14
บทที9 ณัฐพงษ บุญปอง ระบบตอมไรทอ 9.1 ตอมไรทอและฮอรโมน รางกายของคนเรามีตอมที่หลั่งสารเคมีและของเหลวอยูหลายตอม ซึ่งแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1. ตอมมีทอ (exocrine gland) เปนตอมที่สรางสารเคมีแลวมีทอลําเลียงสิ่งที่ผลิตขึ้นออกมาภายนอกได เชน ตอมน้ําลาย ตอมน้ําตา ตอมเหงื่อ ตับ ตอมน้ําเมือกในโพรงจมูก ฯลฯ 2. ตอมไรทอ (endocrine gland) เปนตอมที่มีหนาที่สรางสารเคมีที่เรียกวา ฮอรโมน (hormone) แลวถูกลําเลียง ไปออกฤทธิ์จําเพาะที่อวัยวะเปาหมาย (target organ) โดยอาศัยระบบหมุนเวียนโลหิต เชน ตอมใตสมอง ตอมไธรอยด ตอมพาราไธรอยด ตอมหมวกไต ฯลฯ ** หมายเหตุ ตับออน (pancreas) เปนไดทั้งตอมมีทอและตอมไรทอ เพราะสามารถสรางไดทั้งเอนไซม (มีทอนําออก) และฮอรโมน (ไมมีทอนําออก) อัณฑะ (Testis) และรังไข (Ovary) ถือไดวาเปนทั้งตอมมีทอ (สรางเซลลสืบพันธุมีทอ นําออก) และตอมไรทอสรางฮอรโมน (อาศัยระบบหมุนเวียนโลหิต) แหลงสรางฮอรโมน มีดังนี1. ฮอรโมนจากตอม (glandular hormone หรือ True hormone) เปนฮอรโมนแทจริงที่ผลิตขึ้นโดย ตอมไรทอตาง เชน ไธรอกซิน (thyroxin) โพรเจสเทอโรน (progesterone) โพรแลกทิน (prolactin) ฯลฯ 2. ฮอรโมนจากเนื้อเยื่อ (tissue hormone) เปนฮอรโมนที่สรางจากเนื้อเยื่อกลุมใดกลุมหนึ่งของอวัยวะ บางอยาง เชน ฮอรโมนที่ผนังลําไส (pancreozymin) ฮอรโมนจากผนังกระเพาะอาหาร (gastrin) และฮอรโมนจากไต (erythropoietin) 3. ฮอรโมนประสาท (neurohormone) เปนฮอรโมนที่สรางมาจากบริเวณของระบบประสาทสวนกลาง (CNS) เชน บริเวณสมองสวนไฮโพธาลามัส (hypothalamus) จะมีเซลลประสาทที่สรางฮอรโมนได เรียกวา เซลลนิวโร ซีครีทอรี (neurosecretory cell) สรางฮอรโมนออกซิโทซิน (oxytocin) วาโซเพรสซิน (vasopressin) สวนนอรอะดรีนาลีน (noradrenaline) สรางจากปลายประสาท sympathetic ของ ANS ซึ่งทั้งหมดเปนฮอรโมนประสาท ประเภทของฮอรโมน แบงออกเปน 4 ประเภท คือ 1. ฮอรโมนประเภทเพปไทด (Peptide hormone) เปนสารประกอบประเภทโปรตีนหรือโพลีเพปไทด สายสั้น เชน GH TSH และ insulin ฮอรโมนพวกนี้จะมีผลออกฤทธิ์ทีเยื่อหุมเซลลของอวัยวะเปาหมาย (target organ) 2. ฮอรโมนประเภทเอมีน (Amine hormone) เปนสารประเภทอนุพันธของกรดอะมิโน จะออกฤทธิทีเยื่อหุมเซลลของอวัยวะเปาหมาย เชน adrenaline และ noradrenaline 3. ฮอรโมนประเภทสเทอรอยด (Steroid hormone) เปนฮอรโมนที่มีโครงสรางทางเคมีเปนวง (ring) สามารถเขาไปจับกับ receptor ทีcytoplasm ในเซลลของอวัยวะเปาหมาย และไปออกฤทธิ์ในนิวเคลียสที่โครโมโซม เชน ฮอรโมนจากตอมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) อัณฑะ และรังไข 4. ฮอรโมนประเภทกรดไขมัน (Fatty acid hormone) เปนสารประกอบของกรดไขมัน ไดแก prostaglandin (พบใน semen และสรางจากเนื้อเยื่อตาง ) มีผลทําใหกลามเนื้อหดตัว หลอดเลือดหดตัว (สาเหตุของ การปวดศีรษะ) และ JH ของแมลง

บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

บทที่ 9 ณัฐพงษ บุญปอง

ระบบตอมไรทอ

9.1 ตอมไรทอและฮอรโมน

รางกายของคนเรามีตอมท่ีหล่ังสารเคมีและของเหลวอยูหลายตอม ซ่ึงแบงออกเปน 2 ชนิด คือ

1. ตอมมีทอ (exocrine gland) เปนตอมท่ีสรางสารเคมีแลวมีทอลําเลียงส่ิงท่ีผลิตข้ึนออกมาภายนอกได เชน

ตอมนํ้าลาย ตอมนํ้าตา ตอมเหง่ือ ตับ ตอมนํ้าเมือกในโพรงจมูก ฯลฯ

2. ตอมไรทอ (endocrine gland) เปนตอมท่ีมีหนาท่ีสรางสารเคมีท่ีเรียกวา ฮอรโมน (hormone) แลวถูกลําเลียง

ไปออกฤทธ์ิจําเพาะท่ีอวัยวะเปาหมาย (target organ) โดยอาศัยระบบหมุนเวียนโลหิต เชน ตอมใตสมอง ตอมไธรอยด

ตอมพาราไธรอยด ตอมหมวกไต ฯลฯ

** หมายเหตุ ตับออน (pancreas) เปนไดท้ังตอมมีทอและตอมไรทอ เพราะสามารถสรางไดท้ังเอนไซม

(มีทอนําออก) และฮอรโมน (ไมมีทอนําออก)

อัณฑะ (Testis) และรังไข (Ovary) ถือไดวาเปนท้ังตอมมีทอ (สรางเซลลสืบพันธุมีทอ

นําออก) และตอมไรทอสรางฮอรโมน (อาศัยระบบหมุนเวียนโลหิต)

แหลงสรางฮอรโมน มีดังน้ี

1. ฮอรโมนจากตอม (glandular hormone หรือ True hormone) เปนฮอรโมนแทจริงท่ีผลิตข้ึนโดย

ตอมไรทอตาง ๆ เชน ไธรอกซิน (thyroxin) โพรเจสเทอโรน (progesterone) โพรแลกทิน (prolactin) ฯลฯ

2. ฮอรโมนจากเน้ือเย่ือ (tissue hormone) เปนฮอรโมนท่ีสรางจากเน้ือเย่ือกลุมใดกลุมหน่ึงของอวัยวะ

บางอยาง เชน ฮอรโมนท่ีผนังลําไส (pancreozymin) ฮอรโมนจากผนังกระเพาะอาหาร (gastrin) และฮอรโมนจากไต

(erythropoietin)

3. ฮอรโมนประสาท (neurohormone) เปนฮอรโมนท่ีสรางมาจากบริเวณของระบบประสาทสวนกลาง

(CNS) เชน บริเวณสมองสวนไฮโพธาลามัส (hypothalamus) จะมีเซลลประสาทท่ีสรางฮอรโมนได เรียกวา เซลลนิวโร

ซีครีทอรี (neurosecretory cell) สรางฮอรโมนออกซิโทซิน (oxytocin) วาโซเพรสซิน (vasopressin) สวนนอรอะดรีนาลีน

(noradrenaline) สรางจากปลายประสาท sympathetic ของ ANS ซ่ึงท้ังหมดเปนฮอรโมนประสาท

ประเภทของฮอรโมน แบงออกเปน 4 ประเภท คือ

1. ฮอรโมนประเภทเพปไทด (Peptide hormone) เปนสารประกอบประเภทโปรตีนหรือโพลีเพปไทด

สายส้ัน ๆ เชน GH TSH และ insulin ฮอรโมนพวกน้ีจะมีผลออกฤทธ์ิท่ีเย่ือหุมเซลลของอวัยวะเปาหมาย (target organ)

2. ฮอรโมนประเภทเอมีน (Amine hormone) เปนสารประเภทอนุพันธของกรดอะมิโน จะออกฤทธ์ิ

ท่ีเย่ือหุมเซลลของอวัยวะเปาหมาย เชน adrenaline และ noradrenaline

3. ฮอรโมนประเภทสเทอรอยด (Steroid hormone) เปนฮอรโมนท่ีมีโครงสรางทางเคมีเปนวง (ring)

สามารถเขาไปจับกับ receptor ท่ี cytoplasm ในเซลลของอวัยวะเปาหมาย และไปออกฤทธ์ิในนิวเคลียสท่ีโครโมโซม

เชน ฮอรโมนจากตอมหมวกไตช้ันนอก (adrenal cortex) อัณฑะ และรังไข

4. ฮอรโมนประเภทกรดไขมัน (Fatty acid hormone) เปนสารประกอบของกรดไขมัน ไดแก

prostaglandin (พบใน semen และสรางจากเน้ือเย่ือตาง ๆ) มีผลทําใหกลามเน้ือหดตัว หลอดเลือดหดตัว (สาเหตุของ

การปวดศีรษะ) และ JH ของแมลง

Page 2: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

2

การควบคุมการทํางานของอวัยวะเปาหมาย 3 ชนิด

1. ฮอรโมนจากตอมหรือเน้ือเย่ือ แพรเขาสูกระแสเลือด ไปควบคุมอวัยวะเปาหมายที่อยูไกล

2. ใชฮอรโมนประสาทจากเซลลประสาท แพรเขาสูกระแสเลือด ไปควบคุมอวัยวะเปาหมายซึ่งอยูไกล

3. ใชสารส่ือประสาท จากปลายแอกซอนกระตุนอวัยวะเปาหมาย

** หมายเหตุ อวัยวะเปาหมาย (target organ) จะมีหนวยรับ (receptor) ท่ีเจาะจงกับฮอรโมนแตละชนิด

จึงเปนสาเหตุใหฮอรโมนแตละชนิดไปออกฤทธ์ิท่ีอวัยวะเปาหมายนั้น ๆ ไดอยางเจาะจง

ผลของฮอรโมนตอ Target organ

1. การซึมของสารผานเซลล

2. อัตรา metabolism ของเซลล

3. เพ่ิม cAMP เพ่ือควบคุมเอนไซมซ่ึงมีผลตอ metabolism

4. การสราง RNA และโปรตีนของเซลล

คุณสมบัติของฮอรโมน มีดังน้ี

1. เปนสารเคมีพวกโปรตีน เอมีน สเทอรอยด หรือกรดไขมัน ซ่ึงสรางจากตอมไรทอหรือเน้ือเย่ือกลุมใดกลุมหน่ึง

2. มีอวัยวะเปาหมายที่แนนอน (ใชกลไกแบบยอนกลับ)

3. มีผลทางสรีรวิทยาในปริมาณตํ่า (พบในเลือดในปริมาณตํ่า) ยาวนาน และกลวางขวาง

4. อายุส้ัน นอยกวา 1 ช่ัวโมง (ถูกทําลายท่ีตับเม่ือหมดอายุ)

บทบาทหรือหนาท่ีของฮอรโมน มีดังน้ี

1. ควบคุมกระบวนการ metabolism ตาง ๆ ภายในรางกาย เชน ควบคุม metabolism ของคารโบไฮเดรต

โปรตีน ไขมัน และเกลือแรตาง ๆ

2. ควบคุมความสมดุลของสภาวะตาง ๆ ในรางกาย เชน ควบคุมสมดุลของอุณหภูมิรางกาย นํ้าตาล นํ้า เกลือแร

ตาง ๆ และแรงดันเลือด

3. ควบคุมการเจริญเติบโตของส่ิงมีชีวิต

4. ควบคุมเก่ียวกับระบบสืบพันธุ การคลอดบุตร และการหล่ังนํ้านม

5. ควบคุมเก่ียวกับการปรับตัวของส่ิงมีชีวิตใหเขากับสภาพแวดลอม

ตอมไรทอท่ีสําคัญของคนเรา

1. ตอมไพเนียล (Pineal gland)

2. ตอมใตสมอง (Pituitary gland)

3. ตอมไธรอยด (Thyroid gland)

4. ตอมพาราไธรอยด (Parathyroid gland)

5. ตอมไธมัส (Thymus gland)

6. ตอมไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets of Langerhans)

7. ตอมหมวกไต (Adrenal gland)

8. รังไข (Ovary)

9. อัณฑะ (Testis)

* ตอมไรทอท่ีจําเปนมาก ถาขาดแลวตาย คือ 4, 6, และ 7

(ตอมหมวกไตช้ันนอก (adrenal cortex))

อวัยวะสืบพันธุ (Gonad)

Page 3: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

3

ในป พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848) นักสรีรวิทยาชาวเยอรมันช่ือ อารโนล เอ เบอรโธลด (Arnold A. Berthold) ได

ทดลองตัดอัณฑะของไกตัวผูออก ปรากฏวาไกยังเจริญเติบโตไปตามปกติ แตมีลักษณะคลายไกตัวเมียมากกวา คือ

หงอนและเหนียงคอมีขนาดเล็กลง เม่ือทําการทดสอบใหมโดยนําเอาอัณฑะจากไกอีกตัวใสเขาไปใหม ปรากฏวาระยะตอมา

จะมีหลอดเลือดมาหลอเล้ียงบริเวณอัณฑะ พบวาหงอนและเหนียงไกเจริญขยายขึ้นคลายลักษณะของไกตัวผูตามเดิม

ปจจุบันเราทราบวาอัณฑะจะหล่ังฮอรโมนออกมาและผานทางระบบเลือดไปมีผลตอการพัฒนาลักษณะท่ีเก่ียวกับเพศตาง ๆ

ของส่ิงมีชีวติ

ศึกษาภาพท่ี 9-1 ผลการทดลองศึกษาเจริญของหงอนและเหนียงคอของไกเพศผู (ชีววิทยา เลม 3 หนา 68 สสวท.)

1. หลังจากไกถูกตัดอัณฑะออก ผลจะเปนอยางไร?

ตอบ...................................................................................................................................................................................

2. เม่ือนําอัณฑะใหมมาปลูกใหเหมือนเดิม จะมีผลอยางไร?

ตอบ...................................................................................................................................................................................

3. ผลของขอ 1 และ 2 นาจะมาจากการทํางานของสารใด

ตอบ...................................................................................................................................................................................

4. สารจากอัณฑะถูกสงไปยังหงอนและเหนียงคอโดยทางใด

ตอบ...................................................................................................................................................................................

จุดกําเนิดของตอมไรทอ

ตอมไรทอ (endocrine gland) เปนตอมท่ีทําหนาท่ีในการสรางฮอรโมน และปลอยสูกระแสเลือด เสนเลือดท่ีนํา

เลือดออกจากตอมไรทอจึงมีความสําคัญมาก เพราะเปนตัวนําฮอรโมนออกจากตอม ตอมไรทอมีการเปล่ียนแปลงมาจาก

เน้ือเย่ือท้ัง 3 ช้ัน คือ ectoderm mesoderm และ endoderm ดังตาราง

ช่ือตอมไรทอ เจริญมาจากเนื้อเย่ือช้ันใดของเอ็มบริโอ อายุท่ีตอมเริ่มเกิด (สัปดาห) อายุท่ีตอมเจริญสมบูรณ (สัปดาห)

Pituitary

Adrenal medulla

Pineal

Adrenal cortex

Gonads

Thyroid

Parathyroid

Islets of Langerhans

Ectoderm

Ectoderm

Ectoderm

Mesoderm

Mesoderm

Endoderm

Endoderm

Endoderm

4

5

7

5

6

3.5

7

12

16

7

11

7

8

12

9

14

ลักษณะกลุมเซลลท่ีรวมอยูในตอมประเภทสรางสารเสทอรอยดและสารโปรตีน

ตอมประเภทสรางสารสเทอรอยด (steroid) และสารโปรตีน จะมีลักษณะกลุมเซลล ดังตาราง

ออรแกเนลล (organell) สารสเทอรอยด สารโปรตีน

Endoplasmic reticulum

Mitochondria

Lysosome

Membrane

Lipid droplet

SER

เปนทอน (tubular)

มีรงควัตถุ

ไมมีเยื่อหุมรอบแกรนูล

มีไขมันสะสมในไซโทพลาสซึม

RER

แบบเรียว (lamella)

ไมมีรงควัตถุ

มีเยื่อหุมรอบแกรนูล

ไมมีไขมันสะสมในไซโทพลาสซึม

Page 4: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

4

** หมายเหตุ ตอมไรทอท่ีเจริญจากเน้ือเย่ือช้ันนอก จะสรางฮอรโมนพวกเอมีน โปรตีน หรือพอลิเพปไทด

ตอมไรทอท่ีเจริญจากเน้ือเย่ือช้ันกลาง จะสรางฮอรโมนพวกสเทอรอยด

ตอมไรทอท่ีเจริญจากเน้ือเย่ือช้ันใน จะสรางฮอรโมนพวกเอมีน โปรตีน หรือพอลิเพปไทด

9.2 ตอมใตสมอง (Hypophysis หรือ Pituitary gland)

ตอมใตสมองเปนตอมท่ีมีลักษณะเปนกอนสีเทาแกมแดง ขนาดเทาเมล็ดถ่ัว อยูใตสมองสวนไฮโพธาลามัส ถือเปน

หัวใจของตอมไรทอ (Master gland) เพราะควบคุมการสรางฮอรโมนของตอมไรทออื่น ๆ อีกหลายตอม แบงเปน 3 สวน คือ

1. ตอมใตสมองสวนหนา (anterior lobe หรือ pars distalis) เปนสวนท่ีไมไดเกิดมาจากเนื้อเย่ือประสาท เปน

สวนท่ีมีขนาดใหญ ประกอบดวยเซลลหลายประเภท สรางฮอรโมนหลายชนิด

2. ตอมใตสมองสวนกลาง (intermediate lobe หรือ pars intermedia) เปนสวนท่ีมีขนาดเล็กมาก (ในคน) แต

ในสัตวมีกระดูกสันหลังช้ันตํ่าจะมีขนาดใหญกวาและทํางานเดนชัดมากกวา

3. ตอมใตสมองสวนหลัง (posterior lobe หรือ pars nervosa หรือ neurohypophysis) เปนสวนท่ีเจริญมาจาก

เน้ือเย่ือประสาทท่ีย่ืนลงมาจากสมองสวนไฮโพธาลามัส ไมมีสวนในการสรางฮอรโมน แตจะทําหนาท่ีเก็บฮอรโมนท่ีสรางจาก

neurosecretory cell ของ hypothalamus

ความสัมพันธระหวางสมองไฮโพธาลามัสและตอมใตสมอง

- ตอมใตสมองสวนหนาถูกควบคุมโดยฮอรโมนประสาทจาก hypothalamus

- ตอมใตสมองสวนหลังถูกควบคุมโดยกระแสประสาทจาก hypothalamus (เปนท่ีเก็บฮอรโมนประสาท เรียกวา

Neurohumal organ ไดแก oxytocin และ vasopressin)

ตอมใตสมองสวนหนา

เปนสวนท่ีสําคัญท่ีสุด ประกอบดวยเซลลหลายประเภท โดยเซลลแตละประเภทจะสรางฮอรโมนเฉพาะชนิด ซ่ึงทุก

ชนิดเปนสารประกอบประเภทโปรตีน ไดแก

A. Growth hormone (GH) หรือ Somatotrophic hormone (STH)

Target organ: เซลลรางกายทั่ว ๆ ไป กลามเน้ือ และกระดูก

Function: - ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกายใหเปนไปตามปกติ

- ควบคุม metabolism ของคารโบไฮเดรต และไขมัน

Page 5: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

5

- เพ่ิมอัตราการสรางโปรตีนภายในเซลล (ลําเลียงกรดอะมิโนเขาสูเซลล)

- เพ่ิมระดับนํ้าตาลภายในเลือด (ลดการใชกลูโคสของเซลล)

ความผิดปกติ:

วัย นอยเกินไป มากเกินไป

เด็ก เต้ียแคระ สมสวน สติปญญาปกติ (Dwarfism) รางกายสูงใหญผิดปกติ (Gigantism) รักษาสมดุล

ตาง ๆ ในรางกายไมใหอายุส้ัน

ผูใหญ

โรคผอมแหง ระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่า ทน

ความเครียดทางอารมณไดนอยกวาคนปกติ

(Simmond’s disease)

กระดูกแขน-ขา ขากรรไกร และคาง จะยืดยาว ใหญ

กวาปกติ มือเทาโต (Acromegaly)

* ถารางกายมี GH มากเกินไป (ในวัยผูใหญ) จะทําใหสวนกระดูกแขน-ขา ขากรรไกร และคาง จะยืดยาวใหญกวา

ปกติ มือเทาโต เกงกาง จมูกใหญ ฟนแตละซ่ีจะใหญและหาง ริมฝปากหนา ระดับนํ้าตาลในเลือดสูง ทนตอความตึงเครียดได

นอย (เชนเดียวกับคนท่ีเปนโรค Gigantism) เรียกวา Acromegaly

** หมายเหตุ ความเครียด ขณะอดอาหารและการออกกําลังกาย กระตุนการหล่ังฮอรโมน GH

B. Gonadotrophic hormone หรือ Gonadotrophin (Gn)

1. Luteinizing hormone (LH) หรือ Interstitial cell stimulating hormone (ICSH)

Target organ: อวัยวะสืบพันธุของเพศชาย (อัณฑะ) และเพศหญิง (รังไข)

Function:

Dwarfism & Gigantism

Acromegaly

ในเพศชาย LH Interstitial cell

Testosterone ลักษณะเพศชาย

กระตุน

ควบคุมหลั่ง

การเจริญของ sperm ระยะหลัง

Page 6: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

6

2. Follicle Stimulating hormone (FSH)

Target organ: อวัยวะสืบพันธุของเพศชาย (อัณฑะ) และเพศหญิง (รังไข)

Function:

C. Prolactin หรือ Lactogenic hormone (LTH)

Target organ: ตอมนํ้านม

Function: ในเพศหญิง กระตุนการเจริญของตอมนํ้านม และการสรางนํ้านม ทําใหมารดารักลูก อยาก

ดูแลและปกปองลูกออน เรียกไดวาฮอรโมนสัญชาตญาณของการเปนแม (maternal instinct) จะหล่ังออกมามากในมารดาท่ี

ใหนมทารก

ในเพศชาย ยังไมทราบหนาท่ีแนชัด แตมีรายงานวา โพรแลกทินอาจทําหนาท่ีรวมกัน

endrogen มีผลไปกระตุนอวัยวะท่ีเก่ียวของกับการสืบพันธุ เชน กระตุนตอมลูกหมาก ตอมสรางนํ้าเล้ียงอสุจิ และทอนําอสุจิ

D. Adrenocorticotrophin หรือ Adrenocoritcotrophic hormone (ACTH)

Target organ: ตอมหมวกไตช้ันนอก (adrenal cortex)

Function: - กระตุนตอมหมวกไตสวนนอกใหเจริญเติบโต และสรางฮอรโมนหล่ังออกมา

- มีผลตอการเปล่ียนแปลงสีตัวของสัตวเลือดเย็น โดยทําใหสีเขมข้ึน (คลายฮอรโมน MSH

จากตอมใตสมองสวนกลาง)

- ฮอรโมน ACTH สัมพันธกับ Endorphins มาก (สรางจากตอมใตสมองสวนหนา) จะหล่ัง

มากขณะเครียดหรือออกกําลัง

ในเพศหญิง LH ทําใหมีการตกไขจาก follicle

Progesterone

กระตุน

ควบคุม หลั่ง

การเจริญของ Endometrium layer

กระตุนการเกิด Corpus luteum

Estrogen

ควบคุม

ในเพศชาย FSH การเจริญของ seminiferous tubules Sperm กระตุน สราง

ในเพศหญิง FSH กระตุน

หลั่ง

ลักษณะเพศหญิง

การเจริญของ Graafian follicle

Estrogen ควบคุม

Page 7: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

7

** หมายเหตุ การหล่ังฮอรโมน ACTH น้ัน อยูภายใตการควบคุมของฮอรโมน Glucocorticoid ในเลือด

ถามีมากจะไปยับย้ัง แตถามีนอยจะมีผลไปกระตุนการหล่ังฮอรโมน ความเครียดตาง ๆ มีผลไปกระตุนการหล่ัง ACTH ดวย

โดยผานทางสมองสวน hypothalamus

E. Thyroid stimulating hormone (TSH)

Target organ: ตอมไธรอยด

Function: กระตุนการสรางและหล่ังฮอรโมนจากตอมไธรอยดใหเปนไปตามปกติ

** หมายเหตุ การเจริญของตอมไธรอยดท่ีผิดปกติ ท่ีเรียกวา คอพอก (Goiter) นาจะเกิดจากฮอรโมน

TSH กระตุนมากเกินไป

ตอมใตสมองสวนกลาง

เปนสวนท่ีมีขนาดเล็ก ทําหนาท่ีสรางฮอรโมน Melanocyte stimulating hormone (MSH) ซ่ึงทําหนาท่ีทําให

รงควัตถุภายในเซลลผิวหนังของสัตวเลือดเย็น เชน ปลา กบ และสัตวเล้ือยคลาน กระจายออกไปท่ัวเซลลทําใหสีผิวเขมข้ึน

** หมายเหตุ ในสัตวเลือดอุน ยังไมทราบหนาท่ีของฮอรโมน MSH แนชัด แตเน่ืองจากมีโครงสรางทางเคมี

เหมือนสวนหน่ึงของโมเลกุลของฮอรโมน ACTH จึงเช่ือกันวาอาจมีหนาท่ีบางอยางคลายกัน

ตอมใตสมองสวนหลัง

เปนสวนของเน้ือเย่ือประสาทที่มีกลุมปลายแอกซอนของเซลลประสาท จากสมองสวน hypothalamus ซ่ึงเปน

เซลลประสาทชนิดพิเศษที่ทําหนาท่ีสรางฮอรโมนท่ีเรียกวา เซลลนิวโรซิครีทอรี (neurosecretory cell) โดยจะปลอยฮอรโมน

ท่ีปลายแอกซอน (axon terminal) ในตอมใตสมองสวนหลัง จากนั้นจะถูกนําไปสูสวนตาง ๆ ของรางกายโดยกระแสเลือด

ดังน้ันตอมใตสมองสวนหลังจึงทําหนาท่ี เก็บฮอรโมนประสาทท่ีสรางจากสมองสวน hypothalamus (ไมมีสวนในการสราง

ฮอรโมน) ไดแก oxytocin และ vasopressin

Page 8: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

8

A. Oxytocin

Target organ: กลามเน้ือเรียบของอวัยวะภายใน

Function: - ทําใหกลามเน้ือมดลูกบีบตัว ขับทารกออกมาขณะคลอดบุตร

- กระตุนกลามเน้ือรอบ ๆ ตอมนํ้านมใหบีบตัว ขับนํ้านมออกมา

- ชวยในการหล่ังอสุจิและการเคล่ือนท่ีของตัวอสุจิในปกมดลูก

** หมายเหตุ หญิงท่ีคลอดบุตรยาก แพทยจะฉีดฮอรโมน oxytocin กระตุนใหมดลูกบับตัวอยางแรง

เพ่ือขับทารกออกมาได

ฮอรโมน oxytocin จะหลั่งออกมามากในขณะใกลคลอด ถาหล่ังออกมานอยจะทําใหการ

คลอดบุตรยาก และขณะต้ังครรภ ควรมีระดับฮอรโมนต่ํา ถามีมากจะทําใหเกิดการแทงบุตรได

B. Vasopressin หรือ Antidiuretic hormone (ADH)

Target organ: ทอหนวยไตและหลอดเลือด

Function: จะควบคุมการดูดนํ้ากลับท่ีทอหนวยไตดานไกล (Distal convoluted tubules) และทอรวม

(Collecting duct) ทําใหหลอดเลือดแดงเล็ก ๆ (arteriole) บีบตัว ความดันเลือดสูงข้ึน ถาขาดฮอรโมนน้ีรางกายจะไม

สามารถสงวนนํ้าไว ทําใหปสสาวะบอยและมีนํ้ามากกวาปกติ เรียกอาการนี้วา เบาจืด (diabetes insipidus)

** หมายเหตุ ฮอรโมน Vasopressin หรือ ADH หรือเปนฮอรโมนท่ีปองกันการขับปสสาวะออกมามาก

เกินไป

ฮอรโมน ADH ใชฉีดใหกับคนไขหลังผาตัด เพ่ือเพิ่มแรงดันเลือดใหสูงข้ึน

การหล่ังฮอรโมน ADH ถูกควบคุมโดยระดับความดันเลือด คือจะหล่ังออกมามากเม่ือมีมี

ความดันเลือดสูง (เลือดมีความเขมขนมาก) ทอหนวยไตดูดนํ้ากลับมากข้ึน ปสสาวะนอยลง เชน ขณะเดินทางไกล ใหเอา

เกลือผสมนํ้า ปสสาวะจะนอยลง

สภาพอารมณท่ีตึงเครียดและสารนิโคทิน มีผลทําใหการหล่ัง ADH เพิ่มข้ึน ทําใหปสสาวะ

นอยลง แตแอลกอฮอลจะมีผลตรงขาม คือ ยับย้ังการหล่ัง ADH ทําใหมีการสรางปสสาวะเพ่ิมมากข้ึน

*** ขอควรทราบเพิ่มเติม

- ตอมใตสมองสวนหนาไดช่ือวา Master gland เพราะควบคุมการหล่ังฮอรโมนของตอมไรทออีกหลายชนิด เชน

ควบคุมตอมไธรอยด ตอมหมวกไตช้ันนอก อัณฑะ และรังไข

- ตอมใตสมองสวนหนา เปนตอมท่ีมีชนิดของเซลลสรางฮอรโมนหลายชนิดท่ีสุดและมีขนาดใหญกวาตอมใตสมอง

สวนกลางและสวนหลัง

- GH มีผลทําใหรางกายเจริญเติบโต เน่ืองจากไปเพ่ิมอัตราการขนสงกรดอะมิโนเขาสูเซลล เพ่ือการสังเคราะห

โปรตีน คลายกับผลของฮอรโมนอินซูลิน GH จะหล่ังออกมามากขณะหลับมากกวาขณะต่ืน และยังมากในยามท่ีรางกาย

ตองการพลังงาน เชน ขณะอดอาหาร ขณะนํ้าตาลในเลือดนอย และขณะรางกายไดรับการกระตุนทางประสาท เพ่ือเพ่ิมระดับ

นํ้าตาลในเลือด ซ่ึงมีผลตรงขามกับฮอรโมน insulin

- Oxytocin และ Vasopressin ไดช่ือวาเปนฮอรโมนประสาท (Neurohormone) สรางมาจากสมองสวน

hypothalamus

Page 9: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

9

สรุปสาระสําคัญ

1. ตอมใตสมองเปล่ียนแปลงมาจากเน้ือเย่ือช้ัน........................................................................

2. ตอมใตสมองสวน........................เปนสวนท่ีใหญท่ีสุดของตอมใตสมอง

3. ฮอรโมน..............................ควบคุมการเจริญของกระดูก โดยกระตุนการทํางานของเซลลสรางกระดูก ทําใหกระดูกยาวข้ึน

4. มีนํ้าตาลในเลือดนอยกวาคนปกติ รางกายตานทานตอความเครียดตาง ๆ อารมณไมดีเทากัน ปกติผิวหนังเห่ียวยน

รางกายผอมมาก และแกเร็วกวาปกติ เปนอาการของโรค..................................................เน่ืองจากขาดฮอรโมน....................

5. ....................................................เปนฮอรโมนที่มีฤทธ์ิกระตุนอวัยวะสืบพันธุ

6. MSH มีผลตอปลา สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก และสัตวเล้ือยคลาน คือ...............................................................................

..........................................................................................................................................................................................

7. ฮอรโมน...................................................ทําใหสีผิวเขมข้ึนมีโครงสรางคลายกับฮอรโมนท่ีกระตุนเมลาโนไซต (MSH)

8. การกระตุนการเจริญของตอมนํ้านมใหสรางนํ้านม เพ่ือเล้ียงดูตัวออนหลังคลอดเปนผลมาจากการควบคุมของฮอรโมน

......................................................................................

9. สมชายมีอาการของโรคเบาจืด เปนผลมาจากการขาดฮอรโมน.........................................................

10. ออกซิโทซิน ถาหล่ังออกมามากในขณะท่ียังไมครบกําหนดคลอด จะมีผล คือ................................................

9.3 ตอมไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets of Langerhans)

ป พ.ศ. 2411 พอล แลงเกอรฮานส (Paul Langerhans) แหงมหาลัยไฟเบิรก ประเทศเยอรมัน พบวาในตับออนมี

กลุมเซลลท่ีแตกตางจากเนื้อเย่ือสวนใหญของตับออน ซ่ึงกระจายอยูเปนหยอม ๆ ในกลุมเซลลน้ีมีเสนเลือดมาหลอเล้ียงมาก

ภายหลังจึงไดเรียกกลุมเซลลน้ีเพ่ือเปนการใหเกียรติแกผูคนพบวา ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets of Langerhans)

ในป พ.ศ. 2432 โยฮันน วอน เมอริง (Johann von Mering) และ ออสการ มินคอฟสกิ (Oscar Minkovski)

ไดพบวาการตัดตับออนของสุนัขมีผลตอการยอยไขมัน เปนเบาหวาน และตายใน 2 สัปดาห และพบฮอรโมนกลูคากอน

(glucagon) จากตับออน

ตอมาในป พ.ศ. 2463 เอฟ จี แบนติง (F. G. Banting) ศัลยแพทยชาวแคนาดาและ ซี เอช เบสต (C. H. Best)

นิสิตแพทยแหงมหาลัยโตรอนโต พบวา Islets of Langerhans ผลิตสารควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด และจากการมัดทอตับ

ออน พบวาตับออนไมสามารถหล่ังเอนไซมออกมาได แตตอม Islets ยังคงทํางานปกติ ตอมาสามารถสกัดฮอรโมนอินซูลิน

(insulin) ออกมาได สามารถชวยรักษาอาการเบาหวานของสุนัขได

ตอม Islets of Langerhans เปนกลุมเซลลเล็ก ๆ จํานวนมากกระจายอยูเปนหยอม ๆ ในตับออน เปนตอมไรทอ

ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด และจํานวนมากที่สุด (ประมาณ 2 ลานตอม) เสนผานศูนยกลางประมาณ 200-300 ไมครอน

ตอม Islets of Langerhans ประกอบดวยเซลล 2 ชนิด คือ

1. แอลฟาเซลล (-cell) เปนเซลลขนาดใหญ มีจํานวนนอยมาก และอยูดานนอก

Target organ: ตับ

Function: - สรางฮอรโมนกลูคากอน (glucagon)

- กระตุนให glycogen จากตับและกลามเน้ือ เปล่ียนไปเปน glucose แลวปลอย

ออกสูกระแสเลือด

Page 10: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

10

2. เบตาเซลล (-cell) เปนเซลลขนาดเล็ก มีจํานวนมาก และอยูดานใน

Target organ: เซลลตับและกลามเน้ือ

Function: - สรางฮอรโมนอินซูลิน (insulijn)

- ปรับระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดใหเปนปกติ

- ทําใหมีการใชกลูโคสในเน้ือเย่ือมากข้ึน

- ชวยใหนํ้าตาลในเลือกกลับเขาไปในเซลลและสังเคราะหเปน glycogen สะสมไว

ท่ีตับและกลามเน้ือ

ความผิดปกติเน่ืองจากฮอรโมนอินซูลิน

- ถารางกายขาดอินซูลิน จะทําใหรางกายไมสามารถนํานํ้าตาลมาใชประโยชนได นํ้าตาลในเลือดเพ่ิมสูงข้ึนเกิด

โรคเบาหวาน (diabetes mellitus)

- ถารางกายสรางอินซูลินมากเกินไป จะมีผลทําใหระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่าลง สมองขาดอาหาร เกิดการชอคได

*** เสริมสาระ ***

โรคเบาหวาน (diabetes mellitus) เปนโรคท่ีรูจักกันมานานแลว สาเหตุของการเกิดโรคน้ียังไมทราบแนชัด แต

นาจะมีสวนเก่ียวของกับโครงสรางบางสวนของตับออน

ตับออน (pancreas) จัดเปนอวัยวะท่ีมีท้ังตอมท่ีมีทอและไมมีทอ เพราะตอมมีทอทําหนาท่ีสรางนํ้ายอย สวนตอม

ไรทอทําหนาท่ีสรางฮอรโมน คนไขท่ีเปนโรคเบาหวานจะมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวาคนปกติ ปจจุบันพบวาโรคเบาหวานมี

2 แบบ คือ แบบแรก รางกายสรางอินซูลินไมไดเลย ตองไดรับการฉีดอินซูลินเพ่ือควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด แบบที่สอง

รางกายสรางอินซูลินไดแตไมสังเคราะหตัวรับอินซูลิน อินซูลินจึงทํางานไมได คนปวยมักเปนแบบท่ีสองน้ีมากถึง 90%

ของผูปวยท่ีเปนโรคเบาหวาน

สาเหตุ เกิดจากความอวน เน่ืองจากเน้ือเย่ือมีการตอบสนองตอฮอรโมน ผูสูงอายุ ตับออนจะสังเคราะหและหล่ัง

ฮอรโมนอินซูลินไมได ตับออนไดรับการกระทบกระเทือน เชน ตับออนอักเสบเน่ืองจากการดื่มสุรา เกิดการติดเช้ือไวรัส เชน

Page 11: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

11

คางทูม หัดเยอรมัน ยางบางชนิด มีผล เชน ยาขับปสสาวะ ยาคุมกําเนิด การตั้งครรภ เน่ืองจากฮอรโมนท่ีรกมีผลยับย้ังการ

ทํางานของฮอรโมนอินซูลิน

อาการของคนท่ีเปนโรคเบาหวาน นํ้าหนักจะลด ภูมิคุมกันตํ่า สมองและหัวใจโต ทํางานไดไมเต็มท่ี และถาเปนแผล

จะรักษายากและหายชา ท้ังน้ีเน่ืองมาจากรางกายใชคารโบไฮเดรตไมได ทําใหตองดึงไขมันและโปรตีนมาใชสันดาปแทน จึงมี

ผลใหรางกายเกิดภาวะกรดมาก (acidosis) ทําใหเกิดอาการตาง ๆ ตามมาภายหลัง ปสสาวะบอย เน่ืองจากกระบวนการกรอง

นํ้าตาลในเลือดสูง คอแหง เปนผลจากภาวะขาดอินซูลิน รางกายไมสามารถนําพลังงานไปใช หิวบอย ทานจุ เน่ืองจากรางกาย

ขาดพลังงาน

การแปลผลระดับนํ้าตาล ในผูใหญ คาปกตินอยกวา 110 mg/dl

ในเด็ก คาปกตินอยกวา 130 mg/dl

ในหญิงมีครรภ คาปกติโฟลิน 105 mg/dl

ถาการตรวจเลือดหลังอดอาหาร 6 ช่ัวโมง ระดับนํ้าตาลเกิน 110 mg./เลือด 100 cc ก็บอกไดวาผูปวยเปน

โรคเบาหวาน

ถาผลการตรวจเลือดไมเดนชัด เชน ตรวจนํ้าตาลไดเกิน 110 mg พอตรวจซํ้าไมเกิน หรือตรวจพบนํ้าตาลใน

ปสสาวะแตนํ้าตาลในเลือดนอยกวา 110 mg. เราก็จะทําการตรวจดูระดับนํ้าตาลในเลือดหลังรับประทานกลูโคส 75-100 g.

วิธีทดสอบนี้เราเรียกวา Glucose Tolerance Test (GTT) ถาเกิน 2 ช่ัวโมงหลังรับประทานนํ้าตาลกลูโคสระดับนํ้าตาลใน

เลือดเกิน 140 mg./เลือด 100 cc. ก็หมายความวาผูปวยน้ันเปนเบาหวาน แตยังเปนนอยอยู ท่ีเราเรียก เบาหวานแอบแฝง

(Latent DM)

การรักษา ผูปวยท่ีเปนโรคน้ีจะตองไปตรวจปริมาณนํ้าตาลในเลือดเปนประจํา การตรวจเลือดน้ีตองตรวจกอน

รับประทานอาหาร เพราะนํ้าตาลในเลือดจะสูงสุดเม่ือภายหลังกินอาหารไปแลว 2-4 ช่ัวโมง

ในปจจุบัน แพทยจะใชอินซูลินในการรักษาผูปวย ซ่ึงสามารถสกัดไดจากการทําพันธุวิศวกรรม โดยกานถายยีน

ท่ีสามารถผลิตฮอรโมนอินซูลินเขากับยีนของแบคทีเรียพวก E. coli จึงทําใหสามารถผลิตฮอรโมนอินซูลินเพ่ือตอบสนอง

ความตองการไดมากข้ึน

ความผิดปกติเน่ืองจากขาดฮอรโมนกลูคากอน

การขาดฮอรโมนกลูคากอน ไมมีผลทําใหเกิดโรคท่ีสําคัญเหมือนขาดอินซูลิน เพราะมีฮอรโมนจากแหลงอ่ืนทําหนาท่ี

ทดแทนไดหลายแหลง

*** ขอควรทราบเพิ่มเติม

- กอนตรวจเลือด แพทยจะหามผูปวยหรือผูท่ีตองการตรวจเลือดตองงดอาหารเสียกอน เพราะวาปริมาณนํ้าตาลใน

เลือดจะสูงกวาปกติ ในระยะ 2-4 ช่ัวโมง หลังจากกินอาหาร (ทําใหผลตรวจผิดพลาด)

- ตับออน (pancreas) ถือไดวาเปนท้ังตอมท่ีมีทอและตอมไรทอ

- ระดับนํ้าตาลในเลือดของคนปกติจะไมเกิน 100 mg./เลือด 100 cm3

- เซลลท่ีสรางนํ้ายอยของตับออน เรียกวา Acinaus cell (F-cell)

- เซลลท่ีอยูรอบ ๆ ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส เรียกวา -cell ซ่ึงเปนเซลลของตอมมีทอ ทําหนาท่ีสรางเอนไซม

Page 12: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

12

สรุปสาระสําคัญ

1. อวัยวะท่ีเปนท้ังตอมมีทอและตอมไรทอ เชน

1.1............................................. 1.2..................................... 1.3..........................................

2. พิจารณาปฏิกิริยาตอไปน้ี

หมายเลข 1 คือ................................

หมายเลข 2 คือ................................

3. ฮอรโมน...................................... เปน catabolic hormone เพราะ................................................................................

4. เม่ือฉีดอินซูลินเขาไปในเลือดคน จะทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง คือ....................................................................................

5. ถารางกายสรางอินซูลินมากเกินไปจะมีผลทําให................................................................................................................

6. แพทยจะไมเพ่ิมความเขมขนของฮอรโมนอินซูลินดวยการใหรับประทาน เพราะ.................................................................

7. ฮอรโมน........................................................................ชวยในการเจริญเติบโตเหมือนกับ GH จากตอมใตสมองสวนหนา

8. กอนตรวจเลือดแพทยจะหามผูปวยหรือผูท่ีตองการตรวจเลือดตองอดอาหารหลังเท่ียงคืน เพราะ.......................................

..........................................................................................................................................................................................

9. การทดสอบฮอรโมนกลูคากอนไมมีผลทําใหเกิดโรคท่ีสําคัญเหมือนจาดอินซูลิน เพราะ.......................................................

..........................................................................................................................................................................................

10. การหล่ังอินซูลินและกลูคากอนข้ึนอยูกับ........................................................................................................................

11. ศึกษากราฟแสดงระดับนํ้าตาลในเลือด

คนท่ีเปนเบาหวาน ..............

คนท่ีกินอาหาร (ปกติ) ..............

คนท่ีกําลังออกกําลังกาย ..............

คนท่ีเปนลม ..............

9.4 ตอมหมวกไต (Adrenal gland)

ตอมหมวกไตมีลักษณะเปนตอมขนาดเล็กรูปสามเหล่ียมครอบอยูดานบนของไตทั้ง 2 ขาง ประกอบดวยเน้ือเย่ือ 2

ช้ันท่ีแตกตางกันและแยกออกจากกันอยางชัดเจน คือ

1. เน้ือเย่ือช้ันนอก เรียกวา อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex)

2. เน้ือเย่ือช้ันใน เรียกวา อะดรีนัสเมดุลลา (adrenal medulla)

ก. Adrenal cortex เปนตอมท่ีจําเปนตอการคงอยูของชีวิต อยูภายใตการควบคุม

ของฮอรโมน ACTH จากตอมใตสมองสวนหนา สรางฮอรโมนประเภทสเตอรอยด มากกวา

50 ชนิด แบงออกเปน 3 กลุม คือ

1. กลูโคคอรติคอยด (glucocorticoid) มีหนาท่ีสําคัญ คือ

- ควบคุม metabolism ของคารโบไฮเดรต โดยการเปล่ียน glycogen ในตับและกลามเน้ือ

เปน glucose (ทําใหระดับนํ้าตาลในเลือดเพ่ิมสูงข้ึน)

- เพ่ิมอัตราการสลายตัวของโปรตีนและไขมัน

นํ้าตาลในเลือด ไกลโคเจนในตับ

1

2

Page 13: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

13

- ตอตานอาการแพของเน้ือเย่ือ คือ ปองกันการทําหนาท่ีของ lysosome ไมใหเกิดการ

ยอยสลายตัวเอง (ในวงการแพทยใชเปนยาลดการอักเสบ และรักษาโรคภูมิแพตาง ๆ)

- Ex. Cortisol และ Cortisone

2. มิเนอราโลคอรติคอยด (mineralocorticoid) มีหนาท่ีสําคัญ คือ

- ควบคุมสมดุลของนํ้าและเกลือแรตาง ๆ

- บางตัวก็สามารถควบคุม metabolism ของคารโบไฮเดรต

- Ex. Aldosterone โดยทําหนาท่ีดูดกลับ Na+ และ Cl

- ภายในทอไต (ควบคุมสมดุลของ

โซเดียมในเลือด)

*** ถาขาด aldosterone โซเดียมจะถูกขับออกทางไตเขาไปในปสสาวะมาก มีผลทําให

รางกายขาดนํ้า เรียกวา เบาเค็ม

3. คอรติคอล เซ็กส ฮอรโมน (cortical sex hormone)

- กระตุนใหมีลักษณะทางเพศท่ีสมบูรณ (secondary sexual characteristics) เชน

ชาย มีหนวดเครา เสียงหาว Etc.

หญิง มีสะโพกผาย เสียงเล็กแหลม ทรวงออกขยาย

ความผดิปกติท่ีเกิดจากฮอรโมนที่สรางจาก Adrenal cortex

ถาขาดฮอรโมนจากตอมหมวกไตสวนนอก จะทําใหเกิดโรคแอดดิสัน (Addison’s disease) มีอาการซูบผอม

ออนเพลีย กลามเน้ือออนเปล้ีย (เพราะ metabolism ของคารโบไฮเดรตผิดปกติ) ความดันเลือดและน้ําตาลในเลือดมักตํ่า

กระเพาะและลําไสทํางานไมปกติ

ถาฮอรโมนจากตอมหมวกไตสวนนอกมากเกินไป จะทําใหเกิดโรคคูชิง (Cushing’s syndrome) มีอาการ

ออนเพลีย ผิวหนังตกกระ อวน กินจุ หนากลมเหมือนพระจันทร (moon face) หนาแดง ผมรง มีไขมันสะสมตามตัวและ

หนาทอง ความดันโลหิตสูง นํ้าตาลในเลือดสูงเหมือนคนเปนเบาหวาน

** หมายเหตุ ความเครียดทางอารมณ มีผลตอศูนยประสาทในสมองสวนไฮโพธาลามัส ทําใหหล่ังฮอรโมน

ประสาทแกระตุนตอมใตสมองใหหล่ังฮอรโมน ACTH ออกมากระตุนการสรางและหล่ังฮอรโมนจากตอมหมวกไตช้ันนอก

(Adrenal cortex) ใหหล่ังฮอรโมนคอรติซอลออกมา เพ่ือเพ่ิมระดับนํ้าตาลในเลือด สมองไมเปนอันตราย

ผลของความเครียดและความเจ็บปวดตอการหล่ังฮอรโมนคอรติซอลจากตอมหมวกไตช้ันนอก จากการศึกษาพบวา

หลังจากขาหัก 2-3 ช่ัวโมง ตอมหมวกไตช้ันนอกจะหล่ังฮฮรโมนคอรติซอลเพ่ือเพ่ิมเขาสูกระแสเลือดอยางรวดเร็ว

Cushing’s syndrome

Addison’s disease

Page 14: บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

14

ข. Adrenal medulla เปนตอมท่ีอยูภายใตการควบคุมของระบบประสาทซิมพาเธทิก สรางฮอรโมน 2 ชนิด คือ

1. Adrenalin หรือ Epinephrine

Target organ: ตับ กลามเน้ือหัวใจ และกลามเน้ือเรียบ

Function: - กระตุนตับและกลามเน้ือใหเปล่ียน glycogen เปน glucose เขาสู

กระแสเลือด ทําใหระดับนํ้าตาลในเลือดสูงข้ึน

- ทําใหรางกายพรอมตอการหนีภัยหรือตอสูกัยออันตรายตาง ๆ อยาง

กระทันหันหรือเม่ือเผชิญกับสถานการณยามฉุกเฉิน (Emergency hormone)

- ทําใหมีแรงมากขณะตกใจ

- เพ่ือเพ่ิมอัตราการเตนของหัวใจ

- ทําใหความดันโลหิตสูงข้ึน

- แตทําใหเสนเลือด arteriole ท่ีอวัยวะตาง ๆ ขยายตัว

** หมายเหตุ Adrenalin - สามารถนํามาใชในการหามเลืด เน่ืองจากสามารถทําใหเลืออดเปนล่ิม ๆ

- นํามาใชในการรักษาโรคหืด คือฉีดใหคนไขเพ่ือขยายหลอดลมใหหายใจคลอง

และสะดวกข้ึน รักษาโรคหัวใจ (กรณีหัวใจเตนชา)

2. Noradrenalin หรือ Norepinephrine

Target organ: ตับ กลามเน้ือเรียบ และกลามเน้ือหัวใจ

Function: