1
ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และสาหร่าย ในเขตอาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี Biodiversity and Cultivation of Plant and Algae from Khong Chiam District in Ubon Ratchathani Province ศิวพร หอมหวล, ปริญญา มูลสิน, จักรพงค์ แท่งทอง สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี S. Homhuan , P. Moonsin, J. Taengtong Program of Biology, Faculty of Science, Ubon Ratchathai Rajabhat University วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของสาหร่ายในน้าตกสร้อยสวรรค์ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อเพาะเลี้ยงสาหร่ายจากน้าตกสร้อยสวรรค์ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในบริเวณ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อขยายพันธุ์พืชหายากและพืชสมุนไพรที่เพาะเลี้ยงยากที่มีศักยภาพ พัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับชุมชน ขอบเขต ศึกษาความหลากหลายทางของพืช สาหร่าย บริเวณอาเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชหายากใกล้สูญพันธุ์หรือพืชสมุนไพร และเพาะเลี้ยง สาหร่าย เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรม วิธีการดาเนินงานวิจั เก็บตัวอย่างน้าตามจุดที่กาหนด 5 จุด 1. การศึกษาคุณภาพน้าและสาหร่ายขนาดใหญ่ การวิเคราะห์ข้อมูล หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางกายภาพ เคมีและชีวภาพบางประการที่มีผลต่อการ กระจายตัว และความหลากหลายทางชีวภาพของ 2. การเพาะเลี้ยงสาหร่าย เพาะเลี้ยงสาหร่ายจากน้าตัวอย่างที่เก็บมาลงในอาหารแข็งและอาหารเหลว 3 สูตร คือ สูตร Bold’s basal, Modified Chu No. 10 และ BG-11 3. วิธีการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืช ทาการสุ่มพื้นที่เก็บตัวอย่างด้วยวิธีการ Stratified random อย่างน้อย 10 พื้นที่ โดยต้องครอบคลุมทุกสังคม พืช ออกสารวจ และเก็บตัวอย่างพืชทุกเดือน ตามพื้นที่สุ่มเก็บตัวอย่าง บันทึกข้อมูลภาคสนามอย่างละเอียด แยกตัวอย่างพรรณไม้ ออกเป็นสองส่วน ส่วนที่หนึ่งเก็บรักษาในรูปแบบตัวอย่างดอง หรือตัวอย่างแห้ง เก็บ รักษาตัวอย่างไว้ที่ห้องปฏิบัติการเก็บรวบรวมพรรณไม้ท้องถิ่น สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ส่วนที่สอง นามาบรรยาย และตรวจสอบลักษณะสัณฐานวิทยาของพืชที่พบอย่างละเอียดตามหลัก พฤกษอนุกรมวิธาน วิเคราะห์หาชื่อวิทยาศาสตร์ โดยใช้ Dichotomous key จากหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย (Flora of Thailand) และนาตัวอย่างพรรณไม้ไปเปรียบเทียบกับตัวอย่างพรรณไม้แห้งในพิพิธภัณฑ์พืชสากล 4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช 4.1 การเพาะเลี้ยงเมล็ดข่อยดาน 4.2 การเพาะเลี้ยงเมล็ดโคลงเคลงผลแห้ง ผลการดาเนินการวิจัยและอภิปรายผล 1. ผลการศึกษาคุณภาพน้าทางด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ และ ความหลากหลายของสาหร่ายขนาดใหญ่ ในนาตกสร้อยสวรรค์ ภาพที1 จานวนสาหร่ายขนาดใหญ่ที่พบ ภาพที3 ตัวอย่างสาหร่ายที่เพาะเลี้ยงได้ มีดังนี้ คือ 1. Xenotholos kerneri (Hansgirg) Gold-Morgan 2. Nostoc microscopicum Carmichae 3. Oocystis borgei J. Snow 4. Nitzschia sp. 3 2 1 3. ผลการสารวจความหลากหลายของพืช จากการสารวจความหลากหลายของพืชบริเวณอาเภอโขงเจียม พบพืชทั้งสิ้น 57 วงศ์ 157 ชนิด ฤดูกาล Air Temp. ( o C) Water Temp. ( o C) Conduc . (µs/cm) pH Alkali. (mg/l) DO (mg/l) BOD (mg/l ) Chlophy ll a (µg/l) phosph ate (mg/l) Nitrate (mg/l) T.coliform (MPN/100 ml) F.coliform (MPN/100ml) หนาว 31.20 27.80 17.21 5.96 8 6.97 1.27 0.888 0.049 0.025 5 2.667 ร้อน 27.80 26.60 12.12 5.81 6.40 5.41 1.96 1.302 0.108 0.028 31.667 4.667 ฝน 31.20 27.80 5.02 5.52 4 6.04 1.56 0.947 0.034 0.033 8 4.667 ตารางค่าเฉลี่ยคุณภาพน้าทั้ง 3 ฤดูกาล ในน้าตกสร้อยสวรรค์ พ.. 2555 2. สาหร่ายที่เพาะเลี้ยงไดภาพที2 ตัวอย่างสาหร่ายขนาดใหญ่ Scytonema millei Bharadwaja Spirogyra sp.3 4. ผลการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื ่อพืช แนวทางการพัฒนาต่อยอดโครงการวิจัย สาหร่ายที่ได้จากการเพาะเลี้ยงมีประโยชน์ต่อการผลิตไบโอดีเซลและสกัดสารสาคัญเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องสาอาง การเก็บพันธุ์พืชในลักษณะของการปลูกไว้และการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมในสภาพหลอดทดลอง กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสานักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักคณะกรรมการการอุดมศึกษา เก็บตัวอย่างน้า 3 ฤดูกาล คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ก้าหนดจุดเก็บตัวอย่าง 5 จุดๆละ 3 ้า ศึกษาคุณภาพน้าทางกายภาพ (อุณหภูมิน้าและอากาศ สีและกลิ่นของน้า ความลึกที่แสงส่องถึง ค่าการน้าไฟฟ้า) ทางเคมี (ปริมาณ DO BOD ความเป็นด่าง ปริมาณไนเตรท ฟอสเฟต และ pH) และ ทางชีวภาพ (นับจ้านวนและตรวจหาชนิดของสาหร่ายขนาดใหญ่ ตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรีย คลอโรฟิลล์ เอ) (Greenberg et al., 2005) Batrachospermum sp.1 4 ภาพที4 ตัวอย่างพืชที่พบในบริเวณโขงเจียม 4. 3 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้เอื้องเงินและสิงโตสมอหินจากเมล็ด ภาพที5 พืชที่สามารถเพาะเลี้ยงไดเนียมดอกธูป โคลงเคลงผลแห้ง ไข่เน่า กาลังช้างสาร ข่อยดาน ตะเคียนใบใหญ่ บักหม้อ มณี เทวา รวงไซ สามสนมใบบัว หัวอีอุ๊ก เอื้องเงิน กล้วยไม้สิงโตสมอหิน กล้วยไม้เอื้องเงิน ข่อยดาน ล้างฝักกล้วยไม้ให้ สะอาด ชุบฝักด้วยเอทิลแอลกอฮอล์ 95 % ลนไฟให้ลุกนอกเปลว ตะเกียง วางบนจานแก้ว ตัดหัวตัดท้ายของฝัก และผ่ากลางด้วยมีด

ความหลากหลายทางชีวภาพ …herp-nru.psru.ac.th/file/B55103_12.pdf · ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความหลากหลายทางชีวภาพ …herp-nru.psru.ac.th/file/B55103_12.pdf · ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และสาหร่าย ในเขตอ าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

Biodiversity and Cultivation of Plant and Algae from Khong Chiam District in Ubon Ratchathani Province

ศิวพร หอมหวล, ปริญญา มูลสิน, จักรพงค ์แทง่ทอง สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

S. Homhuan, P. Moonsin, J. Taengtong

Program of Biology, Faculty of Science, Ubon Ratchathai Rajabhat University

วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของสาหร่ายในน้ าตกสร้อยสวรรค์ อ าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อเพาะเลี้ยงสาหร่ายจากน้ าตกสร้อยสวรรค์ อ าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในบริเวณ อ าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อขยายพันธุ์พืชหายากและพืชสมุนไพรที่เพาะเลี้ยงยากทีมี่ศักยภาพ พัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับชุมชน

ขอบเขต

ศึกษาความหลากหลายทางของพืช สาหร่าย บริเวณอ าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชหายากใกล้สูญพันธุ์หรือพืชสมุนไพร และเพาะเลี้ยงสาหร่าย เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรม

วิธีการด าเนินงานวิจัย

เก็บตัวอย่างน้ าตามจุดที่ก าหนด 5 จุด

1. การศึกษาคุณภาพน้ าและสาหร่ายขนาดใหญ่

การวิเคราะห์ข้อมูล หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางกายภาพ เคมีและชีวภาพบางประการที่มีผลต่อการกระจายตัว และความหลากหลายทางชีวภาพของ

2. การเพาะเลี้ยงสาหร่าย

เพาะเลี้ยงสาหร่ายจากน้ าตัวอย่างที่เก็บมาลงในอาหารแขง็และอาหารเหลว 3 สูตร คือ สูตร Bold’s basal, Modified Chu No. 10 และ BG-11

3. วิธีการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืช

ท าการสุ่มพื้นที่เก็บตัวอย่างด้วยวิธีการ Stratified random อย่างน้อย 10 พื้นที่ โดยต้องครอบคลุมทุกสังคมพืช

ออกส ารวจ และเก็บตัวอย่างพืชทุกเดือน ตามพื้นที่สุ่มเก็บตัวอย่าง บันทึกข้อมูลภาคสนามอย่างละเอียด แยกตัวอย่างพรรณไม้ ออกเป็นสองส่วน ส่วนที่หนึ่งเก็บรักษาในรูปแบบตัวอย่างดอง หรือตัวอย่างแห้ง เก็บ

รักษาตัวอย่างไว้ที่ห้องปฏิบัติการเก็บรวบรวมพรรณไม้ท้องถิ่น สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

ส่วนที่สอง น ามาบรรยาย และตรวจสอบลักษณะสัณฐานวิทยาของพืชที่พบอย่างละเอียดตาม หลัก พฤกษอนุกรมวิธาน

วิเคราะห์หาชื่อวิทยาศาสตร์ โดยใช้ Dichotomous key จากหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย (Flora of Thailand) และน าตัวอย่างพรรณไม้ไปเปรียบเทียบกับตัวอย่างพรรณไม้แห้งในพิพิธภัณฑ์พืชสากล

4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

4.1 การเพาะเลี้ยงเมล็ดข่อยดาน

4.2 การเพาะเลี้ยงเมล็ดโคลงเคลงผลแห้ง

ผลการด าเนินการวิจัยและอภิปรายผล

1. ผลการศึกษาคุณภาพน้ าทางด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ และ ความหลากหลายของสาหรา่ยขนาดใหญ่ ในน้ าตกสร้อยสวรรค์

ภาพที่ 1 จ านวนสาหร่ายขนาดใหญ่ที่พบ

ภาพที่ 3 ตัวอย่างสาหร่ายที่เพาะเลี้ยงได้ มีดังนี้ คือ 1. Xenotholos kerneri (Hansgirg) Gold-Morgan 2. Nostoc microscopicum Carmichae 3. Oocystis borgei J. Snow 4. Nitzschia sp.

3 2 1

3. ผลการส ารวจความหลากหลายของพืช

จากการส ารวจความหลากหลายของพชืบริเวณอ าเภอโขงเจียม พบพืชทั้งสิ้น 57 วงศ์ 157 ชนิด

ฤดูกาล

Air

Temp.

(oC)

Water

Temp.

(oC)

Conduc

.

(µs/cm)

pH Alkali.

(mg/l)

DO

(mg/l)

BOD

(mg/l

)

Chlophy

ll a

(µg/l)

phosph

ate

(mg/l)

Nitrate

(mg/l)

T.coliform

(MPN/100

ml)

F.coliform

(MPN/100ml)

หนาว 31.20 27.80 17.21 5.96 8 6.97 1.27 0.888 0.049 0.025 5 2.667

ร้อน 27.80 26.60 12.12 5.81 6.40 5.41 1.96 1.302 0.108 0.028 31.667 4.667

ฝน 31.20 27.80 5.02 5.52 4 6.04 1.56 0.947 0.034 0.033 8 4.667

ตารางคา่เฉลีย่คุณภาพน้ าทั้ง 3 ฤดูกาล ในน้ าตกสร้อยสวรรค์ พ.ศ. 2555

2. สาหร่ายที่เพาะเลี้ยงได ้ภาพที่ 2 ตัวอย่างสาหร่ายขนาดใหญ่

Scytonema millei Bharadwaja

Spirogyra sp.3

4. ผลการเพาะเลีย้งเนือ้เยื่อพืช

แนวทางการพัฒนาต่อยอดโครงการวิจัย

สาหร่ายที่ได้จากการเพาะเลี้ยงมีประโยชน์ต่อการผลิตไบโอดีเซลและสกัดสารส าคญัเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องส าอาง

การเก็บพันธุ์พืชในลักษณะของการปลูกไว้และการเกบ็รักษาเชื้อพันธุกรรมในสภาพหลอดทดลอง

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณส านักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวทิยาลัยวิจัยแห่งชาติ ส านักคณะกรรมการการอุดมศึกษา

เก็บตัวอย่างน ้า 3 ฤดูกาล คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ก้าหนดจุดเก็บตัวอย่าง 5 จุดๆละ 3 ซ ้า ศึกษาคุณภาพน ้าทางกายภาพ (อุณหภูมิน ้าและอากาศ สีและกลิ่นของน ้า ความลึกที่แสงส่องถึง ค่าการน้าไฟฟ้า) ทางเคมี (ปริมาณ DO BOD ความเป็นด่าง ปริมาณไนเตรท ฟอสเฟต และ pH) และทางชีวภาพ (นับจ้านวนและตรวจหาชนิดของสาหร่ายขนาดใหญ่ ตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรีย คลอโรฟิลล์ เอ) (Greenberg et al., 2005)

Batrachospermum sp.1

4

ภาพที่ 4 ตัวอย่างพืชที่พบในบริเวณโขงเจียม

4. 3 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้เอื้องเงินและสิงโตสมอหินจากเมล็ด

ภาพที่ 5 พืชที่สามารถเพาะเลี้ยงได้

เนียมดอกธูป โคลงเคลงผลแหง้ ไข่เน่า ก าลังช้างสาร ข่อยดาน ตะเคียนใบใหญ่

บักหม้อ มณีเทวา รวงไซ สามสนมใบบัว หัวอีอุ๊ก เอื้องเงิน

กล้วยไม้สิงโตสมอหิน กล้วยไม้เอื้องเงิน ข่อยดาน

ล้างฝักกล้วยไม้ให้สะอาด ชุบฝักด้วยเอทิลแอลกอฮอล์ 95 %

ลนไฟให้ลุกนอกเปลว ตะเกียง วางบนจานแก้ว ตัดหัวตัดท้ายของฝัก

และผ่ากลางด้วยมีด