผลจากการ

คำานวณได้ ω1≈7.06rads

,ω1≈7.71rads และคำานวณหา eigen-frequency ได้

f 1≈1.12Hz , f 2≈1.22Hz เมื่อเปรยีบเทียบกับวธิ ีFourier Transform พบวา่มีความคลาดเคล่ือนประมาณ 0.8% ในขณะที่เมื่อใชค้วามยาวเชอืก 20 เซนติเมตร

Page 10: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

เมื่อพล็อตกราฟและคำานวณหาค่าω และ f ผลจากการคำานวณได้

ω16.35rads

,ω1≈6.87rads และได้ f 1≈1.01Hz , f 2≈1.09Hz ซึ่งเมื่อเปรยีบเทียบกับวธิ ี

Fourier Transform พบวา่มคีวามคลาดเคล่ือนประมาณ 3.8% และเมื่อลองเปล่ียนความยาวเชอืกเป็น 30 เซนติเมตร ทำาการพล็อตกราฟเพื่อหาค่า ω และ f

ผลลัพธท่ี์ได้คือ ω1≈5.34rads

,ω1≈5.58rads และได้ f 1≈0.84Hz , f 2≈0.88Hz เมื่อลอง

เปรยีบเทียบกับวธิ ีFourier Transform พบวา่มคีวามคลาดเคล่ือนประมาณ 1.15% เมื่อพจิารณาจากผลการทดลองทัง้หมดแล้ว คณะทดลองพบวา่การหา eigen-frequency โดยวธิหีาจากสมการตรโีกณมติิ ใหผ้ลได้ใกล้เคียงกับวธิFีourier Transform และยงัพบอีกวา่ค่าτ ท่ีได้จากการทดลองเมื่อเปล่ียนความยาวเชอืก มคี่าค่อนขา้งใกล้เคียงกัน สามารถประมาณได้ค่าเป็ฯค่าคงท่ีของการทดลอง

สรุปผลการทดลอง

จากการศึกษาการแกวง่ของลกูตุ้มแบบควบคู่ (Couple Oscillation) และหาค่า eigen-frequency และค่า coupling strength, จากผลการทดลอง พบวา่เมื่อเปล่ียนความยาวเชอืกท่ีระยะต่างๆ ค่าท่ีได้จากการคำานวณโดยวธิ ีFourier Transform มคี่าใกล้เคียงกัน และสามารถประมาณได้วา่เป็นค่าคงท่ี โดยในกรณีท่ีเชอืกมคีวามยาวไมน่้อยเกิน จะใหผ้ลลัพธท่ีืแมน่ยำากวา่ ซึ่งในการทดลองนี้มคี่า ≈0.003 จู ล นอกจากนัน้คณะทดลองยงัพบวา่ เมื่อทำาการหา eigen-

frequency จากสมการตรโีกณ

Y=A sin (ω1 t )+A sin (ω2t )=2 Acos((ω1−ω2

2 ) t)sin((ω1+ω2

2 )t ) มคีวามใกล้เคียงกับการหา

โดยวธิ ีFourier Transform ซึ่งในกรณีท่ีต้องการวดัอยา่งครา่วๆ สามารถใชแ้ทนวธิ ีFourier Transform ได้ โดยการทดลองนี้คณะทดลองเหน็วา่การศึกษาเชงิทฤษฎีที่จะสามารถนำามาอธบิายผลดังกล่าวมคีวามน่าสนใจที่จะศึกษาต่อไป

Page 11: personal.sut.ac.thpersonal.sut.ac.th/worawat/GradedLabs/Suppanut_lab4_t.docx · Web viewกรณ ท 1 เพ อเป นการศ กษาล กษณะการเคล

ครบถ้วน 14 คะแนน ค่า P ต้อง 2 ลกู เป็น 1 คาบนะครบั น้องอาจจะเขา้ใจผิด

เอกสารอ้างอิง

[1] http://en.wikipedia.org/wiki/Oscillation

[2] http://en.wikipedia.org/wiki/Simple_harmonic_motion

[3] http://ntc.wattano.ac.th/www/scorm/science/Web%20CAI/skywatcher/Pendulum.htm l [4] http://www.youtube.com/watch?v=izy4a5erom8