21
บทที5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 1 บทที5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร การวัด 5.1 บทนํา โดยปกติ เราทราบวาวิชาดาราศาสตร เปนวิชาวิทยาศาสตรที่แตกตางจากวิชาวิทยา ศาสตรสาขาอื่นๆ เชน วิชาชีววิทยา เคมีและฟสิกส โดยที่เราจัดใหวิชาดาราศาสตรเปนวิชา วิทยาศาสตรที่อาศัยการสังเกตการณ (Observational Science) เปนหลัก เพราะเราไม สามารถทําการทดลองทางดาราศาสตรบนโลกของเราได เนื่องจากความมหึมาของชวงสเกลและ ปรากฏการณทางดาราศาสตร สวนวิชาฟสิกส เราอาจจัดอยูในกลุมวิทยาศาสตรที่ทดลองได (Experimental Science) การวัดทางดาราศาสตรที่จะกลาวถึงตอไป เปนกระบวนการวัดในการสังเกตการณ ไมไดเปนการวัดในการทําการทดลอง ทานจะพบวา เมื่อมีผูกลาวถึงการทดลองทางดาราศาสตร โดยแทจริงแลวการทดลองที่กลาวถึงนั้นเปนการทดลองทางเคมีหรือฟสิกสที่มีสวนเกี่ยวของกับ ดาราศาสตรมีวัตถุประสงค เพื่อหาคําตอบหรือ คําอธิบายปรากฏการณทางดาราศาสตรเทานั้น การวัดในการสังเกตการณทางดาราศาสตร นั้น สวนใหญจะตองใชเวลาในการทํา การวัดนานเปนสัปดาห เปนเดือน เปนป หรือหลายป และอาจตองใชเครื่องมือที่มีความละเอียด สูง มีกําลังแยก (Resolving Power) สูง ซึ่งเปนเครื่องมือเฉพาะและมีราคาแพง ผูที่จะใช เครื่องมือเหลานั้น จะตองมีความรูความชํานาญในการใชเครื่องมือเหลานั้นอยางดี เราจึงยังไมมี โอกาสไดใชเครื่องมือเหลานั้น จนกวาเราจะมีความรูความสามารถเพียงพอที่จะจัดหา และใช เครื่องมือเหลานั้นในการทํางานทางดาราศาสตร อยางไรก็ตามเพื่อวัตถุประสงคทางดานการศึกษาวิชาดาราศาสตรสําหรับนักเรียน เราจะอธิบายวิธีการวัดทางดาราศาสตรเบื้องตนบางอยางที่ไมยากจนเกินไปนักใหนักเรียนไดรู และ ถาการวัดนั้นๆ กระทําไดโดยใชเครื่องมืออยางงายๆ ก็จะจัดใหนักเรียนไดทําปฏิบัติการเพื่อศึกษา วิธีการวัดและทําการวัดดวยตนเองดวย แตถาการวัดนั้นตองใชเครื่องมือที่ยังไมอาจจัดหาได ก็จะอธิบายเฉพาะหลักการและวิธีการเทานั้น

บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 1

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร

การวัด

5.1 บทนํา

โดยปกติ เราทราบวาวิชาดาราศาสตร เปนวิชาวิทยาศาสตรที่แตกตางจากวิชาวิทยา

ศาสตรสาขาอื่นๆ เชน วิชาชีววิทยา เคมีและฟสิกส โดยที่เราจัดใหวิชาดาราศาสตรเปนวิชาวิทยาศาสตรที่อาศัยการสังเกตการณ (Observational Science) เปนหลัก เพราะเราไมสามารถทําการทดลองทางดาราศาสตรบนโลกของเราได เนื่องจากความมหึมาของชวงสเกลและปรากฏการณทางดาราศาสตร สวนวิชาฟสิกส เราอาจจัดอยูในกลุมวิทยาศาสตรที่ทดลองได (Experimental Science) การวัดทางดาราศาสตรที่จะกลาวถึงตอไป เปนกระบวนการวัดในการสังเกตการณ ไมไดเปนการวัดในการทําการทดลอง ทานจะพบวา เมื่อมีผูกลาวถึงการทดลองทางดาราศาสตร โดยแทจริงแลวการทดลองทีก่ลาวถึงนั้นเปนการทดลองทางเคมีหรือฟสิกสที่มีสวนเกี่ยวของกับ ดาราศาสตรมีวัตถุประสงค เพื่อหาคําตอบหรือ คําอธิบายปรากฏการณทางดาราศาสตรเทานั้น การวัดในการสังเกตการณทางดาราศาสตร นั้น สวนใหญจะตองใชเวลาในการทําการวัดนานเปนสัปดาห เปนเดือน เปนป หรือหลายป และอาจตองใชเครื่องมือที่มีความละเอียดสูง มีกําลังแยก (Resolving Power) สูง ซ่ึงเปนเครื่องมือเฉพาะและมีราคาแพง ผูที่จะใชเครื่องมือเหลานั้น จะตองมีความรูความชํานาญในการใชเครื่องมือเหลานั้นอยางด ี เราจึงยังไมมีโอกาสไดใชเครื่องมือเหลานั้น จนกวาเราจะมีความรูความสามารถเพียงพอที่จะจัดหา และใชเครื่องมือเหลานั้นในการทํางานทางดาราศาสตร อยางไรก็ตามเพื่อวัตถุประสงคทางดานการศึกษาวิชาดาราศาสตรสําหรับนักเรียน เราจะอธิบายวิธีการวัดทางดาราศาสตรเบื้องตนบางอยางที่ไมยากจนเกินไปนักใหนักเรียนไดรู และ ถาการวัดนั้นๆ กระทําไดโดยใชเครื่องมืออยางงายๆ ก็จะจัดใหนักเรียนไดทําปฏิบัติการเพื่อศึกษา วิธีการวัดและทําการวัดดวยตนเองดวย แตถาการวัดนั้นตองใชเครื่องมือที่ยังไมอาจจัดหาได ก็จะอธิบายเฉพาะหลักการและวิธีการเทานั้น

Page 2: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 2

การวัดในการสังเกตการณดาราศาสตรเบื้องตน ที่จะกลาวถึงในบทนี ้ มีดังตอไปนี ้(1) การวัดขนาดของโลก (2) การวัดตําแหนงของผูสังเกตบนผิวโลก (3) การวัดมวลของโลก (4) การวัดระยะทางระหวางดาว (5) การวัดระยะทางจากโลกถึงดวงจนัทร (6) การวัด วัน เดือน ป (7) การวัดคาบการโคจรของดาวเคราะห

5.2 การวัดขนาดของโลก อีราทอสซีเนส (Eratosthenes 276-196 B.C.) ไดทําการวัดขนาดของโลก

โดยการเปรียบเทียบเงาของดวงอาทิตย ณ สถานที่ตางกันในอิยิปตที่อยูหางกันพอสมควรแตเกือบ อยูในแนวเหนือใตของเสนแวงเดียวกัน ตามรูป จุด A คือเมืองอเลกซานเดรีย (Alexandria) จุด B คือเมือง อัสวาน (Aswan) ในทะเลทรายไซนาย (Syene) สมมติฐานเบื้องตนในการวัดขนาดของโลกคือ ถือวาโลกเปนทรงกลม จุด A และจุด B อยูในแนวเหนือใตของเสนแวงเดยีวกนั C คือจุดศูนยกลางของโลก แสงที่มาจากดวงอาทิตยถือวาเปนแสงที่มาจากที่ไกลมากเมื่อเทียบกับขนาดของโลกจึงเปนลําแสงขนานในวันที่แสงอาทิตยเวลาเที่ยงวันตกตั้งฉากที่เมือง B เงาของเสาหินบูชาหนาวิหารจะไมมีเงาทอดออกมาจากฐานของเสา ในเวลาเดียวกันที่เมือง A ซ่ึงอยูทางเหนือของเมือง B จะมีเงาของ เสาหินบูชา ทําใหสามารถวัดมุมที่แสงอาทิตยกระทํากับแนวเสาหินซึ่งตั้งอยูในแนวรัศมีของโลกไดเปนมุม θ จากรูปจะเห็นวามุม θ ที่วัดไดจากการวัดเงาของเสาหิน จะเทากับมุม z ซ่ึงเปนมุมที่จุดศูนยกลางของโลกที่รองรับระยะทางตามแนวเสนโคงที่ผิวโลกจากเมือง A ไปยังเมือง B มุมที่ รองรับเสนรอบวงของโลกคือ 360o เมื่อเสนรอบวงของโลก คือ 2πR⊕ จะไดวา

=R2AB

360zo π

สวนโคง

Page 3: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 3

อีราทอสซีเนส วัดมุม z ไดประมาณ 7o ระยะทางจากเมืองอัสวานถึงเมืองอเลกซานเดรีย ซ่ึงคือระยะทางของสวนโคง AB มีคาประมาณ 5,000 สเตเดีย (Stadia) ดังนั้น จึงสามารถคํานวณหารัศมีของโลกได R⊕ = 41000 สเตเดีย = 3,488 ไมลทะเล (nautical mile) คารัศมีของโลกที่วัดไดปจจบุันมีขนาด R⊕ = 3,444 ไมลทะเล ตางจากคาที่วดัไดในปจจุบนั +1.3% โพซีโดเนียส (Poseidonius) ในศตวรรษแรกกอนคริสตศักราช ไดทําการหาขนาดของโลกซ้ําโดยวิธีที่คลายคลึงกัน แตแทนที่จะวัดจากเงาของแสงอาทิตย เขาใชวิธีวัดมุมเงยของดาวคาโนปส (α Car) ที่กระทํากับเสนขอบฟาเมื่อดาวทรานสิต แลวเดินทางขึ้นทางเหนือจนกระทั่งตําแหนงทรานสิตของดาวคาโนปสอยูที่เสนขอบฟาพอดี ตามรูป ระยะทางที่เดินทางขึ้นเหนือคือ ระยะของสวนโคงจากเกาะ Rhode ถึงเมืองอเลกซานเดรีย โดยใชสูตรเดียวกันได

A

BR

R

C

z z

Eratosthenes (276-

A = อเลกซานเดรีย B = อัสวาน

θ

∆NC

Z

α

S

Car

Poseidonius (First

Page 4: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 4

=Rπ2360

zo

ความคลาดเคลื่อนของคารัศมีของโลกที่วัดโดยโพซิโดเนียสตางจากคาที่วัดไดในปจจุบัน +1.1% ปจจุบันเราพบวา โลกไมไดเปนทรงกลมอยางสมบูรณ รัศมีของโลกที่ขั้วโลกสั้นกวา รัศมีของโลกที่ศูนยสูตร ในป ค.ศ. 1743 พบวาคาความปานของโลกมีคา 1/216.8 ดังแสดงในรูป คือ

ความปานของโลก = (a – c)/a = 1/216.8 เมื่อ P คือ ขั้วโลก (Pole) E คือ ศูนยสูตรของโลก (Equator) c คือ รัศมีของโลกจากจุดศูนยกลางโลกถึงขั้วโลก a คือ รัศมีของโลกจากจุดศูนยกลางโลกถึงศูนยสูตรโลก

เสนรอบรูปของโลกในแนวเมอริเดียน แบงออกเปนสี่สิบลานสวนหนึ่งสวนในสี่สิบลานสวน กําหนดใหมีความยาว 1 เมตร ระบบเมตริกไดรับการยอมรับเปนระบบที่ใชในการวัด ในป ค.ศ. 1791 กําหนดใหระยะทาง 1 เมตรคือ 1/10,000,000 สวนของสวนโคง (เสนลองจิจูด) ที่ลากจากขั้วโลกเหนือผานกรุงปารีสไปยังเสนศูนยสูตร ดังนั้นเสนรอบรูปของโลกตามแนวเมอริเดียน คือ 40,000,000 เมตร หรือ 40,000 กิโลเมตร

ระยะสวนโคงจากเกาะโรเดถึงอเลกซานเดรีย

P

E

ca

P

Page 5: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 5

ปจจุบันมาตรฐานความยาว 1 เมตร วัดจากความยาวคลื่นแสงของธาตุคริปตอน-86 ความยาว : 1 เมตร = 1, 650, 763.73 ความยาวคลื่นของแสงสีสมแดงของ Kr86

(krypton-86) เสนรอบรูปของโลกในแนวเสนศูนยสูตร = 2π × 6378.16 กิโลเมตร = 40,075.2 กิโลเมตร = 360 × 60 = 21,600 ไมลทะเล = 25,000 ไมล

1 ไมลทะเล = 40,075.2 ÷ 21600 กิโลเมตร = 1.8553 กิโลเมตร (1 ไมล(บก) = 1.609344 กิโลเมตร) ≈ 1.6 กโิลเมตร ≈ 5/8 กิโลเมตร 5 Statute Miles = 8 กิโลเมตร

กิจกรรม 5.1 เรียนรูเรื่องการวัดขนาดโลก

นักเรียนเชื่อหรือไม เมื่อมีคนบอกวา เสนผานศูนยกลางของโลกมีขนาดประมาณ

8,000 ไมล และเสนรอบโลกมีขนาดประมาณ 25,000 ไมล นักเรียนอาจทดสอบโดยการวัดขนาดของโลกดวยตนเอง โดยอาศัยเครื่องมือวัดมุมอยางงายๆ ที่สามารถสรางขึ้นเอง ดังรูป นักเรียนตองการเพื่อนรวมงานอีกกลุมหนึ่งที่มีเครื่องมือวัดมุมเหมือนกัน อยูหางจากตําแหนงที่นักเรียนอยูตามแนวเหนือใตอยางนอย ประมาณ 350 km ซ่ึงสามารถสื่อสารกันไดดวยโทรศัพทหรือโดยนัดหมายกันไวกอนเกี่ยวกับเวลาและวิธี ในการทําการสังเกตการณและทําการวัด

เสนดายถวงดวยลูกดิ่งสําหรับใชอานมุมเงย

Page 6: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 6

การวัดของนักเรียนขึ้นอยูกับสมมติฐานวา

1) โลกเปนทรงกลมที่สมบูรณ 2) แนวเสนดิ่งของดายที่ผูกดวยมวลมวล m ใชเปนลูกดิ่งของเครื่องมือวัดอยูในแนวเดียวกับ

เสนที่พุงตรงไปยังศูนยกลางของโลก 3) ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่นักเรียนวดัมรีะยะทางไกลมากๆ เมื่อเทียบกับ

เสนผาศูนยกลางของโลก กลุมของนักเรียนที่ทําการวัดมุมเงยของดาวดวงเดียวกันจะตองอยูในแนวเหนือ –

ใต ของกันและกัน สมมุติวาอยูที่ตําแหนง A และ B ซ่ึงอยูหางกันเปนระยะทาง d ตามรูปหนาถัดไป ผูสังเกตที่ตําแหนงทั้งสองวัดมุมเงยของดาวดวงเดียวกัน เมื่อดาวอยูบนเสนเมอรเิดยีนของผูสังเกต (Transit) ซ่ึงก็คือ ตําแหนงที่ดาวขึ้นสูงสุดจากเสนขอบฟา นักเรียนวัดมุมระหวางแนวลูกดิ่งกับแนวเสนสายตาที่พุงไปยังดาว แสงที่เดินทางมาถึงตําแหนง A และตําแหนง B เปนแสงขนาน (โดยสมมุติฐานขอ 3) จึงสามารถหาความสัมพันธของมุม θA ที่ A กับมุม θB ที่ B และมุม Φ ระหวางแนวรัศมีของจุดทั้งสอง พิจารณาสามเหลี่ยม ABO

Φ = (θA - θB)

ถา C เปนเสนรอบโลก และ d เปนสวนโคงของเมอริเดียนโลก จะไดสัดสวน

o360Φ

Cd=

Page 7: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 7

รวมสมการทั้งสองสมการขางตน จะได

C = BA

o360θθ −

d

เมื่อ θA และ θB วัดเปนองศา

• ใหทานรวมกันอภิปรายวา ถาหากผูสังเกตทั้งสองกลุมในกจิกรรมนี้ไมไดอยูในแนวเสนแวงเดียวกนั จะสามารถทํากิจกรรมนีใ้หไดผลไดหรือไม เพราะเหตุใด 5.3 การวัดตําแหนงของผูสังเกตบนผิวโลก

กิจกรรม 5.2 ละติจูดและลองจิจูดของผูสังเกตบนผิวโลก

การวัดละติจูด (1) เครื่องมือวัดมุมในหัวขอ 5.2 สามารถใชวัดมุมเงยของดาวเหนือ มุมเงยของดาวเหนือ

คือ มุมละติจูดของผูสังเกต จงเขียนแผนภาพอธิบายวาทําไม มุมเงยของดาวเหนือจึงเปนคาเดียวกับละติจูดของผูสังเกต

โดยใชความรูจากบทที่ 2

Page 8: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 8

(2) ใชเครื่องมือในหัวขอ 5.2 วัดมุมเงย และอาซิมุทของดวงอาทิตยในวันที่ 23 กันยายน โดยทําการวัดทุกครึ่งชั่วโมงหรือ 1 ช่ัวโมง จากขอมูลที่ได ณ เวลาตางๆ นําไปพลอต บนกราฟที่มีแกนเปนอาซิมุท และมุมเงยของดวงอาทิตย จะสามารถหาไดวาละติจูดของ ผูสังเกตเปนเทาใด และดวงอาทิตยในวันนั้นจะมีมุมเงยสูงสุดที่เวลาใด

• อภิปรายวา ถาทานทําการวัดตําแหนงของดวงอาทิตยในขอ (2) ในวันอื่นที่ไมใช วันที่

23 กันยายน ทานจะทราบละติจูดของทานจากผลการวัดไดอยางไร • เปลี่ยนจากการวัดดวงอาทิตยมาเปนการวัดตําแหนงของดาวคาโนปส ทานจะหาละติจูด

ของทานไดอยางไร

การวัดลองจิจูด ทานสามารถวิเคราะหหาลองจิจูดของทานจากผลการวัดในขอ (2) ไดหรือไม ทานหา

ลองจิจูดของทานไดเทาใด จากขอมูลการวัดตําแหนงของดวงอาทิตยและดาวในกิจกรรมนี้และขอมูลเวลาทรานสิตของ

ดวงอาทิตยและดาวทีท่านวดั ทานจะสามารถหาลองจิจูดของทานได จงวิเคราะหหาลองจิจูดของทานจากขอมูลทีท่านวัดไดและขอมูลเวลาโดยใชความรู ที่เรียน

มาในบทที ่ 2 5.4 การวัดมวลของโลก

ในการหาขนาดมวลของโลกนั้นมีผูพยายามทําการวัดโดยอาศัยกฎแรงโนมถวง ของนิวตัน พยายามสรางเครื่องมือในลักษณะของเครื่องชั่งมวลตามรูป

Page 9: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 9

โดยใหมวล m2 ดูดมวล m1 ทางดานขวาของเครือ่งชั่ง

จะไดวา แรง F1 = 21

RGMm

เมื่อ F1 เปนแรงที่กระทําตอมวล m1 ทางซายของเครื่องชั่ง G เปนคาคงที่โนมถวงของนิวตัน M มวลของโลกที่ดึงดูดมวล m1 R คือ ระยะระหวางมวล m1 ถึงศูนยกลางของโลก (≈ รัศมีของโลก)

แรง F2 = F1 + 2

21dmGm

เมื่อเทอมที่สองเปนแรงดดูระหวางมวล m1 กับมวล m2 ทางดานขวา เมื่อเครื่องชั่งอยูในสมดุล จะไดวา โมเมนตตามเข็มนาฬกิา = โมเมนตทวนเข็มนาฬกิา l1F1 = l2F2

+= 2

22

2

1dR

Mm1

l

l

= 1.000 000 00XX

อีกวิธีการหนึ่งที่พยายามทํากนัคือ ใชมวล m2 มาดูดทางดานขางตามรูป ทําให

มวล m1 เคลื่อนออกจากแนวดิ่งเปนมมุ θ จะได

T sinθ = 221

dmGm

m mF

T

d

θ

Page 10: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 10

T cosθ = 21

RGMm

tanθ = ( )22 d/RMm

จะเห็นวาวิธีการทั้งสองไมประสบความสําเร็จในการวัดมวลของโลกเนื่องจากการที่

จะวัดคา 2

1l

l ในวิธีการที่ 1 และวัดมุม θ ในวิธีการที่ 2 ใหไดนัยสําคัญของตัวเลขมากกวา

ความคลาดเคลื่อน ในการวัด จําเปนตองใชมวล m2 ที่มีขนาดใหญมากๆ แมนนักดาราศาสตรพยายามวัดมวลของโลกตอไป แตก็ไมประสบผลสําเร็จ จนกระทั่งในป ค.ศ. 1798 คาเวนดิส (1731-1810) นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ ไดสรางเครื่องมือ Torsion Balance ทําใหสามารถหาคาคงที่โนมถวง G ได

G = 6.670 × 10-11 N.m2/kg2

แลวใชคาความเรงของมวล m ที่กระทําโดยแรงดึงดูด ในการหาคามวลของโลก M

F = 2RGMm

2RGMg

mF

==

M = GRg2

= 1.314 × 1025 ปอนด = 6 × 1024 kg

m

M

R

Page 11: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 11

ในการหามวลของดาวโดยวิธีทางดาราศาสตรอีกวิธีหนึ่งคือ อาศัยการสังเกตการโคจรของมวล m รอบ ดาวที่มีมวล M ที่ตองการทราบ ตามรูป แรงสูศูนยกลางของมวล m = แรงหนีศนูยกลางของมวล m A.F. = C.F.

rmv

rGMm 2

2 =

rGM = v2 = ω2r2

จะได M = 2

32

Tr

G4π

โดยการวัดคาบการโคจรของมวล m และระยะหางระหวางมวล M กับมวล m ก็จะทําใหไดคามวลของมวล M ซ่ึงจะพบวา สมการขางบนก็คอื กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะหขอที่ 3 ของเคปเลอรนั่นเอง

กิจกรรม 5.3 การหามวลของโลก จงหามวลของโลก โดยอาศัยกฎขอ 3 ของเคปเลอร

5.5 การวัดระยะทางระหวางดาว การวัดระยะทางระหวางดาวทําไดโดยการอาศัยการวดัมมุพาราแลกซ

กิจกรรม 5.4 สิ่งตางๆ อยูหางจากตัวเราเทาไร

MA. m

C.r

Page 12: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 12

เราทราบวาสิ่งตาง ๆ อยูหางจากตัวเราเทาไรไดอยางไร (แบงกลุมอภิปราย สาธิตใหเห็นจริง)

นิยาม ตรีโกณมิติพาราแลกซของดาวคือ มุมที่รองรับที่ดาวโดยระยะหาง

เฉลี่ยระหวางโลกกับ ดวงอาทิตย (ระยะ 1 หนวยดาราศาสตร หรือ 1 AU) ตามรูป โลกโคจรรอบดวงอาทิตย เมื่อโลก อยูที่ตําแหนง E1 เมื่อผูสังเกตสังเกตดาว X จะเห็นดาว X อยูที่ตําแหนง X1 บนผิวทรงกลมทองฟา ตอมาเมื่อโลกโคจรไปอยูที่ตําแหนง E2 สังเกตดาว X อีกครั้งหนึ่งจะเห็นดาว X อยูที่ตําแหนง X2 คร่ึงหนึ่งของมุมที่รองรับระยะ E1E2 คือมุม p เรียกวา มุมพาราแลกซ

จากรูป

tan p = dA

มุม p เปนมมุเล็กมากในหนวยเรเดยีน เราสามารถประมาณไดวา

p = tan p ดังนั้น pเรเดียน =

dA

ในหนวยมุมเปนฟลิปดา

p′′ = dA

26060360

π××

p′′ = 206265 dA

S d xp

x

x

E

E

A

Page 13: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 13

∴ d = 206265 ''pA

1) d = ''p10150206265 6××

km

2) d = ''p

206265 AU

3) d = 60602425.365103

10150''p

2062655

6

×××××

××

d =

''p26.3 Light Year

4) d = ''p1 Parsec (โดยนิยาม)

∴ 1 Parsec = 3.26 Light Year

กิจกรรม 5.5 การหาระยะทางดวยวิธีทางดาราศาสตร จงหาระยะทางระหวางตนไมหนาประตูโรงเรียนถึงตัวอาคารเรียนโดยใชวิธีทางดาราศาสตร

การวัดพาราแลกซของดาว ทําไดโดยการถายภาพดาวดวงนั้น ณ ตําแหนงของ

โลกตางๆ กัน ในวงโคจรรอบดวงอาทิตย

ตําแหนง ตําแหนง ตําแหนง

เพลต

Objective

O

O

O

S

1 ตําแหนงเริ่มตนบนเพลต

2 OS การขจัดใน 6 เดือน

3 อีก 6 เดือนF

O

O

O

Page 14: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 14

มุม α หารสองทําเปนฟลิปดา (seconds of arc) คือมุมพาราแลกซ สังเกตวาเราตองใชกลองโฟกัสยาว ซ่ึงมีอัตราขยายภาพมากจะทําใหระยะ OS มากวดัไดงายขึ้น ถาตองการความละเอียดของมมุพาราแลกซมาก ยิ่งตองใชกลองที่มีความยาวโฟกัสมาก

การวัดมุมพาราแลกซ จะตองทําการถายภาพดาวอยางนอย 3 ชุด โดยกลองดดูาวจะตองวางตัวใน

ตําแหนง เดิม ถายรูปที่ 1 อยูตรงกลาง (E1) รูปที่ 2 6 เดือนตอมา (E2) รูปที่ 3 6 เดือนตอมา (E1) ถารูปไมกลับมาตรงกลางแสดงวา ระยะ OS เกิดจากการเคลื่อนที่ของดาว หรือจากการเคลื่อนที่ของระบบสุริยะทั้งหมด หรือทั้งสองอยางรวมกัน ดังนั้น คร่ึงหนึ่งของระยะบนเพลตที่ 3 ลบออกจาก OS จะไดพาราแลกซที่แทจริง เพื่อใหไดผลแนนอนในการวัดมุม พาราแลกซตองใชภาพ 5 ชุดขึ้นไปแตละชุดประกอบดวยหลายเพลตที่วัดหางกันประมาณ 6 เดือน

การวัดพาราแลกซของดาวแบบสัมพัทธ ความคลาดเคลื่อนจากการวัดสามารถรูได โดยวัดพาราแลกซของดาวเทียบกับ distant background stars ก็จะตัดความคลาดเคลื่อนได พาราแลกซโดยวิธีนี้ เรียกวา พาราแลกซสัมพัทธ เพื่อใหไดพาราแลกซสัมบูรณ จะตองมีวิธีการหาพาราแลกซของดาวไกลที่ใชอางอิงแลวบวกกับพาราแลกซสัมพัทธ ก็จะได พาราแลกซสัมบูรณ จะตองระวังเกี่ยวกับการหักเหของแสงในบรรยากาศ โดยการถายภาพเมื่อดาวอยูในมุมชั่วโมงเดียวกัน (คืออยูบริเวณใกลเคียงกันในทองฟาขณะถายภาพ)

ความคลาดเคลื่อนในการวัดพาราแลกซ ความจริงไมสามารถทําการวัดในเวลาตางกัน 6 เดือนพอดีได เพราะดาวที่ขึ้นกลางคืนในชวงเวลานี้อีก 6 เดือน อาจจะขึ้นกลางวันในบริเวณทองฟาเดิม

Page 15: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 15

ความคลาดเคลื่อนในระดับ 0′′.005 ของดาว α Centauri ซ่ึงมีพาราแลกซสัมบูรณ 0′′.76 จะคลาดเคลื่อนนอยกวา 1% คาความคลาดเคลื่อนมากขึ้นสําหรับดาวที่อยูไกล เชน ถาพาราแลกซ 0′′.01 คลาดเคลื่อนเฉลี่ย 50% คือ จะมีคาระหวาง 0′′.015 และ 0′′.005 ดังนั้น ดาวที่พาราแลกซ ต่ํากวา 0′′.01 จะมีความคลาดเคลื่อนจากการวัดมากเกินกวาจะเชื่อถือได มีดาวที่วัดพาราแลกซไดโดยตรง ≈ 6000 ดวงที่บันทึกไวในบัญชีดาวของหอสังเกตการ Yale การวัดระยะทางของดาวโดยใชตรีโกณมิตพิาราแลกซ สามารถวัดระยะทางไดไมเกิน 20 พาเสก ถาดาวอยูไกลมากกวานี้จะตองทําการวัดพาราแลกซจากสเปกตรัม เรียกวา สเปคโตรสโคปคพาราแลกซ หรือการวัดจากเรดชิฟ (redshift) ของดาวแลวอาศยักฎของฮับเบลิ ในการคํานวณหาระยะทาง ถาวัดพาราแลกซของดาวได 1′′ ดาวจะอยูไกลเทาไร

d (ไมล) = "1

000,000,93206265×

= 19,000,000,000,000 ไมล สเกลระยะทางทางดาราศาสตร ถาใหระยะทางโลกกับดวงจนัทร (384,000 km) เทียบกับระยะ 1 cm

ระยะระหวาง โลก-ดวงอาทิตย เทียบไดกับ 3.9 m ระยะระหวาง ดวงอาทิตย-ดาวพูลโต ≡ 154 m ระยะระหวาง ดวงอาทิตย-ดาว Proxima centuari ≡ 1000

km ระยะระหวาง ดวงอาทิตย-ศูนยกลางกาแลกซี่ของเรา ≡ 6,400 Mm รัศมีของกาแลกซี่ของเรา ≡ 10,000 Mm กาแลกซี่ของเรา-กาแลกซี ่ Large Magellanic Cloud ≡ 42 Gm กาแลกซี่ของเรา-กาแลกซี ่ Andromeda ≡ 459 Gm

เมื่อ k – kilo = 103

Page 16: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 16

M – Mega = 106 G – Giga = 109 T – Tera = 1012

5.6 การวัดระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร

ในสมัยกรีก อริสตาคัส ใชสมมุติฐานวาดวงจันทรเปนทรงกลมสองแสงโดยการสะทอนแสงจากดวงอาทิตย ตามรูป (ไมเปนไปตามสัดสวนจริงใชสําหรับอธิบาย) เมื่อดวงจันทรสวางครึ่งหนึ่งพอดี ตําแหนงของดวงจันทรจะทํามุมนอยกวา 90o เทียบกับตําแหนงโลกกับดวงอาทิตย อริตาคัสวัดมุมที่โลกระหวางดวงอาทิตยกับดวงจันทร เมื่อดวงจันทรสวางครึ่งดวงพอดี เขาวัดคาได 87o (มุมจริงๆ คือ 89o 50′) โดยใชการวิเคราะหทางเรขาคณิต อริตาคัสสรุปวา ดวงอาทิตยจะอยูไกลกวาดวงจันทรจากโลกระหวาง 18 ถึง 20 เทา สมัยนั้นทราบวาระยะประมาณของดวงจันทรหางจากโลกหลายแสนไมล ดวงอาทิตยจึงอยูหางจากโลกหลายลานไมล

จากการวิเคราะหของอริตาคัสยังใหขอมูลเกี่ยวกับขนาดของดวงจันทรและดวง

อาทิตย พบวาดวงจันทรมีขนาดประมาณ 31 ของโลก ดวงอาทิตยซ่ึงมีขนาดเชิงมุมเทาดวงจันทรอยู

ไกลกวาดวงจันทร 18 เทา จะตองมีขนาดอยางนอย 318 หรือ 6 เทาของโลก หรือมีปริมาตร

มากกวาโลก 216 เทา

ปจจุบันระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร เราวัดโดยใชเรดาหสงไปสะทอนที่ดวงจันทร แลววัดชวงเวลาที่สะทอนกลับของสัญญาณ ทําใหคํานวณระยะระหวางโลกถึงดวงจันทร ไดระยะระหวางโลกถึงดวงจันทรไมเทากันทุกตําแหนง เนื่องจากดวงจันทรไมไดโคจรรอบโลก

ดวงอาทิตย

ดวงจันทร

โลก

Page 17: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 17

เปนวงกลมที่สมบูรณ เราจึงใชคาเฉลี่ยของระยะระหวางโลกกับดวงจันทร ซ่ึงคาที่ใชกันคือ 384,000 กิโลเมตร

5.7 การวัดเวลา วัน เดือน ป เวลา 1 วินาที วัดจากชวงเวลา 9,191,631,770 ± 20 คาบ ของการแผรังสีที่เกิดจาก

การทรานซิชันระหวางระดบัไฮเปอรฟาย 2 ระดบัของสภาวะพื้นฐาน (ground state) ของอะตอม ซิเซียม-133 (Caesium-133 เปนไอโซโทปที่สเถียร)

วันดาราคติ (Sidereal day) คือ เวลาที่สังเกตดาวเคลื่อนไปบนทองฟาครบ 1 รอบ

พอดี (โลกหมุนครบ 1 รอบ เทียบกับดาวฤกษ)

กิจกรรม 5.6 วันดาราคติ ในการวัดวันดาราคติ จะใชนาฬิกาจับเวลาที่มีความแมนยําและตะปูเกลียวหวง

(สําหรับใชแขวนมานหรือสับขอหนาตาง) เลือกหลังคาสิ่งกอสรางหรือร้ัวที่มั่นคงที่อยูทางทิศตะวันตกของผูสังเกต เอาตะปูเกลียวมีหวงติดกับเสาไมหรือตนไมที่ใหญพอสมควร หวงตะปูทําหนาที่เปนเหมือนศูนยเล็งไปยังดาวฤกษที่สวาง ซ่ึงเมื่อมองผานหวงตะปูดาวที่เรามองอยูเหนือหลังคาเล็กนอย บันทึกเวลาในจังหวะที่ เมื่อมองดาวผานหวงแลว ดาวกําลังถูกบังหายไปดานหลังคาพอดี ในคืนตอไปบันทึกเวลาอีกครั้งหนึ่งในจังหวะเดียวกัน ดาวใชเวลานานเทาใดในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ คาความไมแนนอนในการวัดคืออะไร ถาเราสงสัยหรือไมมั่นใจคาที่วัดไดใหทําการวัดตอไปทุกวันสักชวงเวลาหนึ่ง เชน 1 สัปดาห หรือ 1 เดือน แลวคอยนําคาที่วัดไดแตละวันมาเปรียบเทียบกันดู ทําการเฉลี่ยคาที่วัดไดหาคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาเฉลี่ยที่ไดจะเปนการวัดวันดาราคติที่มีความถูกตองละเอียดพอสมควร ถาเวลาที่วัดไดไมเทากับ 24 ช่ัวโมงพอดี จงคํานวณวาจะตองใชเวลากี่วัน จึงจะทําใหความคลาดเคลื่อนนี้สะสมรวมกันครบ 24 ช่ัวโมง

Page 18: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 18

เดือน Sidereal Month = 27.321 661 days. Synodic Month = 29.530 588 days. Tropical Month = 27.321 582 days. Anomalistic Month = 27.554 551 days. Nordical Month = 27.212 220 days. *Period of Moon’s Node = 18.61 Tropical Year. ป Tropical Year = 365.242 199 days. Sidereal Year = 365.256 366 days. Anomalistic Year = 365.259 641 days. Eclipse Year = 346.620 031 days. Julian Year = 365.25 days. Gregorian Year = 365.2425 days.

• ใหทานทําการวัดวันดาราคติ และเขยีนแผนภาพอธิบายวา วันดาราคติตางจากวนัสุริยคติอยางไร

5.8 การวัดคาบการโคจรของดาวเคราะห ปญหาคือ การหาอัตราการเคลื่อนที่ของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย โดยทําการ

สังเกตการณจากโลก ซ่ึงในเวลาเดียวกันโลกเองก็มีการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยดวย ตัวอยางเชน

ดาวเคราะหที่อยูใกลดวงอาทิตยมากกวาโลก เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยดวยอัตรา 411 รอบตอป

โลกเคล่ือนที่รอบดวงอาทิตยดวยในทิศทางเหมือนกันกับการเคลื่อนที่ของดาวเคราะหดวยอัตรา 1 รอบตอป เพราะวาโลกเคลื่อนที่ตามหลังดาวเคราะห การเคลื่อนที่ของดาวเคราะหรอบ

ดวงอาทิตยจะ ปรากฏใหผูสังเกตบนโลกสังเกตเห็นในอัตราที่นอยกวา 411 รอบตอป

Page 19: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 19

ดาวเคราะหที่เคลื่อนที่

411 รอบ รอบดวงอาทิตยในเวลา 1 ป จะปรากฏ ใหผู

สังเกต การณบนโลกเห็นวาเคลื่อนที่ไปเพียง 41 รอบ ตามรูปจะสังเกตวาอัตราการเคลื่อนที่ปรากฏ

ของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยจะเปนผลตางระหวางอัตราการเคลื่อนที่ของดาวเคราะหกับอัตราการเคลื่อนที่ของโลก

411 รอบตอป - 1 รอบตอป =

41 รอบตอป

โดยทั่วไป ถาดาวเคราะหวงในเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยดวยความถี่ fp และโลกเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยดวยความถี่ fe แลว อัตราการเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห fpe ที่มองเห็นไดจากโลกจะเปน fpc = fp – fe

การพิจารณาคลาย ๆ กับที่กลาวขางบน ยังคงใชไดกับดาวเคราะหที่อยูไกลจากดวง

อาทิตยมากกวาโลก

โลก

ดาวเคราะห

ดวงอาทิตย

Page 20: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 20

ดาวเคราะหเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยเพียง 41 รอบใน 1 ป เมื่อสังเกตจากโลกจะ

ปรากฏใหเห็นวาเปน 411 รอบ

เมื่อดาวเคราะหเหลานั้นเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยชากวาโลกโลกจะทิ้งหางดาวเคราะหไวขางหลัง ผลที่เกิดขึ้นก็คือ เครื่องหมายในสมการสําหรับ fpe จะเปลี่ยนเปนตรงขาม

fpe = fp + fe

ความถี่ปรากฏคือ ส่ิงที่เราสังเกตไดจริง และ fe โดยนิยามคือ 1 รอบตอป ดังนั้น สมการทั้งสองจึงแกไดโดยงาย สําหรับอัตราการเคลื่อนที่จริงที่ไมทราบคา fp ของ ดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย สําหรับดาวเคราะหวงใน fp = 1 รอบตอป + fpe สําหรับดาวเคราะหวงนอก fp = 1 รอบตอป - fpe

โคเปอรนิคัสใชการสังเกตการณบางสวนของโทเลมีและของเขาเอง มีขอความแสดงขอมูลปรากฏในหนังสือ De Revolutionibus (หนังสือที่เขียนโดย โคเปอรนิคัส) วา “ดาวพฤหัสถูกโลกแซง 65 คร้ังใน 71 ปสุริยคติ 5 วัน 45 นาที 27 วินาที”

ในตารางขางลาง ขอมูลของโคเปอรนิคัสปดเศษขึ้นมายังรอบปที่ใกลที่สุด คาบที่ใชสําหรับ ดาวเคราะหวงในนับจากการขจัดตําแหนงหนึ่งของดาวเคราะหที่อยูไกลสุดจากดวงอาทิตยทางดานตะวันออก เคลื่อนที่ไปแลวกลับมายังตําแหนงการขจัดเดิมในครั้งถัดไป ตําแหนงที่ใชสําหรับ ดาวเคราะหวงนอกใชตําแหนงตรงขาม (opposition; ใหดูในเรื่องการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห) ดวงอาทิตยคร้ังหนึ่งกับตําแหนงตรงขามครั้งตอไป

จํานวนปที ่ใชในการ

จํานวนปรากฏ ของรอบเทียบ

ความถี่ปรากฏ fpc ใน

ความถี่ fp รอบดวงอาทิตย

คาบของการโคจรรอบ

อาทิตย

โลก

ดาวเคราะห

Page 21: บทที่ 5 - mwit.ac.thastronomy/For_teacher/Lesson5a.pdf · บทที่ 5 การวัดและการค ํานวณอย างง ายทางดาราศาสตร

บทที่ 5 การวัดและการคํานวณอยางงายทางดาราศาสตร 21

สังเกตการณ (t)

กับดวงอาทิตย (n)

หนวยรอบตอป

(n/t)

ในหนวย รอบตอป (n/t)

ดวงอาทิตย 1/fp ในหนวย

ป ดาวพุธ 46 145 3.15 4.15 0.24 ดาวศุกร 8 5 0.625 1.625 0.614 ดาวอังคาร 79 37 0.468 0.532 1.88 ดาวพฤหัส 71 65 0.915 0.085 11.8 ดาวเสาร 59 57 0.966 0.034 29.4

กิจกรรม 5.7 คาบการโคจรของดาวเคราะห

1) ถาไมมีขอมูลที่คนอื่นไดทําการสังเกตการณและบันทึกตําแหนงดาวเคราะหไวในชวงชีวิตทาน ทานจะทําการวัดคาบการโคจรของดาวเคราะหดวงใด ไดบาง

2) จงวางแผนวา ถาทานตองการวัดคาบการโคจรรอบดวงอาทิตยของดาวเคราะหดวงหนึ่ง ทานจะทําอยางไร