24
ความหลายหลายทางชีวภาพ รายวิชา ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 4 โดย ครูณิชัชฌา อาโยวงษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ความหลากหลายทางชีวภาพ, สื่อการเรียนการสอน,สื่อการเรียนการสอนชีววิทยา

Citation preview

Page 1: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลายหลายทางชีวภาพ

รายวิชา ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

โดย ครูณชิัชฌา อาโยวงษ ์กลุ่มสาระการเรยีนรู้วิทยาศาสตร์

Page 2: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

1. อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศได ้

2. อธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชวีิต

3. อธิบายความส าคัญของความหลากหลายทางชีวภาพได ้

4. เสนอแนะแนวทางในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพได ้

Page 3: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง

การมีสิ่งมีชีวติมากมาย และแตกต่างกัน

ประกอบด้วย

ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species diversity)

Biodiversity

ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic diversity)

ความหลากหลายของระบบนิเวศ (Ecological diversity)

Page 4: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

แขนงวชิาชีววิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

อนุกรมวิธานวิทยา (Taxonomy หรือ Systemics)

การจ าแนกหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต (Classification) การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ (Nomenclature)

การระบุชนิดสิ่งมีชีวิตที่ศึกษา (Identification)

Page 5: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ประวัติการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ

อริสโตเติล (Aristotle) 350 ปี ก่อนคริสต์ศักราช

แบ่งสิ่งมีชีวิตเป็น 2 กลุ่มคือ ? พืช และ สัตว์

Page 6: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

จอห์น เรย ์(John Ray) ค.ศ.1628 - 1750

ใช้ค าว่า สปีชีส์ (Species) หมายถึง

สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์แล้วให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน

Page 7: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

SELECTIVE BREEDING

• The Liger is the result of breeding a female Tiger to a male Lion.

• The liger has both stripes and spots. The stripes are inherited from its tiger parent and the spots from the lion parent.

• On their hind legs, ligers stand approximately 12 feet tall. At most, ligers may weigh up to 1,000 pounds.

Page 8: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

The Cama is the result of breeding a Llama

to a Camel.

Parents in background of picture.

Page 9: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

The Zebroid is the result of

breeding

a female Horse and a male

Zebra.

The Zedonk / Zonkey is

the result of breeding

a female Donkey and

male Zebra.

Page 10: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

Geep - These are the result of a sheep

and a goat.

Page 11: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

The Mule is the result of breeding a female horse

(mare) to a male donkey (jack). The

mule is superior to the horse in strength,

endurance, intelligence and disease resistance.

Page 12: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)

ค.ศ.1707-1778

จ าแนกพืช โดยเกสรตัวผู้เป็นเกณฑ์

จ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ครึ่งน้ าครึ่งบก สัตว์เลื้อยคลาน นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

Page 13: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ระบบทวินาม (Binomial nomenclature)

การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์

ชื่อสกุล (generic name)

ชื่อที่ระบุสปีชีส์ (specific epithet)

Page 14: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)

ค.ศ.1707-1778

บิดาแห่งอนุกรมวิธานวิทยาพืชและสัตว์

Page 15: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ตัวอย่างชื่อวิทยาศาสตร ์

Dog สุนัขบ้าน

Canis familianis

Cat แมว

Felis domesticus

Page 16: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชื่อไทย ปลาบึก ชื่อสามัญ Makong giant catfish ชื่อวิทยาศาสตร์ Pangasianodon gigas ถิ่นอาศัย ในแม่น้ าโขงของไทย ที่เชียงราย เชียงของ และประเทศลาว

Page 17: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชื่อไทย ปลานิล ชื่อสามัญ Nile tilapia ชื่อวิทยาศาสตร์ Oreochromis niloticus ถิ่นอาศัย ทวีปแอฟริกา ทะเลสาบในประเทศซูดาน ยูกันดา แทนแกนยิกา

Page 18: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

“ปูราชิน”ี เป็นปูน ้าจืด

มี 3 ส ีคือ ขาเป็นสีแดง ตรงโคนขา

ก้ามหนีบ และบริเวณขอบกระดอง

เป็นสีขาว ตรงกลางกระดองเป็นสีน ้าเงิน

ชื่อวิทยาศาสตร์ Thaiphusa sirikit (Naiyanetr, 1992)

ชื่อภาษาอังกฤษว่า Regal crab

ปัจจุบันปูราชินีจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองที่หายากในสภาพธรรมชาติ

Page 19: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตเป็นหมวดหมู่ การจ าแนกสิ่งมีชีวิต

สปีชีส์

อาณาจักร

โดเมน

Page 20: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ล าดับขั้นของสิ่งมีชีวิต level of living organism

Species

Genus Family Order Class

Phylum / Division Kingdom Domain

Page 21: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

หลักเกณฑ์การจ าแนกสิ่งมีชีวิต

1. ลักษณะทางสัณฐานวทิยา

2. กระบวนการทางเคมีและสรีระวิทยา 3. พัฒนาการตั้งแต่แรกเกิดจนเจริญเติบโตเต็มที่

4. ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ

5. พฤติกรรมของสิง่มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

Page 22: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

การระบุชนิด

เครื่องมือที่ใช้ในการระบุชนิดหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิต

คือ

ไดโคโตมัสคีย์ (Dichotomous key)

Page 23: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

หลักการของไดโคโตมัสคีย์

การจัดกลุ่มที่มีความแตกต่างกันทีละ 2 กลุ่ม

โดยพิจารณาจากลักษณะที่มีความแตกต่างกันมากที่สุด

และพิจารณาลักษณะย่อยทีละ 2 กลุ่มไปเรื่อยๆ

Page 24: คลิก Download บทที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ตัวอย่าง การจัดหมวดหมู่ของเมล็ดพืช

เมล็ดทั้งหมด

เมล็ดกลม

ขนาดใหญ ่

เปลือก

มีสีอ่อน

สีเหลืองอ่อน (ขนุน)

ขาว (เงาะ)

เปลือก

มีสีเข้ม

สีด า เมล็ดกลม (ล าไย)

เมล็ดกลมรี (น้อยหน่า)

สีเขียว (เมล็ดบัว)

ขนาดเล็ก สีด า (มะละกอ)

สีเหลืองอ่อน (ส้ม)

เมล็ดแบน ขนาดใหญ ่

สีด า (แตงโม)

สีน้ าตาล (ฟักทอง) ขนาดเล็ก (มะเขือ)