18
บทที ่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื ่อสาร โทรคมนาคม

บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

บทที่ 5 เครือข่ายคอมพวิเตอร์และการส่ือสาร

โทรคมนาคม

Page 2: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ความหมายของการส่ือสารข้อมูล

การส่ือสารข้อมูล หมายถงึการสง่ผ่านข้อมลูจากผู้สง่ (transmitter ผู้สง่หรือแหลง่ก าเนิด) ไปยงัผู้ รับในที่ระยะไกล ข้อมลูท่ีถกูสง่ผา่นอาจเป็นเสียงพดู ภาพ ข้อความ วีดิทศัน์ หรือผสมผสานของหลายสิง่ ในรูปแบบของสญัญาณไฟฟ้า คลื่นวิทย ุหรือแสง

Page 3: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

สัญญาณแอนะลอกและสัญญาณดจิทิลั

ข้อมูลจะถูกส่งผ่านไปด้วยสัญญาณ 2 ชนิด ซึ่งต้องการเทคโนโลยีการส่ือสารที่แตกต่างกัน สัญญาณดังกล่าวประกอบด้วย

- สัญญาณแอนะลอก

- สัญญาณดจิทิัลหรือสัญญาณไม่ต่อเน่ือง

Page 4: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

สัญญาณแอนะลอกและสัญญาณดจิทิลั

ภาพสญัญาณแอนะลอกและดิจิทลั สญัญาณแอนะลอกถกูแทนด้วยสญัญาณไฟฟ้าในรูปของคลืน่ต่อเน่ือง สว่นสญัญาณดิจิทลัเป็นสถานะทางไฟฟ้าแบบเปิด-ปิด

Page 5: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ส่วนประกอบของระบบการส่ือสารข้อมูล

1. ผู้สง่ข่าวสาร หรือ อปุกรณ์สง่ข้อมลู (Sender) หรือ แหลง่ก าเนิดข่าวสาร (source)

2. ผู้ รับข่าวสาร หรือ อปุกรณ์รับข้อมลู (Receiver) หรือ จดุหมายปลายทางของข่าวสาร (sink)

3. ข่าวสาร (Message)

4. ช่องสญัญาณ (channel)

5. การเข้ารหสั (encoding)

6. การถอดรหสั (decoding)

7. สญัญาณรบกวน (noise)

Page 6: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ทิศทางการส่ือสารข้อมูล

ทศิทางการส่ือสารข้อมูล หมายถึงทิศทางของสญัญาณที่เดินทางระหวา่ง

สองอปุกรณ์ท่ีเช่ือมต่อกนัผ่านตวักลาง เพ่ือติดต่อส่ือสารและรับสง่ข้อมลูระหว่างผู้สง่และผู้ รับ

ทศิทางการส่ือสารข้อมูล

1. การส่ือสารแบบทางเดียว (Simplex)

2. การสื่อสารแบบกึง่สองทิศทาง (Half-Duplex)

3. การสื่อสารแบบสองทิศทาง (Full-Duplex)

Company Logo

Page 7: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

วิธีการส่ือสารข้อมูล

วิธีการสื่อสารข้อมลูระหวา่งอปุกรณ์นัน้มีอยู ่2 แบบคือ 1. การสื่อสารแบบอะซิงโครนสั (Asynchronous Transmission)

2. การสื่อสารแบบซิงโครนสั (Synchronous Transmission)

Page 8: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ช่องทางหรือส่ือในการส่งข้อมูล (Transmission Media)

ช่องทางหรือส่ือในการส่งข้อมูล หมายถงึช่องทางท่ีใช้เป็นทางเดินท่ีท าหน้าท่ีเป็นตวักลางในการน าพาสญัญาณไฟฟ้าเดินทางจากท่ีหนึง่ไปยงัอีกท่ีหนึง่หรือไปยงัเครือข่าย ซึง่มีทัง้ตวักลางแบบมีสาย และตวักลางแบบไร้สาย

Page 9: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ช่องทางหรือส่ือส่งข้อมูลแบบมีสาย (Physical Transmission Media)

1.สายคูบ่ดิเกลียว (Twisted-Pair Wire)

2.สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)

3. สายใยแก้วน าแสง(Fiber-Optic Cable)

Page 10: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ช่องทางหรือส่ือส่งข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Transmission Media)

1. คลื่นวิทย ุ(Radio Wave)

2. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave)

3. ดาวเทียม (Satellite)

4. อินฟราเรด (Infrared)

Page 11: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ประเภทของเครือข่าย

1. Local Area Network (LAN) อา่นวา่ “แลน” ซึง่เป็นการเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกนัในระยะทางท่ีจ ากดั เช่น ในอาคารเดียวกนั หรือบริเวณอาคารใกล้เคียงท่ีสามารถลากสายถงึกนัได้โดยตรง

2. Wide Area Network (WAN) อา่นวา่ “แวน” เป็นการเช่ือมต่อ LAN ในท่ีตา่ง ๆ เข้าด้วยกนัผ่านระบบสื่อสารอ่ืน ๆ เช่น เครือข่ายโทรศพัท์สายเช่า (leased line) หรือสายข้อมลูท่ีเช่าพิเศษจากผู้ให้บริการด้านนีโ้ดยเฉพาะ จนกลายเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ข้ามประเทศ ซึง่รวมถึงระบบอินเทอร์เน็ตด้วย

Page 12: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

ข้อจ ากัดของระบบเครือข่าย

1. การเรียกใช้ข้อมลูท าได้ช้า

2. ข้อมลูไม่สามารถใช้ได้ทนัที

3. ยากตอ่การควบคมุและดแูล

Page 13: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

1. การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card)

2. รีพีตเตอร์ (Repeater)

3. ฮบั (Hub)/ สวิตซ์ (Switches)

4. บริดจ์ (Bridge)

5. เราท์เตอร์ (Router)

6. เกตเวย์ (Gateway)

7. โมเดม็ (Modem)

Page 14: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

รูปแบบการเช่ือมต่อเครือข่าย (Topology)

1. การเช่ือมต่อแบบบสั (Bus Topology)

2. การเช่ือมตอ่แบบดาว (Star Topology)

3.การเช่ือมตอ่แบบวงแหวน (Ring Topology)

Page 15: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

มาตรฐานของระบบ LAN

LAN ของเคร่ืองพีซีท่ีใช้กนัทัว่ไปในปัจจบุนัมีลกัษณะทางฮาร์ดแวร์ท่ียดึมาตรฐานของสถาบนัวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineering) โดยแบง่เป็นกลุม่ใหญ่ ๆ คือ Ethernet (รวมถึง Fast Ethernet) ซึง่มีรายละเอียดดงันี ้

Page 16: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

มาตรฐานของระบบ LAN 1. อีเธอร์เน็ต (Ethernet)

2. ความเร็ว

3. วิธีสง่สญัญาณ จะมี 2 ลกัษณะคือ

- Baseband

- Broadband

4. การท างานของ Wireless LAN

Page 17: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน

การท างานของคอมพวิเตอร์ในเครือข่าย ไคลเอนต์ เซิร์ฟเวอร์ และเวิร์กสเตชั่น

ข้อดีข้อเสียของเครือข่ายทัง้สองแบบสรุปได้ดังนี ้

Server-based Peer-to-Peer

ข้อดี -เร็ว -มีขีดความสามารถสงู มีฟังก์ชัน่ให้ใช้มาก -มีมาตรฐานท่ียอมรับกนัทัว่ไป -ใช้กบัเครือข่ายขนาดใหญ่ได้ -ระบบป้องกนัความปลอดภยัดี

-ราคาถกู -ติดตัง้ง่าย ใช้งานง่าย -ไมจ่ าเป็นต้องเสยีเคร่ืองไปท าเป็น เซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ

ข้อเสีย -ราคาสงู -ติดตัง้ยากกว่า -ต้องมีผู้ดแูลระบบ (system administrator)

-ความเร็วในการให้บริการไมส่งูเท่าแบบ Server-based -ขยายระบบได้จ ากดั ไมเ่หมาะกบัเครือข่ายขนาดใหญ่ -ระบบความปลอดภยัไมเ่ข้มงวดมากนกั

Page 18: บทที่ 5 - · PDF fileบทที่ 5 ... 5. การเข้ารหัส (encoding) 6. การถอดรหัส (decoding) 7. สัญญาณรบกวน