19
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 1 ครูผูชวย 2560 ทีคําถาม คําตอบ 1 คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด - Virtue Virtue Virtue Virtue 2 คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง อะไร อะไร อะไร อะไร - สภาพคุณงามความดี สภาพคุณงามความดี สภาพคุณงามความดี สภาพคุณงามความดี 3 กูด (Good 1973: 641) ไดใหความหมายของคุณ คุณ คุณ คุณธรรม ( ธรรม ( ธรรม ( ธรรม (Virtue) Virtue) Virtue) Virtue) ไววา อยางไร คุณธรรม คือ ความดีงาม ความดีงาม ความดีงาม ความดีงามของลักษณะนิสัย หรือพฤติกรรมที่ไดกระทําจนเคยชิน คุณธรรม คือ คุณภาพที่บุคคลไดกระทําตาม ความคิดและมาตรฐานของสังคมซึ่งเกี่ยวของ กับความประพฤติและศีลธรรม คุณธรรม คือ คุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติ คุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติ คุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติ คุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติ ทางจรรยาตอสังคม 4 สรุป คุณธรรม คือ อุปนิสัยอันดีงามที่อยู อุปนิสัยอันดีงามที่อยู อุปนิสัยอันดีงามที่อยู อุปนิสัยอันดีงามที่อยู ในจิตใจของคน ในจิตใจของคน ในจิตใจของคน ในจิตใจของคน

คุณธรรม

Embed Size (px)

Citation preview

ความสําเร็จไมไดเกิดข้ึนกับทุกคน คนท่ีมีความมุงมั่นและพยายามเทาน้ัน...ท่ีจะไดพบเจอ..

1 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

������� ��� ����������� ��� ����������� ��� ����������� ��� ����

�������� ��!�" �#$������������ ��!�" �#$������������ ��!�" �#$������������ ��!�" �#$����

ที่ คําถาม คําตอบ

1 คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด - VirtueVirtueVirtueVirtue

2 คุณธรรมคุณธรรมคุณธรรมคุณธรรม

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน

พ.ศ. 2542 หมายถึง อะไรอะไรอะไรอะไร

- สภาพคณุงามความดีสภาพคณุงามความดีสภาพคณุงามความดีสภาพคณุงามความดี

3 กูด (Good 1973: 641)

ไดใหความหมายของคุณคุณคุณคุณธรรม (ธรรม (ธรรม (ธรรม (Virtue)Virtue)Virtue)Virtue)

ไววา อยางไร

� คุณธรรม คือ ความดงีามความดงีามความดงีามความดงีามของลักษณะนิสัยหรือพฤติกรรมที่ไดกระทําจนเคยชิน

� คุณธรรม คือ คุณภาพท่ีบุคคลไดกระทําตามความคิดและมาตรฐานของสังคมซึ่งเก่ียวของกับความประพฤติและศีลธรรม

� คุณธรรม คือ คณุสมบัติทีย่ดึม่ันในการปฏิบัติคณุสมบัติทีย่ดึม่ันในการปฏิบัติคณุสมบัติทีย่ดึม่ันในการปฏิบัติคณุสมบัติทีย่ดึม่ันในการปฏิบัติ

ทางจรรยาตอสังคม

4 สรุป คุณธรรม คือ � อุปนสิยัอนัดงีามท่ีอยูอุปนสิยัอนัดงีามท่ีอยูอุปนสิยัอนัดงีามท่ีอยูอุปนสิยัอนัดงีามท่ีอยู ในจิตใจของคน ในจิตใจของคน ในจิตใจของคน ในจิตใจของคน

������� ��� ���� ��� �� �� �

�������

ความสําเร็จไมไดเกิดข้ึนกับทุกคน คนท่ีมีความมุงมั่นและพยายามเทาน้ัน...ท่ีจะไดพบเจอ..

2 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ คําถาม คําตอบ

5 จริยธรรม มาจากคาํใน ภาษาอังกฤษ คําใด � EthicsEthicsEthicsEthics

6 “จริยธรรม” มาจาก คําวาอะไร � จรยิะ + ธรรมะจรยิะ + ธรรมะจรยิะ + ธรรมะจรยิะ + ธรรมะ

7 “จริยะ” หมายถึง อะไร

� ความประพฤติความประพฤติความประพฤติความประพฤติ � หรอืกรยิาท่ีควรประพฤติปฏิบติัหรอืกรยิาท่ีควรประพฤติปฏิบติัหรอืกรยิาท่ีควรประพฤติปฏิบติัหรอืกรยิาท่ีควรประพฤติปฏิบติั

ที่ คําถาม คําตอบ

8 คุณธรรม หมายถึงอะไร � ธรรมดานดีใน จติใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จติใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จติใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จติใจของแตละบุคคล

9 จริยธรรม หมายถึงอะไร � การกระทํา/ แสดงออกของคณุธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคณุธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคณุธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคณุธรรม

��� ����

���# (������� / ��� ����)

ความสําเร็จไมไดเกิดข้ึนกับทุกคน คนท่ีมีความมุงมั่นและพยายามเทาน้ัน...ท่ีจะไดพบเจอ..

3 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ คําถาม คําตอบ

11 คานิยม

มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด

� ValueValueValueValue

12 คานิยม

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน

พ.ศ. 2542 หมายถึงอะไร

� สิ่งท่ีบุคคลหรอืสงัคมยดึถือบุคคลหรอืสงัคมยดึถือบุคคลหรอืสงัคมยดึถือบุคคลหรอืสงัคมยดึถือ เปนเครื่องชวยตัดสินใจ และกําหนดการกระทําของตนเอง.

13 ประเภทของคานิยม มีก่ีประเภท � 2 ประเภท

14 คานิยม มี 2 ประเภท คือ 1. คานิยมสวนบุคคล 2. คานิยมของสังคม

15 คานิยมสวนบุคคล หมายถึง � การท่ีบคุคลตัดสนิใจบคุคลตัดสนิใจบคุคลตัดสนิใจบคุคลตัดสนิใจเลือกในสิ่งหรือสถานการณที่ตนตองการหรือพอใจ

16 คานิยมของสังคม หมายถึง � คานิยมของคนสวนใหญในสงัคมคนสวนใหญในสงัคมคนสวนใหญในสงัคมคนสวนใหญในสงัคม กลาวคือสมาชิกของสังคมสวนใหญยอมรับ วาเปนสิ่งที่ดีงาม หรือควรแกการปฏิบัติสิ่งหรือสถานการณนั้น

�� �� �

ความสําเร็จไมไดเกิดข้ึนกับทุกคน คนท่ีมีความมุงมั่นและพยายามเทาน้ัน...ท่ีจะไดพบเจอ..

4 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

+�� �, - � �, ��

17 อิทธิบาท 4 - คุณธรรมท่ีทําใหประสบความสําเร็จ

18 สังคหวัตถุ 4 - คุณธรรมท่ีเปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ

19 พรหมวิหาร 4 - ธรรมสําหรับผูปกครอง/ธรรมสําหรับผูใหญ

20 ธรรมของฆราวาส 4 - คุณธรรมของผูครองเรือน

21 อริยสัจ 4 - ความจริงอันประเสริฐ

22 ทศพิธราชธรรม - จริยวัตร 10 ประการที่พระเจาแผนดินปฏิบัติ

23 กัลยาณมิตรธรรม 7 : - ธรรมบุคคลที่เปนเพ่ือนที่ดี

24 สัปปุริสธรรม 7 - ธรรมของสัตบุรุษ (บุคคลท่ีนานับถือ/ธรรมของคนดี)

25 สติสัมปชัญญะธรรม - ธรรมมีอุปการะมาก : สมเด็จพระญาณสังวรฯ

26 หิริโอตตัปปะ - คุณธรรมอันเปนเครื่องคุมครองโลก

27 เบญจศีล (ศีล5) - คุณธรรมท่ีเปนขอหาม

28 เบญจธรรม” (เบญจกัลยาณธรรม) - ธรรม 5 ธรรมอันดีงามหาอยาง (คุณธรรมหาประการ)

29 ขันธ 5 (เบญจขันธ ) - องคประกอบของชีวิตมนุษย

30 สุจริต 3 - ความประพฤติชอบ 3 ประการ

31 อคติ 4 - คุณธรรมท่ีไมควรปฏิบัติ( ความลําเอียง )

��������+���, ��45��6 �� ��+�

ความสําเร็จไมไดเกิดข้ึนกับทุกคน คนท่ีมีความมุงมั่นและพยายามเทาน้ัน...ท่ีจะไดพบเจอ..

5 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

+�� คําถาม คําตอบ

32 อบายมุข 4 / อบายมุข 6 - ทางแหงความเส่ือม

33 มรรค 8 - ทางดําเนินชีวิตอันประเสริฐ

34 โลกธรรม 8

- ธรรมท่ีครอบงําสัตวโลกเปนความจริงที่ทุกคนตองประสบอยางหลีกเล่ียงไมได

35 สุจริต 3 - ความประพฤติชอบ 3 ประการ

36 ไตรลักษณ

- ธรรมท่ีเปนสามัญลักษณะ หรือลักษณะท่ีเสมอกันเปนธรรมที่พระพุทธเจาไดตรัสรู ๓ อยาง

37 โอวาท 3 - คําแนะนําคําตักเตือนคํากลาวสอนโอวาทของพระสัมมาสัมพุทธเจา 3 ประการ

38 ไตรสิกขา - ขอสําหรับศึกษา, การศึกษาขอปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝกฝนอบรมตนในเรื่องท่ีพึงศึกษา 3 อยาง

39 ทิศ 6

- บุคคลประเภทตางๆ ท่ีเราตองเก่ียวของสัมพันธ ดุจทิศท่ีอยูรอบตัวจัดเปน ๖ ทิศ

ความสําเร็จไมไดเกิดข้ึนกับทุกคน คนท่ีมีความมุงมั่นและพยายามเทาน้ัน...ท่ีจะไดพบเจอ..

6 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

7 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

1 อิทธิบาท 4 คุณธรรมที่ทําใหประสบความสําเร็จ 1. ฉนัฉนัฉนัฉนัทะ ความพอใจรกัรกัรกัรกัใครในสิ่งนั้น 2. วิววิิวิริยะ ความพากเพียรเพียรเพียรเพียรในสิ่งนั้น 3. จิตจิตจิตจิตตะ ความเอาใจใสใจใสใจใสใจใสฝกใฝในสิ่งนั้น 4. วิมังสาาาา ความหมั่นสอดสองในเหตุผลของสิ่งนั้น

2 สังคหวัตถุ 4 คุณธรรมที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ 1. ทาน การใหสิ่งที่ควรให 2. ปยวาจา การพูดจาดวยถอยคําไพเราะนาฟงพูดในสิ่งที่เปน

คุณประโยชน 3. อัตถจริยา ประพฤติประโยชนแกผูอื่น และแกตนเอง 4. สมานัตตตา ประพฤติตนใหเสมอตนเสมอปลาย ไมถือตัว

3 พรหมวิหาร 4 ธรรมสําหรับผูใหญ 1. เมเมเมเมตตา ความปรารถนาใหผูอื่นไดรับสุขรับสุขรับสุขรับสุข 2. กกกกรุณา ความปราถนาใหผูอื่นพนทุกขพนทุกขพนทุกขพนทุกข 3. มุมุมุมุทิตา ความยินดียินดียินดียินดเีมื่อผูอื่นไดดี 4. อุอุอุอุเบกขา การรูจักวางเฉยวางเฉยวางเฉยวางเฉย

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

8 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

5 ธรรมของฆราวาส 4 คุณธรรมของผูครองเรือน 1. สจัสจัสจัสจัจะ ความซื่อสัตยสัตยสัตยสัตยตอกัน ซื่อตรงตอกัน 2. ทมะทมะทมะทมะ การรูจักขมจิตรูจักขมจิตรูจักขมจิตรูจักขมจิตขมใจขมใจขมใจขมใจของตน 3. ขันติขันติขันติขันติ ความอดทนอดทนอดทนอดทน อดทนตอความลําบากตรากตรํา 4. จาคะจาคะจาคะจาคะ ความเสยีสละเสยีสละเสยีสละเสยีสละ สละวัตถุสิ่งของสงเคราะหเอื้อเฟอกัน

6 อริยสัจ 4 ธรรมที่เปนความจริงอันประเสริฐ

1. ทุกข การมีอยูของทุกข 2.2.2.2. สมุทัย เหตุแหงทุกข 3. นิโรธ ความดับทุกข 4. มรรค หนทางนําไปสูความดับทุกข

7 ธรรมหลัก 4 ประการ

แนวคิดอริสโตเติล 1. ความรอบคอบ รูวาอะไรควรประพฤติปฏิบัติ

2. ความกลาหาญ ความกลาเผชิญตอความเปนจริง

3. การรูจักประมาณ การกระทําใหเหมาะสมกับ สภาพและ ฐานะของตน

4. ความยุติธรรม การใหแกทุกคนตามความเหมาะสม

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

9 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

8 อคติ 4 ความลําเอียง ( คุณธรรมที่ไมควรปฏิบัติ)

1. ฉันทาคติ หมายถึง ความลาํเอียงเพราะรัก เพราะชอบเป็นพิเศษ 2. โทสาคติ หมายถึง ความลาํเอียงเพราะความเกลียดชัง ไม่ชอบ 3. โมหาคติ หมายถึง ความลาํเอียงเพราะไม่รู้ ความเขลา 4. ภยาคติ หมายถึง ความลาํเอียงเพราะกลัวหรือเกรงใจ

9 ทศพิธราชธรรม จริยวัตร 10 ประการที่พระเจาแผนดินปฏิบัติ

- เปนคุณธรรมประจําตนของผูปกครอง

บานเมือง บริหารระดับสูงในทุกองคกร

1. ทาน : การให 2. ศีล : ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ 3. บริจาค : การเสียสละ ความสุขสวนตนเพื่อความสุขสวนรวม 4. อาชชชชวะ : ความซื่ซืซ่ื่ซื่อตรง ซื่อสัตย 5. มัทวะ : นิสัยออนโยน มนุษยสัมพันธดี 6. ตบะ : ความเพียร 7. อกฺโกธะ : ความไมแสดงความโกรธ 8. อวิหิงสา : การไมเบียดเบียน 9. ขันติ : การมีความอดทน ตอสิ่งทั้งปวง 10. อวิโรธนะ : ความหนักแนน ถือความถูกตอง เที่ยงธรรมเปนหลัก

เสมอตนเสมอปลาย

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

10 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

10 กัลยาณมิตรธรรม 7 : ธรรมบุคคลที่เปนเพื่อนที่ดี 1. ปโย นารัก 2. ครุ นาเคารพ 3. ภาวนีโย นายกยอง 4. วัตตา รูจักพูด 5. วจวจวจวจนักขโม อดทนตอถอยคําถอยคําถอยคําถอยคํา 6. คัมภีคัมภีคัมภีคัมภีรัญจะกถัง กัตตา กลาวเรือ่งยากใหเขาใจเรือ่งยากใหเขาใจเรือ่งยากใหเขาใจเรือ่งยากใหเขาใจไดงาย 7. โนโนโนโน จักฏฐาเน นิโยชเย ไมไมไมไมแนะนําในชักจูงไปในทางไมดี

11 สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ

(บุคคลที่นานับถือ/ธรรมของคนดี)

1. ธัมมัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหสาเหตุสาเหตุสาเหตุสาเหตุ 2. อัตถัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหสาระและผลผลผลผล 3. อัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหตนเองตนเองตนเองตนเอง 4. มัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักหลักของความพอดี การรูจักประมาณรูจักประมาณรูจักประมาณรูจักประมาณ 5. กาลัญุตา คือ ความเปนรูจักปฏิบัติตนใหถูกกาลเทศะกาลเทศะกาลเทศะกาลเทศะ 6. ปริสัญุตา คือ การปรบัตนและแกไขตนใหเหมาะกับชุมชนชุมชนชุมชนชุมชน 7. ปุคคลัญุตา คือ ความเปนผูรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับบุคคลบุคคลบุคคลบุคคล

12 สติสัมปชัญญะธรรม ธรรมมีอุปการะมาก

: สมเด็จพระญาณสังวรฯ

� สติ คือ ความระลึกได � สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวอยูเสมอ

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

11 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

13 หิริโอตตัปปะ คุณธรรมอันเปนเครื่องคุมครองโลก � หิริ คือ ความละอายละอายละอายละอายใจตอการทําบาป � โอตัปปะ คือ ความเกรงกลวัเกรงกลวัเกรงกลวัเกรงกลวัตอบาปที่จะเกิดขึ้นจากการกระทํา

14 ขันติโสรัจจะ

ธรรมอันทําใหงาม � ขันติ คือ คือ คือ คือ ความอดทนความอดทนความอดทนความอดทน � โสรัจจะ คือ ความสงบเสงีย่มสงบเสงีย่มสงบเสงีย่มสงบเสงีย่ม ความมีอัธยางาม ความเรียบรอย

15 เบญจศีล (ศีล5) คุณธรรมที่เปนขอหาม 1. ปาณาติปาตา เวรมณี เวนจากฆาสัตวมีชีวิต 2. อทินนาทานา เวรมณี เวนจากการถือเอาของที่เจาของมิไดให 3. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เวนจากการประพฤติผิดในกาม 4. มุสาวาทา เวรมณี เวนจากการกลาวเท็จ 5. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี เวนจากการดื่มน้ําเมา

16 ขันธ 5 (เบญจขันธ )

องคประกอบของชีวิตมนุษย 1. รูปขันธ 2. วิญญาณขันธ 3. เวทนาขันธ 4. สัญญาขันธ 5. สังขารขันธ

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

12 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

17 ไตรลักษณ

ธรรมที่เปนสามัญลักษณะ หรือลักษณะที่เสมอกันเปนธรรมที่พระพุทธเจาไดตรัสรู ๓ อยาง

1. อนิจจตา (อนิจจัง) คอื ความไมเที่ยง 2. ทุกขตา (ทุกขัง) คือ ความเปนทุกข 3. อนัตตตา (อนัตตา) คอื ความไมใชตัวตน

18 สุจริต 3 ความประพฤติชอบ 3 ประการ 1. กายสุจริต ( กาย) 2. วจีสุจริต (วาจา) 3. มโนสุจริต (ใจ)

19 อบายมุข 4

อบายมุข 6

ทางแหงความเสื่อม อบายมุข อบายมุข อบายมุข อบายมุข 4444 1. เป็นนักเลงหญิง 2. เป็นนักเลงสุรา 3. เป็นนักเลงการพนัน 4. คบคนชั่วเป็นมิตร

อบายมขุ อบายมขุ อบายมขุ อบายมขุ 6666 1. เป็นนักเลงหญิง 2. เป็นนักเลงสุรา

3. เป็นนักเลงการพนัน 4. คบคนชั่วเป็นมิตร 5 เที่ยวกลางคืน 6 เกียจครานทํางาน

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

13 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

20 เบญจธรรม”

(เบญจกัลยาณธรรม)

ธรรมอันดีงาม 5 อยาง

คุณธรรม 5 ประการ

1. เมตตาและกรณุาเมตตาและกรณุาเมตตาและกรณุาเมตตาและกรณุา คือ ความรักใครปรารถนาใหมีความสุขความเจริญ และความสงสารคิดชวยใหพนทุกข (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๑)

2. สมัมาอาชีวะสมัมาอาชีวะสมัมาอาชีวะสมัมาอาชีวะ คือ การหาเลีย้งชีพในทางสุจริต หรือ “ทาน” คือ การแบงปนเอื้อเฟอเผื่อแผ (((( ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๒ )

3. กามสังวรกามสังวรกามสังวรกามสังวร คือ ความสังวรในกาม ความสํารวมระวังรูจักยับยั้งควบคุมตนในทางกามารมณ ไมใหหลงใหลในรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส หรือ “สทารสันโดษ” คือ ความพอใจดวยภรรยาของตน (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๓)

4. สจัจะสจัจะสจัจะสจัจะ คือ ความสัตย ความซื่อตรง (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๔) 5. สติสมัปชัญญะ สติสมัปชัญญะ สติสมัปชัญญะ สติสมัปชัญญะ คือ ระลึกไดและรูตัวอยูเสมอ คือ ฝกตนใหเปนคนรูจักยั้งคิด

รูสึกตัวเสมอวา สิ่งใดควรทํา และไมควรทํา ระวังมิใหเปนคนมัวเมาประมาท หรือ “อัปปมาทะ” คือ ความไมประมาท (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๕)

�4�6���4�6���4�6���4�6�� �4������4������4������4�����

1. 8��9� ��"!��:�"� 1. � �������

2. 8�����5;� 2. ���� � :�"�

3. 8��<��=�� � 3. � ����"�

4. 8�����+>� 4. �����

5. 8��������� �?, � 5. �����#:�44�

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

14 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

21 มรรค 8 ทางดําเนินชีวิตอันประเสริฐ 1. สัมมาทิฏฐิทิฏฐิทิฏฐิทิฏฐิ คอื ความเขาใจเขาใจเขาใจเขาใจถูกตอง 2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความใฝใจถูกตอง 3. สัมมาวาจาวาจาวาจาวาจา คือ การพูดจาพูดจาพูดจาพูดจาถูกตอง 4. สัมมากัมมันกัมมันกัมมันกัมมันตะ คือ การกระทํากระทํากระทํากระทําถูกตอง 5. สัมมาอาชีอาชีอาชีอาชีวะ คือ การดํารงชีพชีพชีพชีพถูกตอง เหมือนกัน 6. สัมมาวายาวายาวายาวายามะ คือ ความพากเพียรถูกตอง 7. สัมมาสติสติสติสติ คือ การระลึกระลึกระลึกระลึกประจําใจถูกตอง 8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจมั่นถูกตอง

22 ไตรสิกขา ขบวนกาการศึกษา 3 องคประกอบ

เพื่อการบรรลุเปาหมายของดุลยภาพ

ของชีวิต

1. ศีล หรือ ขบวนการระเบียบปฏิบัติ(วินัย) 2. สมาธิ หรือ ขบวนการฝกอบรมจิตสํานึกเพื่อใหเกิดความเพียรชอบ 3. ปญญา หรือ ขบวนการทางความรู เปนวิธีการอบรมศึกษาเพื่อใหเกิดวิชา

ความรูและปญญา

23 โอวาท 3 หลักธรรมที่เปนหัวใจในทางพระพุทธศาสนา 3 ประการ

1. ไมทําความชั่ว /ละเวนความชั่ว 2. ทําความดี 3. ทําจิตใจใหผองใส /ทําจิตใจบริสุทธผองใส

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

15 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

24 โลกธรรม 8

ธรรมที่ครอบงําสัตวโลก

เปนความจริงที่ทุกคนตองประสบอยางหลีกเลี่ยงไมได

โลกธรรม 8 ประกอบดวย2 ฝายควบคูกัน

� ฝายที่มนุษยพอใจมี 4 อยาง

� ฝายที่มนุษยไมพอใจมี 4อยาง

@A +�����B !��=��� 4 � � � @A +�����B !8����=��� 4

� � �

��� C 8����� C

�� 6 ���� 6

������4 ���+

����5 +��5!

25 ทิศ 6

บุคคลประเภทตางๆ ที่

เราตองเกี่ยวของสัมพันธ

๑. ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหนา ไดแก บิดา มารดา ๒. ทักขิณทิสทิศ เบื้องขวา ไดแก ครูอาจารย ๓. ปจฉิมทิสทิศ เบื้องหลัง ไดแก สามีภรรยา ๔. อุตตรทิสทิศ เบื้องซาย ไดแก มิตรสหาย

๕. เหฏฐิมทิสทิศ เบื้องลาง ไดแก ลูกจางกับนายจาง (บาว)

๖ .อุปริมทิสทิศ เบื้องบน ไดแก พระสงฆ สมณพราหมณ

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

16 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

26 หลักบัญญัติ ๑๐ ประการ รายการคําสอนและขอปฏิบัติ 10 ประการ 1. จงนมัสการพระเจาแตผูเดียว 2. อยาออกพระนามพระเจาโดยไมสมควร 3. วันพระเจาใหถือเปนวันศักดิ์สิทธิ์ 4. จงนับถือบิดามารดา 5. อยาฆาคน 6. อยาลวงประเวณี 7. อยาลักทรัพย 8. อยาขโมย 9. อยาเปนพยานเท็จตอเพื่อนบานของเจา 10. อยาโลภอยากไดเรือนของเพื่อนบาน อยาโลภมากอยากไดเมียของเพื่อนบาน

หรือทาสของเขา หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดของเพื่อนบานนั้น

27 หลักตรีเอกานุภาพ

เปนหลักคําสอนที่ใหศรัทธาในพระเจาพระองคเดียว แตมี ๓ สภาวะ

1. พระบิดาพระบิดาพระบิดาพระบิดา คือ องคพระเจาผูสรางโลกและมนุษย

2. พระบุตรพระบุตรพระบุตรพระบุตร คือ ผูเกิดมาเพื่อชวยไถบาปใหแกมนุษย

3. พระจิตรพระจิตรพระจิตรพระจิตร คือ พระวิญญาณอันบริสุทธเพื่อมอบความรักและบันดาลใหมนุษย

ประพฤติดี

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

17 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

28 หลักความรัก คําสอนเรื่องความรักในศาสนาคริสต คําสอนเรื่องความรักในศาสนาคริสต มี ๒ ระดับ คือ

1. �" �������"� ����B !�������D เปรียบเหมือนความรักระหวางบิดากับบุตร 2. �" �������"� ����B !������B ! พระเยซูสอนใหรักเพื่อนบาน (มนุษยทั้ง

โลก) สอนใหรักศัตรู รูจักการใหอภัยและเสียสละ

29 หลักศรัทธา 6 ประการ ความเชื่อมั่นดวยจิตใจโดยปราศจากการระแวงสงสัยหรือการโตแยงใดๆ

หลักศรัทธาในศาสนา อิสลาม มี 6 ประการ คือ

1. ศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจา ชาวมุสลิมตองศรัทธาตอพระอัลลอฮแตเพียงพระองคเดียว

2. ศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮ ฺ วามีจริง คําวา “มลาอีกะฮฺ” หมายถึง ทูตสวรรคหรือเทวทูตของพระเจา เปนคนกลางระหวางพระเจากับศาสดา เปนวิญญาณที่มองไมเห็น สัมผัสไมได

3.3.3.3. ศรัทธาในคมัภีรอัลกุรอานศรัทธาในคมัภีรอัลกุรอานศรัทธาในคมัภีรอัลกุรอานศรัทธาในคมัภีรอัลกุรอาน 4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูต ในคัมภีรอัลกุรอานกลาวถึงศาสนทูตวามีทั้งหมด 25

ทาน ทานแรก คือ นบีอาดัม และทานสุดทายคือ นบีมุฮัมมัด 5. ศรัทธาในวนัพิพากษาศรัทธาในวนัพิพากษาศรัทธาในวนัพิพากษาศรัทธาในวนัพิพากษา มุสลิมตองเชื่อวาโลกนี้ไมจีรัง ตองมีวันแตกสลายหรือมี

วันสิ้นโลก 6. ศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะ (ลิขิต) ของพระเจา ชาวมุสลิมเชื่อวาพระเจาไดทรง

กําหนดกฎอันแนนอนไว 2 ประเภท

ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..

18 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������

ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย

30 หลักอาศรม หลักอาศรม หลักอาศรม หลักอาศรม 4444 เปนขั้นตอนการดําเนินชีวิตของผูที่นับถือศาสนาพราหมณ-ฮินดู เพื่อยกระดับชีวิตใหสูงขึ้น

1. พรหมจารี 2. คฤหัสถ 3. วานปรัสถ 4. สันยาสี

31 หลักธรรมหลักธรรมหลักธรรมหลักธรรม 10101010 ประการประการประการประการ พระธรรมศาสตร 10 ประการ 1. ธฤติ 2. กษมา 3. ทมะ 4. อัสเตยะ 5. เศาจะ 6. อินทรียนิครหะ 7. ธี 8. วิทยา 9. สัตยา 10. อโกธะ

ความสําเร็จไมไดเกิดข้ึนกับทุกคน คนท่ีมีความมุงมั่นและพยายามเทาน้ัน...ท่ีจะไดพบเจอ..

19 �������� ��������� ครูผูชวย 2560 ���������� ��������