36
1-1 มสธ มสธ มสธ มสธ มสธ มสธ มสธ มสธ มสธ มสธ หน่วยที1 แนวคิดพื้นฐานของกฎหมายสิ่งแวดล้อม อาจารย์พนัส ทัศนียานนท์

หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

  • Upload
    vuxuyen

  • View
    228

  • Download
    4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-1

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

หน่วย ที่ 1แนวคิด พื้น ฐาน ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

อาจารย์ พนัส ทัศ นี ยา นนท์

Page 2: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-2

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

แผนผัง แนวคิด หน่วย ที่ 1

1.1.1 ความหมายและขอบเขตของกฎหมาย

สิ่งแวดล้อม

1.1.2 ลักษณะสภาพบังคับและปัญหาของ

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

1.2.1 ขบวนการทางความคิดเกี่ยวกับ

สิ่งแวดล้อม

1.2.2 หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน

1.2.3 หลักทรัพยสิทธิ

1.2.4 หลักการป้องกันล่วงหน้าและ

หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย

1.2.5 หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง

1.2.6หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนและ

หลักการกระจายอำนาจ

1.1ความหมายขอบเขต

และลักษณะของ

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

1.2ขบวนการทาง

ความคิดเกี่ยวกับ

สิ่งแวดล้อมและ

หลักการของกฎหมาย

สิ่งแวดล้อม

แนวคิดพื้นฐาน

ของกฎหมาย

สิ่งแวดล้อม

Page 3: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-3

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

หน่วย ที่ 1

แนวคิด พื้น ฐาน ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

เค้าโครง เนื้อหาตอนที่1.1 ความหมายขอบเขตและลักษณะของกฎหมายสิ่งแวดล้อม

1.1.1 ความหมายและขอบเขตของกฎหมายสิ่งแวดล้อม

1.1.2ลักษณะสภาพบังคับและปัญหาของกฎหมายสิ่งแวดล้อม

ตอนที่1.2 ขบวนการทางความคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และหลักการของกฎหมายสิ่ง

แวดล้อม

1.2.1 ขบวนการทางความคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

1.2.2 หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน

1.2.3 หลักทรัพยสิทธิ

1.2.4หลักการป้องกันล่วงหน้าและหลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย

1.2.5หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง

1.2.6หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนและหลักการกระจายอำนาจ

แนวคิด1. กฎหมายเป็นกฎข้อบังคับที่ตราขึ้นโดยสถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดหรือเกิดขึ้นโดยจารีต

ประเพณีผู้ใดฝ่าฝืนผู้นั้นจะต้องได้รับผลร้ายหรือถูกลงโทษ

2. ความหมายของกฎหมายสิ่งแวดล้อมมีความหมายตามที่สหประชาชาติกำหนดและตาม

กฎหมายสิ่งแวดล้อมของไทยซึ่งให้ความหมายสิ่งแวดล้อมไว้

3. กฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นกฎหมายที่กำหนดเกี่ยวกับนโยบายระบบการจัดการมาตรการ

ตลอดจนอำนาจหน้าที่ของรัฐที่เข้ามาดำเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

ผลกระทบที่ เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จาก

ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืนทั้งในระดับ

ประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก จึงเป็นทั้งกฎหมายภายในประเทศและกฎหมาย

ระหว่างประเทศ กฎหมายสิ่งแวดล้อมมีสภาพบังคับทั้งทางปกครอง ทางแพ่งและทาง

อาญา

Page 4: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-4

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

4. ขบวนการทางความคิดด้านสิ่งแวดล้อมเป็นขบวนการทางสังคมและการเมืองมุ่งส่งเสริม

และสงวนรักษาสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติที่มีอยู่ โดยมีแนวคิด ทฤษฎีและหลักการ

ฟืน้ฐานดา้นสิง่แวดลอ้มที่มีอทิธพิลตอ่ประเทศไทยดงัจะเหน็ได้จากการที่มีการรบัรองสทิธิ

ไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ

สิง่แวดลอ้มหลกัการดงักลา่วคอืหลกัการพฒันาที่ยัง่ยนื(SusstainableDevelopment)

หลกัทรพัยสทิธ ิ(PropertyRight)หลกัการปอ้งกนัลว่งหนา้ (PrecautionaryPrinciple)

หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (PolluterPayPrinciple)หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง

(StrictCivilLiability)หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (PublicPacipatation)และ

หลักการกระจายอำนาจ(Decentralization)

5. กฎหมายสิ่งแวดล้อมได้รับรองสิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่วมการกำหนดนโยบาย

และมาตรการต่างๆ ของรัฐและหน่วยงานของรัฐในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและ

แก้ไขปัญหามลพิษกำหนดความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่งเพื่อให้มีการชดเชยความเสียหาย

เป็นกฎหมายระหว่างประเทศที่ว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนอันปรากฏอยู่ในปฏิญญาสากล

ระหว่างประเทศรวมทั้งคุ้มครองระบบนิเวศในโลก

วัตถุประสงค์เมื่อศึกษาหน่วยที่1จบแล้วนักศึกษาสามารถ

1.อธิบายและวิเคราะห์ความหมายขอบเขตและลักษณะของกฎหมายสิ่งแวดล้อมได้

2. อธบิายและวเิคราะห์ขบวนการทางความคดิและหลกัการพืน้ฐานของกฎหมายสิง่แวดลอ้ม

ได้

กิจกรรม1.กิจกรรมการเรียน

1)ศึกษาแผนผังแนวคิดหน่วยที่1

2)อ่านแผนการสอนประจำหน่วยที่1

3)ทำแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่1

4)ศึกษาเนื้อหาสาระ

5)ปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง

Page 5: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-5

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

6)ตรวจสอบคำตอบของกิจกรรมแต่ละกิจกรรมจากแนวตอบ

7)ทำแบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหน่วยที่1

2.งานที่กำหนดให้ทำ

1)ทำแบบฝึกหัดทุกข้อที่กำหนดให้ทำ

2)อ่านเอกสารการสอนเพิ่มเติมจากบรรณานุกรม

แหล่ง วิทยาการ1.สื่อการศึกษา

1)แนวการศึกษาหน่วยที่1

2)หนังสือประกอบการสอน

2.1)อาจารย์พนัส ทัศนียานนท์ (2552) เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่ง

แวดล้อม หน่วยที่1สาขาวิชานิติศาสตร์สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธร

รมาธิราช

2.2) รองศาสตราจารย์ดร.อำนาจ วงศ์บัณฑิต (2550)กฎหมายสิ่งแวดล้อมพิมพ์

ครั้งที่2กรุงเทพมหานครวิญญูชน

2.3)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2550

2.4)พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมพ.ศ.2535

2.5)RioDeclarationonEnvironmentandDevelopment

2.หนังสือตามที่อ้างในบรรณานุกรม

การ ประเมิน ผล การ เรียน1.ประเมินผลจากการสัมมนาเสริมและงานที่กำหนดให้ทำในแผนกิจกรรม

2.ประเมินผลจากการสอบไล่ประจำภาคการศึกษา

Page 6: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-6

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

แบบ ประเมิน ผล ตนเอง ก่อน เรียน

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “แนวคิดพื้นฐานของ

กฎหมายสิ่งแวดล้อม”

คำ แนะนำ อ่านคำถามต่อไปนี้ แล้วเขียนคำตอบลงในช่องว่างที่ทำกำหนดให ้นักศึกษามีเวลาทำแบบ

ประเมินผลชุดนี้30นาที

1. จงวิเคราะห์ขอบเขตของกฎหมายสิ่งแวดล้อมและลักษณะของกฎหมายสิ่งแวดล้อมของไทยในปัจจุบัน

2. จงวเิคราะห์สภาพบงัคบัของกฎหมายสิง่แวดลอ้มทัง้ทางปกครองทางแพง่และทางอาญาตลอดจนบอกถงึ

ความสัมพันธ์ของกฎหมายดังกล่าว

Page 7: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-7

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

3. อธิบายหลักการต่างๆดังต่อไปนี้

3.1หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน(SustainableDevelopment)

3.2หลักทรัพยสิทธิ(PropertyRight)

3.3หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย(PolluterPayPrinciple)

3.4หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง(StrictCivilLiability)

Page 8: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-8

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

ตอน ที่ 1.1

ความ หมาย ขอบเขต และ ลักษณะ ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

โปรดอ่านแผนการสอนประจำตอนที่1.1แล้วจึงศึกษาสาระสังเขปพร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง

หัว เรื่องเรื่องที่1.1.1 ความหมายและขอบเขตของกฎหมายสิ่งแวดล้อม

เรื่องที่1.1.2 ลักษณะสภาพบังคับและปัญหาของกฎหมายสิ่งแวดล้อม

แนวคิด1. สิง่แวดลอ้มหมายความวา่สิง่ตา่งๆที่มีลกัษณะทางกายภาพและชวีภาพที่อยู่รอบตวัมนษุย์

ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

2. กฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจของรัฐในการกำหนดนโยบายระบบ

การจัดการและมาตรการต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิ่งแวดล้อม เพื่อการ

อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน

3. กฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นกฎหมายที่รับรองสิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่วมในการ

กำหนดนโยบายมาตรการต่างๆของรัฐและหน่วยงานของรัฐเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา

มลพิษกำหนดความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง ให้มีการชดเชยความเสียหาย โดยคำนึงถึง

หลักกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งปรากฏอยู่ในปฏิญญาและอนุสัญญาระหว่าง

ประเทศ กล่าวได้ว่ากฎหมายสิ่งแวดล้อมมีลักษณะเป็นทั้งกฎหมายปกครอง กฎหมาย

แพ่งกฎหมายอาญาและกฎหมายระหว่างประเทศ

4. สภาพบังคับของกฎหมายสิ่งแวดล้อมมีสภาพบังคับทางปกครอง ทางอาญา แต่ในทาง

ปฏิบัติไม่สามารถบังคับได้กับรัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐ

วัตถุประสงค์เมื่อศึกษาตอนที่1.1จบแล้วนักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความหมายขอบเขตและลักษณะของกฎหมายสิ่งแวดล้อมได้

2. วิเคราะห์สภาพบังคับและปัญหาของกฎหมายสิ่งแวดล้อมได้

Page 9: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-9

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่อง ที่ 1.1.1 ความ หมาย และ ขอบเขต ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

สาระ สังเขปสิ่งแวดล้อมหมายความว่าสิ่งต่างๆที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซึ่งเกิด

ขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นกฎหมายสิ่งแวดล้อมมีขอบเขตพื้นฐานรองรับการกำหนดนโยบาย

อำนาจหน้าที่ของรัฐเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมตามการพัฒนาที่ยั่งยืนรับรองสิทธิการมีส่วนร่วมของ

ประชาชน กำหนดนโยบายและมาตรการต่างๆ ของรัฐและหน่วยงานของรัฐ กำหนดระบบจัดการ การใช้

ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพให้เกิดความสมดุล เป็นธรรมและยั่งยืน

กำหนดระบบการบริหารจัดการเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษและเป็นหลักกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วย

การพัฒนาที่ยั่งยืนกฎหมายสิ่งแวดล้อมมีลักษณะเป็นกฎหมายปกครองกฎหมายแพ่งกฎหมายอาญาและ

เป็นกฎหมายระหว่างประเทศ

1. ความ หมาย ของ สิ่ง แวดล้อมความหมายของสิ่งแวดล้อมได้มีคำนิยามไว้หลากหลายดังนี้

สหภาพยุโรป(EU)ได้ให้คำนิยามว่า“สิ่งแวดล้อม”หมายถึงองค์รวมของภาวะปัจจัยทั้งหมดที่มี

สหสมัพนัธ์ระหวา่งกนัอยา่งสลบัซบัซอ้นกอ่ให้เกดิสภาวะแวดลอ้มและสภาวะชวีติของปจัเจกบคุคลและสงัคม

ตามสภาพที่เป็นอยู่หรือตามที่ได้รู้สึกว่าเป็นเช่นนั้น(Thecombinationofelementswhosecomplex

interrelationshipsmakeupthesetting, thesurroundingsandtheconditionsof lifeofthe

individualandofsociety;astheyareorastheyarefelt1และTheenvironmentthusincludes

thebuiltenvironment,thenaturalenvironmentandallnaturalresource,includingairland

andwater.italsoincludesthesurroundingsoftheworkplace)

สิ่งแวดล้อมรวมถึงสิ่งมนุษย์สร้างขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมด

รวมทั้งอากาศที่ดินแหล่งน้ำนอกจากนี้สิ่งแวดล้อมยังรวมถึงสภาวะแวดล้อมของสถานที่ทำงานด้วย (the

environmentthus includesthebuiltenvironment, thenaturalenvironmentandallnatural

resources,includingair,landandwater.Italsoincludesthesurroundingsoftheworkplace)2

สำหรับความหมายในทางชีววิทยานิเวศวิทยาและวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมได้ให้ความหมายว่าสิ่ง

แวดล้อมหมายถึงองค์รวมปัจจัยของภาวะปัจจัยทางกายภาพเคมีและชีวภาพที่อยู่โดยรอบและมีปฏิสัมพันธ์

กับสิ่งมีชีวิตหรือระบบนิเวศ”(Inbiology,ecology,andenvironmentalscience,anenvironmentis

1TerminologyReferenceSystemUS.EnvironmentalProtectionAgency (http;//iaspub.epa.gov/trs_proc_qry.

navigate_team_id=10011&p_team_cd=TERMDIS)2เรื่องเดียวกัน

Page 10: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-10

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

thecomplexofphysical,chemical,andbioticfactorsthatsurroundandactuponanorgan-

ismorecosystem)3

ความหมายของ “สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ” หมายความถึงสภาวะของสิ่งแวดล้อมที่เกือบจะไม่ได้รับ

ผลกระทบใดๆจากกิจกรรมของมนุษย์ (Thenaturalenvironment issuchan environmentthatis

relativelyunaffectedbyhumanactivity)4

ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ได้ให้ความหมายของ

สิ่งแวดล้อมไว้ว่า “สิ่งแวดล้อม”หมายความว่า“สิ่งต่างๆที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัว

มนุษย์ซึ่งเกิดโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทำขึ้น”

2. ขอบเขต ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อมกฎหมายสิง่แวดลอ้มเปน็กฎหมายเพือ่การอนรุกัษ์ทรพัยากรธรรมชาติและเพือ่ให้บรรลุวตัถปุระสงค์

ของหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก กฎหมาย

สิ่งแวดล้อมจึงเป็นทั้งกฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศโดยมีกฎหมายที่กำหนดนโยบาย

และมาตรการในทางปอ้งกนัเชน่ หลกัการในเรือ่งEnvironmentImpactAssesment:EIAEnvironmental

Planning EnvironmentQuality/AmbientStandardเป็นต้น

สำหรับประเทศแรกที่ได้ริเริ่มให้มีกฎหมายว่าด้วยนโยบายสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ คือ ประเทศ

สหรัฐอเมริกาโดยได้มีการตรากฎหมายTheNationEnvironmentPolicyAct (NEPA)ค.ศ.1969ออก

มาใช้บังคับโดยกำหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องจัดทำEnvironmentImpactStatement:EISในโครงการ

ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จัดได้ว่าNEPA เป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครองปกป้องคุ้มครองสิ่งแวดล้อมซึ่ง

จัดว่าเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ(PublicInterest) หลังจากนั้นรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกาได้ตรากฎหมาย

สำคัญเกี่ยวกับการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษอีกหลายฉบับเช่นCleanWaterAct CleanAir

Act SolidWasteDisposalActรวมทั้งมีหน่วยงานกลางเข้ามาบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

การจดัการสิง่แวดลอ้มระหวา่งประเทศกฎหมายสิง่แวดลอ้มได้มีววิฒันาการมาเปน็ขอ้ตกลงพหภุาคี

(MultilateralAgreement)ในรูปแบบของอนุสัญญาระหว่างประเทศ

หลักของกฎหมายสิ่งแวดล้อมของไทยมีพื้นฐานจากหลักทรัพยสิทธิตามกฎหมายแพ่ง คือ หลัก

สาธารณสมบัติของแผ่นดินตามมาตรา1304 หลักเหตุเดือนร้อนรำคาญตามมาตรา1337หรือเหตุรำคาญ

ตามพระราชบัญญัติสาธารณสุขพ.ศ.2535สำหรับการกำหนดนโยบายสาธารณะเพื่อคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

ได้เริ่มต้นเป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2517และนำไปสู่การตราพระราช-

บัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.2518ซึ่งกำหนดให้มีการก่อตั้งคณะกรรมการ

สิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของรัฐบาลเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและการบริหารงานด้าน

สิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะทำนองเดียวกับNEPAของสหรัฐอเมริกา โดยมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการกำหนดให้

3http//en.wikipediaorg/wikepedia/environment4เรื่องเดียวกัน

Page 11: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-11

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มีมาตรการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และต่อมาได้มีพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ง

แวดลอ้มแหง่ชาติพ.ศ.2535และเมือ่มีการตรารฐัธรรมนญูแหง่ราชอาณาจกัรไทยพทุธศกัราช2540และ2550

ก็ได้มีบทบัญญัติรับรองสิทธิของประชาชนในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติตามหลักการ

พัฒนาที่ยั่งยืนการรับรองสิทธิของชุมชนและกำหนดแนวนโยบายของรัฐด้านที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ

จึงกล่าวได้ว่าขอบเขตของกฎหมายสิ่งแวดล้อมมีทั้งการกำหนดนโยบายอำนาจหน้าที่ของรัฐรับรอง

การมีส่วนร่วมของประชาชนกำหนดระบบการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติระบบการบริหารจัดการ

มลพิษและหลักกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยืน

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-7ถึงหน้า1-16)

กิจกรรม 1.1.1

จงบอกความหมายของสิง่แวดลอ้มตามที่สหภาพยโุรปได้กำหนดไว้และขอบเขตของกฎหมาย

สิ่งแวดล้อม

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.1.1

(โปรด ตรวจ แนว คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.1 กิจกรรม 1.1.1)

Page 12: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-12

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

เรื่อง ที่ 1.1.2 ลักษณะ สภาพ บังคับ และ ปัญหา ของ กฎหมาย

สิ่ง แวดล้อม

สาระ สังเขป กฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นทั้งกฎหมายภายในและกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายภายในจะมี

ลักษณะเป็นกฎหมายมหาชนเพราะเป็นกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชนและความสัมพันธ์

ในระหว่างองค์กรหรือหน่วยงานของรัฐด้วยกันเองและยังมีลักษณะเป็นกฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญา

ด้วย และนอกจากนี้ยังมีลักษณะเป็นกฎหมายระหว่างประเทศเพราะมีข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับ

สิ่งแวดล้อมเป็นจำนวนมาก

สภาพบังคับของกฎหมายเป็นข้อบังคับของรัฐที่กำหนดความประพฤติของมนุษย์ผู้ใดฝ่าฝืนจะต้อง

ได้รับผลร้ายหรือถูกลงโทษสำหรับปัญหาการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมในอดีตในส่วนที่เกี่ยวกับการ

บังคับให้รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติตามกฎหมายมีหลายประการ แต่ภายหลังเมื่อมีประกาศใช้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2540ได้คุ้มครองการใช้สิทธิของบุคคลทั่วไปในการฟ้องให้

หน่วยงานหรือองค์กรของรัฐปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม

1. ลักษณะ ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม1.1 กฎหมายสิ่งแวดล้อมมีลักษณะเป็นกฎหมายปกครองคือมีบทบัญญัติที่ให้รัฐหรือเอกชนต้อง

ดำเนินการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมรวมทั้งการอนุญาตหรือไม่อนุญาตอันมีลักษณะเป็น

คำสั่งทางปกครองต้องอยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาทางปกครอง

1.2 กฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นกฎหมายแพ่ง คือ มีหลักการพื้นฐานของกฎหมายแพ่งในเรื่อง

ทรัพยสิทธิหลักความรับผิดเด็กขาดทางแพ่งและได้มีบทบัญญัติความรับผิดทางแพ่งเมื่อมีการกระทำที่ก่อ

ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมดังที่ได้บัญญัติไว้ในมาตรา96

1.3 กฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นกฎหมายอาญาเพราะมีบทบัญญัติเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาเช่น

พระราชบัญญัติป่าไม้พุทธศักราช2484ลงโทษผู้ตัดไม้ทำลายป่าทั้งโทษจำคุกและโทษปรับและตามพระราช

บัญญัติสิ่งแวดล้อมฯก็มีบทบัญญัติลงโทษทางอาญาในหลายกรณี

1.4 กฎหมายสิ่งแวดล้อมมีลักษณะเป็นกฎหมายระหว่างประเทศ ปรากฏจากอนุสัญญาข้อตกลง

พันธกรณีต่างๆที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

Page 13: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-13

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

2. สภาพ บังคับ และ ปัญหา การ บังคับ ใช้2.1สภาพบังคับของกฎหมายพิจารณาได้จาก

1) สภาพบังคับทางอาญาคือโทษหรือผลร้ายที่ผู้กระทำผิดกฎหมายจะพึงได้รับ

2)สภาพบังคับทางแพ่งคือการชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนหรือให้ทำการชำระ

หนี้ตามสัญญา

3)สภาพบังคับทางปกครองอาจแบ่งออกเป็นการใช้อำนาจรัฐบังคับให้บุคคลซึ่งมิใช่หน่วย

งานของรัฐหรือบุคคลของรัฐต้องปฏิบัติตามกฎหมายคือคำสั่งห้ามหรือให้หยุดกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง

ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งรวมถึงคำสั่งไม่อนุญาต ให้พักใช้ใบอนุญาต ให้เพิกถอนใบ

อนุญาตประกอบกิจการต่างๆนอกจากนั้นยังมีโทษทางปกครองที่ไม่ใช่โทษปรับทางอาญา ซึ่งเจ้าพนักงาน

ของรฐัมีอำนาจสัง่ปรบัผู้กระทำผดิกฎหมายได้ทนัทีเชน่อำนาจตามพระราชบญัญตัิสง่เสรมิและรกัษาคณุภาพ

สิ่งแวดล้อมพ.ศ.2535มาตรา90และมาตรา92

2.2ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม

1) สาระสำคัญส่วนหนึ่งที่บัญญัติไว้ในกฎหมายสิ่งแวดล้อมคือบุคคลทุกคนต้องถูกบังคับ

ใช้กฎหมายโดยเท่าเทียมกันรวมทั้งหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐดังนั้นหากหน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ต้อง

จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแต่หลีกเลี่ยงไม่จัดทำก็ไม่อาจบังคับได้เนื่องจากมีปัจจัยที่

ส่งผลให้กฎหมายสิ่งแวดล้อมไม่มีสภาพบังคับให้รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐตามกฎหมาย

2) มีประเพณีการปกครองในระบบการบรหิารราชการแผน่ดนิที่หา้มมิให้หนว่ยงานของรฐัฟอ้ง

กันเองหน่วยงานที่มีอำนาจใช้บังคับกฎหมายจึงไม่สามารถฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐต่อศาลเพื่อบังคับให้เป็น

ไปตามกฎหมายได้และมีคำวินิจฉัยของศาลฎีกาบัญญัติเป็นบรรทัดฐานว่ารัฐบาลไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลจึง

ไม่อาจถูกฟ้องเป็นจำเลยต่อศาลได้

3) มีหลักกฎหมายเกี่ยวกับอำนาจฟ้องคดีที่เกิดจากการวินิจฉัยของศาลฎีกาวางบรรทัดฐาน

ไว้ว่า“บุคคลที่ไม่ได้รับความเสียหายเป็นพิเศษจะนำคดีไปฟ้องต่อศาลว่าได้มีการละเมิดหรือฝ่าฝืนกฎหมาย

เกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมีลักษณะเป็น “สาธารณประโยชน์” หรือ

“สาธารณสมบัติของแผ่นดิน”ไม่ได้ (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 861/2540) เหตุนี้จึงทำให้ประชาชนโดยทั่วไป

ไม่มีอำนาจฟ้องรัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐเพื่อขอให้ศาลบังคับให้ใช้อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม

ที่มีอยู่เพื่อการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติได้5

ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2540มาตรา56วรรคสามได้ให้สิทธิ

แก่บคุคลที่จะฟอ้งหนว่ยราชการของรฐัโดยบญัญตัิวา่ “สทิธิของบคุคลที่จะฟอ้งหนว่ยราชการหนว่ยงานของ

รัฐรัฐวิสาหกิจราชการส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรอื่นของรัฐเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย

ตามวรรคหนึ่งและวรรคสองย่อมได้รับการคุ้มครอง”ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช

2550ก็ได้มีบัญญัติไว้ในมาตรา67วรรคสามรับรองสิทธิดังกล่าว

5พนัสทัศนียานนท์“แนวคิดพื้นฐานของกฎหมายสิ่งแวดล้อม”ใน เอกสาร การ สอน ชุด วิชา กฎหมาย สิ่ง แวดล้อมหน่วยที่1

สาขาวิชานิติศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชหน้า1-19ถึงหน้า1-20

Page 14: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-14

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

นอกจากนี้ในปีพ.ศ.2542 มีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นมาให้มีอำนาจพิจารณาคดีที่อาจจะมี

ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการกระทำหรือละเว้นการกระทำของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่

ของรฐัตามพระราชบญัญตัิจดัตัง้ศาลปกครองและวธิีพจิารณาคดีปกครองพ.ศ.2542มาตรา42ที่บญัญตัิวา่

“ผู้ใดได้รับความเดือนร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้อันเนื่อง

มาจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือมีข้อโต้แย้ง

เกี่ยวกับสัญญาทางปกครองหรือกรณีอื่นใดที่อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครองตามมาตรา9และการแก้ไขหรือ

บรรเทาความเดอืดรอ้นหรอืความเสยีหายหรอืยตุิขอ้โต้แยง้นัน้ตอ้งมีคำบงัคบัตามที่กำหนดในมาตรา72ผู้นัน้

มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง”

เมือ่ประกาศใช้แลว้ได้มีคดีเกีย่วกบัสิง่แวดลอ้มจำนวนมากได้ขึน้ศาลปกครองและคดีปกครอง

ที่มีความสำคัญและทำให้รัฐตระหนักมากขึ้นคือคดีมลพิษที่มาบตาพุดจังหวัดระยองแต่อย่างไรก็ดีอำนาจ

การฟ้องคดีของประชาชนคนไทยในขณะนี้ยังไม่กว้างขวางเท่ากับอำนาจฟ้องคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของ

ประชาชน (CitizenSuitและClassAction)ที่มีอยู่ในประเทศอื่น6

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-16ถึง1-21)

กิจกรรม 1.1.2

จงอธิบายถึงลักษณะของกฎหมายสิ่งแวดล้อม

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.1.2

(โปรด ตรวจ แนว คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.1 กิจกรรม 1.1.2)

6เรื่องเดียวกัน

Page 15: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-15

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

ตอน ที่ 1.2

ขบวนการ ทาง ความ คิด เกี่ยว กับ สิ่ง แวดล้อม

และ หลัก การ ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

โปรดอ่านแผนการสอนประจำตอนที่1.2แล้วจึงศึกษาสาระสังเขปพร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง

หัว เรื่องเรื่องที่1.2.1 ขบวนการทางความคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

เรื่องที่1.2.2 หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน

เรื่องที่1.2.3หลักทรัพยสิทธิ

เรื่องที่1.2.4หลักการป้องกันล่วงหน้าและหนักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย

เรื่องที่1.2.5หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง

เรื่องที่1.2.6หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนและหลักการกระจายอำนาจ

แนวคิด1. ขบวนการทางความคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมหรืออุดมการณ์สิ่งแวดล้อม เป็นขบวนการ

ทางสังคมที่มุ่งส่งเสริมสงวนและรักษาสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติที่มีอยู่เพื่อความอยู่รอด

ของมนุษย์และสรรพสิ่งมีชีวิตในโลกนี้

2. หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นหลักการพื้นฐานและเป้าหมายหลักอยู่ที่การคุ้มครอง

สิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ยั่งยืนคือการพัฒนาที่ตอบสนองความจำเป็นของคนในทั้งใน

ยุคปัจจุบันและในอนาคตมิให้ลดน้อยลงไปจากในปัจจุบัน

3. หลักทรัพยสิทธิเป็นหลักการพื้นฐานในการคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

โดยในประเทศไทยได้อาศัยหลักตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยทรัพย์

4. หลักการป้องกันล่วงหน้าเข้ามาดูแลสิ่งแวดล้อมโดยการวางมาตรการป้องกันที่เห็นว่า

เหมาะสมและจำเป็นตามสถานการณ์ไว้ก่อนโดยไม่จำเป็นต้องรอให้มีผลการพิสูจน์ทาง

วิทยาศาสตร์

5. หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายเป็นหลักเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมโดยกำหนดให้ผู้ที่ก่อให้เกิด

มลพิษมีหน้าที่แบกรับภาระค่าใช้จ่ายในการจัดการมลพิษที่เกิดขึ้นทั้งหมด

Page 16: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-16

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

6. หลกัความรบัผดิเดด็ขาดทางแพง่เปน็หลกักฎหมายที่กำหนดให้ผู้กอ่ให้เกดิความเสยีหาย

แก่ผู้อื่นมีหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นโดยไม่คำนึงว่าผู้นั้นได้กระทำไปโดย

จงใจหรือประมาทเลินเล่อหรือไม่

7. หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน คือการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ

สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

8. หลักการกระจายอำนาจคือการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีหน้าที่ดูแลรักษา

ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง

วัตถุประสงค์เมื่อศึกษาตอนที่1.2จบแล้วนักศึกษาสามารถ

1. อธิบายขบวนการทางความคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้

2. อธิบายและวิเคราะห์หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักทรัพยสิทธิ และหลักการป้องกัน

ล่วงหน้าได้

3. อธิบายและวิเคราะห์หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายและหลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่งได้

4. อธิบายและวิเคราะห์หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนและหลักการกระจายอำนาจได้

Page 17: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-17

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่อง ที่ 1.2.1 ขบวนการ ทาง ความ คิด เกี่ยว กับ สิ่ง แวดล้อม

สาระ สังเขปขบวนการสิ่งแวดล้อม (EnvironmentMovement)หรืออุดมการณ์สิ่งแวดล้อม(Environmen-

talism)เป็นขบวนการทางสังคมและการเมืองกระแสหลักของโลกในยุคปัจจุบันที่มุ่งส่งเสริมสงวนและรักษา

สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติที่มีอยู่ในโลกมนุษย์เพื่อความอยู่รอดและความมีชีวิตที่ดีของมนุษย์

จุดกำเนิดของขบวนการสิ่งแวดล้อมมาจากกิจกรรมของนักอนุรักษ์ในยุคต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20

ในทวีปอเมริกาเหนือ ได้มีกิจกรรมรณรงค์ให้มีการปลูกต้นไม้และสงวนพื้นที่ป่าเขาลำนำไพรให้คงสภาพ

ตามธรรมชาติไว้ตลอดไปเพื่อให้เกิดคุณค่าในเชิงสุนทรียภาพแก่การดำรงชีวิตของมนุษย์ซึ่งควรเป็นวิถีชีวิต

ที่เรียบง่ายและกลมกลืนกับธรรมชาติให้มากที่สุดดังนั้น ยุคแรกของขบวนการสิ่งแวดล้อมจึงเรียกว่าเป็น

“ขบวนการอนุรักษ์”(ConservationMovement)ซึ่งเป็นขบวนการทางสังคมที่เน้นคุณค่าของธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อมในเชิงวัฒนธรรมโดยไม่มีอุดมการณ์ทางการเมืองใดๆที่เกี่ยวข้อง7การเกิดอุดมการณ์ดังกล่าว

เกดิจากในตน้ครสิต์ทศวรรษ1960มีภาวะมลพษิที่เกดิจากอตุสาหกรรมในเมอืงอตุสาหกรรมและแหลง่กำเนดิ

อื่นๆเช่นการใช้สารเคมีทางการแพทย์เกษตรกรรมการผลิตซึ่งมลพิษดังกล่าวมีผลกระทบต่อชีวิตและสุข

อนามัยของผู้คนดังเช่นปัญหาการปนเปื้อนของมลพิษในกรณีLoveCanalที่เกิดขึ้นในมลรัฐนิวยอร์กหรือ

การเกิดหมอกควันพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมในเมืองยกคาอิชิประเทศญี่ปุ่น

จากปัญหาเหล่านี้เป็นจุดเปลี่ยนของกระแสทางความคิดสังคมจากการอนุรักษ์แบบเดิมมาเป็นการ

แสวงหาความสมดุลระหว่างการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย์กับคุณภาพของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวมนุษย์

การเปลี่ยนแนวความคิดดังกล่าวเป็นจุดเริ่มต้นของ“ขบวนการสิ่งแวดล้อม”ในยุคปัจจุบัน

กิจกรรมหลักของขบวนการสิ่งแวดล้อมจะรณรงค์ให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะและ

พฤติกรรมในทางสังคมในเรื่องต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดย

สนับสนุนให้มีการจัดการและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างยั่งยืนรักษาความสมดุลระหว่างระบบนิเวศ

จากจุดเน้นของการรณรงค์ในเรื่องระบบนิเวศต่อมาจึงเรียกชื่อขบวนการสิ่งแวดล้อมนี้ว่า“ขบวนการนิเวศ”

(EcologyMovement)

องค์กรที่อาจถือว่าเป็นตัวแทนในเชิงสัญลักษณ์ของขบวนการสิ่งแวดล้อมคือองค์กรพัฒนาเอกชน

(Non-GovernmentalOrganizations)หรือNGOsซึ่งมีทั้งองค์กรขนาดใหญ่และขนาดเล็กและมีความ

แตกต่างทางด้านความคิดที่หลากหลาย

สำหรบักลุม่ที่มีความเชือ่อยา่งเดด็เดีย่ววา่การคุม้ครองสิง่แวดลอ้มเปน็พนัธกจิสำคญัเพือ่การพฒันา

สำหรับความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์โดยไม่จำเป็นต้องใช้ความรุนแรงคือกลุ่มGreenPeaceและกลุ่มEarth

7เรื่องเดียวกันหน้า1-23

Page 18: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-18

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

Peaceแต่กลุ่มที่มีการใช้ความรุนแรงถึงขั้นเป็นการก่อร้าย(Eco-terrorism)ได้แก่กลุ่มEarthLiberation

Front(ELF)และกลุ่มAnimalLiberationFront(ALF)

ในประเทศไทยก็มีความตื่นตัวในเรื่องนี้เช่นกันโดยมีขบวนการสิ่งแวดล้อมเป็นกระแสสังคมโดยมี

การผลักดันเกี่ยวกับการต่อต้านการสร้างเขื่อนพลังน้ำไฟฟ้ารวมทั้งโครงการด้านพลังงานขนาดใหญ่ประเภท

อื่นรวมทังการเรียกร้องผลักดันในการอ้างสิทธิชุมชนคือการเรียกร้องสิทธิในการจัดตั้งป่าชุมชน

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-23ถึงหน้า1-26)

กิจกรรม 1.2.1

กิจกรรมหลักของขบวนการสิ่งแวดล้อมได้มีการรณรงค์ให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายสิ่ง

แวดล้อมเป็นอย่างไร

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.2.1

(โปรด ตรวจ แนว คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.2 กิจกรรม 1.2.1)

Page 19: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-19

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่อง ที่ 1.2.2 หลัก การ พัฒนา ที่ ยั่งยืน

สาระ สังเขป“การพัฒนาที่ยั่งยืน” คือ การพัฒนาที่ตอบสนองความจำเป็นของคนในยุคปัจจุบันโดยไม่ทำให้

ความสามารถของชนรุ่นต่อไปในอนาคตที่จะตอบสนองความจำเป็นของเขาต้องเสื่อมถอยหรือลดน้อยถอย

ลงไป(SustainableDevelopmentisdevelopmentthatmeetstheneedsofthepresentwithout

compromisingtheabilityoffutureneeds)

การประชุมใหญ่สหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (UnConferenceonEnviron-

mentanddevelopment:UNCED)หรือEarthSummitเมื่อค.ศ.1992ที่กรุงริโอเดอจาเนโรประเทศ

บราซิลที่ประชุมได้ประกาศหลักการเรียกว่าปริญญาริโอว่าด้วยเรื่องสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (RioDec-

larationonEnvironmentandDevelopment)ยืนยันหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนตามที่ประกาศไว้ในปฏิญญา

กรุงสตอกโฮลม์ฯตามนัยของบทนิยามที่WECDเสนอไว้คือ

“Principle1:Humanbeingsareat theCenterofconcernsforsustainabledevelopment.

theyareentitledtoahealthyandproductivelifeinharmonywithnature.”(มนุษย์เป็นศูนย์กลางพัฒนา

ที่ยั่งยืนมนุษย์ทุกคนมีสิทธิในชีวิตที่มีสุขภาวะที่ดีและมีผลงานที่สอดคล้องกลมกลืนธรรมชาติ

“Principle3:Therighttodevelopmentmustbefulfilledsoastoequitablymeetdevelop-

mentalandenvironmentalneedsofpresentandfuturegenerations.”(สิทธิเพื่อการพัฒนาต้องสามารถตอบ

สนองต่อความจำเป็นของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมของคนรุ่นปัจจุบันและในอนาคตได้อย่างเป็นธรรม)

“Principle4:Inordertoachievesustainabledevelopmentenvironmentalprotectionshall

constitute an integralpart of thedevelopmentprocess andcannotbe considered in solution from it.”

(เพื่อให้การพัฒนาที่ยั่งยืนบรรลุผลการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมต้องเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของกระบวนการ

พัฒนาและไม่สามารถแยกจากกันได้)

“Principle 25: Peace, development and environmental protection are independent and

indivisible.”(สันติภาพการพัฒนาและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่พึ่งพากันและไม่อาจแบ่งแยกได้)

ในการประชุมWorld Summit sustainable development (WSSD)ที่เมืองโจฮันเนสเบอร์ก

ประเทศแอฟริกาใต้ที่ประชุมได้ยืนยันหลักการตามปฏิญญาริโอโดยมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้

1. เสาหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Pillars of Sustainable development) ได้แก่ การพัฒนา

เศรษฐกิจการพัฒนาสังคมและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

2. วัตถุประสงค์หลักและเงื่อนไขที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน (OverarchingObjectives

andEssentialRequirementsforSustainable development)ได้แก่การขจัดความยากจนการเปลี่ยน

Page 20: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-20

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

แบบแผนของการผลิตและการบริโภคการคุ้มครองและจัดการทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นฐานของการพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมการพัฒนาที่ยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัฒน์การสาธารณสุขกับการพัฒนาที่ยั่งยืน

3. การพัฒนาที่ยั่งยืนจะบรรลุผลสำเร็จได้ต้องประกอบด้วยการร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องใน

ลักษณะของการเป็นหุ้นส่วนหรือภาคีทั้งในระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาลและระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มประชาสังคม

การเสริมสร้างให้เกิดธรรมาภิบาลทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ การเสริมสร้างสันติภาพความมั่นคง

เสถียรภาพและความเคารพในสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานรวมทั้งสิทธิต่อการพัฒนา

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-26ถึงหน้า1-29)

กิจกรรม 1.2.2

การประชุมใหญ่สหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่กรุงเดอจาเนโร ยืนยัน

หลักการพัฒนาที่ยั่งยืนตามที่ประกาศไว้ในปฏิญญากรุงสตอกโฮลม์ฯตามนัยของบทนิยามที่WECD

เสนอไว้โดยมีหลักการที่1ว่าด้วยเรื่องอะไร

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.2.2

(โปรด ตรวจ แนว คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.2 กิจกรรม 1.2.2)

Page 21: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-21

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่อง ที่ 1.2.3 หลัก ทรัพย สิทธิ

สาระ สังเขปหลักทรัพยสิทธิ (Property Rights) ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศเรียกว่า หลัก “สิทธิ

อธิปไตย” หลักสิทธิอธิปไตยประกอบด้วยหลักที่รัฐมีอำนาจเด็ดขาดในการบริหารจัดการและควบคุมดูแล

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทุกประเภทที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

เช่นที่ดินทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์รวมทั้งสิทธิชุมชนและชุมชนนิยมดังมีหลักสำคัญที่สรุปได้ดังนี้

1. สิทธิ อธิปไตย (Sovereign Right) สิทธิอธิปไตยประกอบด้วยหลักการดังนี้

1.1รัฐมีอำนาจเด็ดขาดในการบริหารจัดการและควบคุมดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินรวมทั้งมีอำนาจจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นที่ดินแหล่งน้ำป่าไม้ทรัพยากรประมงทรัพยากรธรณีทรัพยากรความหลากหลาย

ทางชีวภาพอำนาจของรัฐนี้ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศเรียกว่า“สิทธิอธิปไตย” (SovereignRight)

ซึ่งได้รับการยืนยันโดยปฏิญญาสต๊อกโฮล์มฯหลักการที่21และปฏิญญาริโอฯหลักการที่2

1.2เอกชนสามารถมีกรรมสิทธิ์และทรัพยสิทธิอย่างอื่นได้ตามหลักกฎหมายที่ดินและประมวล

กฎหมายแพ่งรวมทั้งมีสิทธิในการทำประมงหรือสำรวจหาแหล่งแร่ภายใต้การดูแลของรัฐ

อำนาจของรัฐดังกล่าวยังมีประเด็นปัญหาจากนักวิชาการและนักคิดหลายฝ่ายว่าการจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักสาธารณสมบัติของแผ่นดินและหลักสาธารณประโยชน์ดังกล่าวอาจเป็นตัวการ

สำคัญที่ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถูกทำลายลง

2. สาธารณ สมบัติ ของ แผ่นดิน สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ถูกใช้เพื่อสาธารณประโยชน์มีฐานะเป็นทรัพย์ส่วนกลางเช่นทุ่งหญ้า

สำหรับเลี้ยงสัตว์ซึ่งคนส่วนใหญ่จะใช้ประโยชน์จากทรัพย์ส่วนกลางโดยไม่มีข้อจำกัดจนอาจทำให้ทุ่งหญ้านั้น

ถูกทำลายไปเพราะมีผู้นำสัตว์มากินหญ้าจำนวนมากเกินขีดที่จะรองรับได้และทรัพย์ส่วนกลางจะปราศจาก

ผู้ดแูลเพราะผูค้นผู้ใช้ประโยชน์จากทรพัย์สว่นกลางโดยปราศจากการหวงแหนและทะนถุนอมรกัษาทรพัยส์นิ

นั้นให้คงอยู่

Page 22: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-22

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

3. สิทธิ ชุมชน และ ชุมชน นิยมสิทธิชุมชนและชุมชนนิยมจากปัญหาของทรัพย์ส่วนกลางทำให้มีแนวคิดสิทธิชุมชนให้การรับรอง

สิทธิชุมชนในการเข้ามาดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีสิทธิจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตน โดยแนวคิดนี้เกิดจากนักคิดทางฝ่ายชุมชนนิยมของ

ต่างประเทศแนวคิดนี้มีมากในช่วงปี ค.ศ. 1987-1991และต่อมาได้รับการรับรองในปฏิญญาริโอฯหลัก

การที่ 22 ซึ่งได้รับรองว่าประชาชนที่เป็นชนเผ่าดั้งเดิมไม่ว่าจะเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของทวีปอเมริกาคือ ชน

เผ่าอินเดียนแดงหรือชนเผ่าAborigineในทวีปออสเตรเลียหรือชุมชนท้องถิ่นอื่น

หลักการสิทธิชุมชนนี้ได้ถูกนำมาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2540

มาตรา46และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรพ.ศ.2550มาตรา66และมาตรา67

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-29ถึงหน้า1-32)

กิจกรรม 1.2.3

หลักทรัพยสิทธิหรือสิทธิอธิปไตยมีหลักการที่สำคัญอย่างไร

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.2.3

(โปรด ตรวจ แนว คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.2 กิจกรรม 1.2.3)

Page 23: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-23

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่อง ที่ 1.2.4 หลัก การ ป้องกัน ล่วง หน้า และ หลัก ผู้ ก่อ มลพิษ เป็น ผู้ จ่าย

สาระ สังเขปหลักการป้องกันล่วงหน้าคือกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในกรณีที่ยังไม่มีความ

แน่นอนชัดเจนเกี่ยวกับหลักฐานและผลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ว่ามีภยันตรายต่อมนุษยชาติและสิ่ง

แวดล้อมแล้วหรือไม่

หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย เป็นหลักการทางเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมซึ่งองค์กรความร่วมมือทาง

เศรษฐกิจและการพัฒนาเสนอให้นำมาใช้เป็นหลักการพื้นฐานสำหรับการป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษ

1. หลัก การ ป้องกัน ล่วง หน้า (Precautionary Principle) หลักการป้องกันส่วนหน้า คือกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในกรณีที่ยังไม่มี

ความแน่นอนชัดเจนเกี่ยวกับหลักฐานและผลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ว่ามีภยันตรายต่อมนุษยชาติ

และสิ่งแวดล้อมแล้วหรือไม่ตามหลักการนี้ให้หลีกเลี่ยงความเสี่ยงต่อการเกิดภยันตรายตามความเหมาะสม

และความจำเป็นตามสถานการณ์ไว้ก่อนโดยไม่จำเป็นต้องรอให้มีผลพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์โดยสมบูรณ์ว่า

มีปัญหาเช่นนั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม่ก็ตามเช่นปัญหาโลกร้อนซึ่งองค์การสหประชาชาติได้ริเริ่มให้มีข้อตกลง

นานาชาติเพื่อการป้องกันไว้ก่อนภายในกรอบของอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก (UFCCC)

และพิธีสารโตเกียวดังปรากฎในในหลักการที่15ของปฏิญญาริโอฯดังต่อไปนี้

“Principle15:InordertoProtecttheenvironment,theprecautionaryapproachshall

bewidelyappliedbyStatesaccordingtotheircapabilities.Wheretherearethreatsofseri-

ousorirreversibledamage,lackoffullscientificcertaintyshallnotbeusedasareasonfor

postponingcost-effectivemeasuresenvironmentaldegradation.”

2. หลัก ผู้ ก่อ มลพิษ เป็น ผู้ จ่าย (Polluter Pay Principle) หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายเป็นหลักเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมซึ่งองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจ

และการพัฒนา(OrganizationforEconomicCo-OperationandDevelopment:OECD)เสนอให้นำ

มาใช้เป็นหลักการพื้นฐานสำหรับการป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษโดยมีสาระสำคัญคือการกำหนดให้ผู้ก่อให้

เกดิมลพษิมหีนา้ที่แบกรบัภาระการลงทนุและออกคา่ใช้จา่ยทัง้หมด(Internationalizationofenvironment

costs)ในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นจากการประกอบการหรือดำเนินกิจกรรมของตนรวม

ทั้งมีหน้าที่ชดใช้ค่าใช้จ่ายในการขจัดมลพิษทั้งหมดที่รัฐต้องดำเนินการไปเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและหาก

เกิดความเสียหายต่อชีวิต สุขภาพอนามัยหรือทรัพย์สินของผู้ใดผู้ก่อมลพิษมีหน้าที่ชดเชยความเสียหาย

ดังกล่าวให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายตามปฏิญญาริโอฯในหลักการที่16ดังนี้

Page 24: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-24

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

“Principle:16Nationalauthoritiesshouldendeavourtopromotetheinternationaliza-

tionofenvironmentalcostsandtheuseofeconomicinstruments,takingintoaccountthe

approachthatthepollutershould,inprinciple,bearthecostofpollution,withdueregardto

thepublicinterest,andwithoutdistortinginternationaltradeandinvestment.”

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-33ถึงหน้า1-34)

กิจกรรม 1.2.4

1. หลักการป้องกันล่วงหน้า (Precautionary Principle) มีความสำคัญต่อการพิจารณา

กระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างไร

2. หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (PolluterPayPrinciple)มีหลักการว่าอย่างไร

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.2.4

(โปรด ตรวจ แนว คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.2 กิจกรรม 1.2.4)

Page 25: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-25

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่อง ที่ 1.2.5 หลัก ความ รับ ผิด เด็ด ขาด ทาง แพ่ง

สาระ สังเขปหลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง(StrictCivilliability)เป็นหลักกฎหมายที่กำหนดให้ผู้ที่ก่อให้

เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นมีหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายถึงแม้ว่าผู้กระทำให้เกิดความเสียหายจะมิได้

กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อก็ตามผู้ที่ก่อให้เกิดความเสียหายจะได้รับการยกเว้นความรับผิดเมื่อ

การกระทำของผู้ก่อให้เกิดความเสียหายเข้าข้อยกเว้นตามกฎหมายว่าไม่ต้องรับผิดทั้งนี้ผู้ที่ได้รับความเสีย

หายมีหน้าที่พิสูจน์แต่เพียงว่าตนได้รับความเสียหายอย่างไรและเสียหายแค่ไหนเพียงใด

หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่งได้นำมาใช้ในกฎหมายว่าด้วยเรื่องละเมิดของไทยตามประมวล

กฎหมายแพ่งมาตรา 437 และตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ได้

บัญญัติไว้ในมาตรา 96 ซึ่งให้ผู้ก่อให้เกิดมลพิษต้องรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างเคร่งครัด เว้นแต่

ในกรณีพิสูจน์ได้ว่า มลพิษเช่นว่านั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือการสงคราม การกระทำตามคำสั่งของรัฐบาล

หรือเจ้าพนักงานของรัฐหรือการกระทำหรือละเว้นกระทำของผู้ที่ได้รับอันตรายหรือความเสียหายเอง หรือ

ของบุคคลอื่นซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงหรือโดยอ้อมในการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษนั้น

เกี่ยวกับเรื่องนี้ปฏิญญาริโอฯหลักการที่13กำหนดไว้ว่า

“Principle13:Statesshalldevelopnationallawregardingliabilityandcompensation

forthevictimsofpollutionandotherenvironmentaldamage.Statesshallalsocooperatein

anexpeditiousandmoredeterminedmannertodevelopfurtherinternationallawregarding

liabilityandcompensationforadverseeffectsofenvironmentaldamagecausedbyactivities

withintheirjurisdictionorcontroltoareasbeyondtheirjurisdiction.”

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-35ถึงหน้า1-36)

กิจกรรม 1.2.5

หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง (strictCivil liability)มีหลักการสำคัญว่าอย่างไรและ

หลักการนี้ได้นำไปใช้ในกฎหมายไทยในเรื่องใดบ้าง

Page 26: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-26

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.2.5

(โปรด ตรวจ แนว คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.2 กิจกรรม 1.2.5)

Page 27: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-27

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่อง ที่ 1.2.6 หลัก การ มี ส่วน ร่วม ของ ประชาชน

และ หลัก การก ระ จา ยอำ นาจ

สาระ สังเขปหลกัการมีสว่นรว่มของประชาชน (PublicParticipation)เปน็หลกัการสำคญัซึง่ปรากฏในปฏญิญาริ

โอฯหลักการที่10และหลักการที่27ซึ่งให้ความสำคัญเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนว่ามีความสำคัญ

และความจำเป็นต่อการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ

หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization)คือหลักการที่ส่วนกลางให้ส่วนท้องถิ่นเข้ามามีหน้า

ที่ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมซึ่งปรากฏในพระราชบัญญัติสาธารณสุขของไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2484 โดย

ให้ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ บำรุงรักษา ริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

1. หลัก การ มี ส่วน ร่วม ของ ประชาชน (Public Participation) หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ปรากฏอยู่ในปฏิญญาริโอหลักการที่10 และหลักการที่ 27 ได้

ยืนยันว่าการมีส่วนร่วมของประชาชนมีความสำคัญและความจำเป็นต่อการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมอย่างมี

ประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งรัฐกับประชาชนต้องร่วมมือกันโดยสุจริตและมีจิตวิญญาณของการ

เป็นภาคีกันและควรต้องมีการรับรองสิทธิของประชาชนดังนี้1)การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสิน

ใจของรัฐ2)การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการ3)การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและวิธีพิจารณาทาง

ปกครองเพื่อให้มีสิทธิได้รับการชดเชยความเสียหายอย่างมีประสิทธิภาพและความร่วมมือกันระหว่างรัฐกับ

ประชาชนดังนี้c]fy’

“Principle 10:Environmentissuesarebesthandledwiththeparticipationofallcon-

cernedcitizens,attherelevantlevel.Atthenationallevel,eachindividualshallhaveappropriate

accesstoinformationconcerningtheenvironmentthatisheldbypublicauthorities,including

informationonhazardousmaterialsandactivesintheircommunities,andtheopportunityto

participateindecision-makingprocesses.Statesshallfacilitateandencouragepublicaware-

nessandparticipationbymakinginformationwidelyavailable.Effectiveaccesstojudicial

andadministrativeproceedings,includingredressandremedy,shallbeprovided.”

“Principle 27:Statesandpeopleshallcooperateingoodfaithandinspiritofpartnership

inthefulfillmentoftheprincipleembodiedinthisDeclarationandinthefurtherdevelopment

ofinternationallawinthefillofsustainabledevelopment.”

Page 28: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-28

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

2. หลัก การก ระ จา ยอำ นาจ (Decentralization) หลักการกระจายอำนาจคือการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีหน้าที่ดูแล

รักษาสิ่งแวดล้อมหลักการนี้ปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2540มาตรา290

และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2550มาตรา290ซึ่งมีสาระสำคัญเช่นเดียวกันทั้ง2ฉบับ

แต่ฉบับ2550มีส่วนเพิ่มในข้อ4คือ

“เพื่อส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำนาจหน้าที่ตามที่

กฎหมายบัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญดังต่อไปนี้

(1)การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่

ในเขตพื้นที่

(2)การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่

เฉพาะในกรณีที่อาจมีผลต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน

(3)การมีสว่นรว่มในการพจิารณาเพือ่รเิริม่โครงการหรอืกจิกรรมใดนอกเขตพืน้ที่ซึง่อาจมีผลกระทบ

ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่

(4)การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น

หลักการมีส่วนร่วมของชุมชนนี้ได้ปรากฏอยู่ในปฏิญญาสต๊อกโฮลม์ฯหลักการที่17ด้วย

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในเอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1 โดย

อาจารย์พนัสทัศนียานนท์หน้า1-36ถึงหน้า1-38)

กิจกรรม 1.2.6

1.จงบอกถึงหลักการการมีส่วนร่วมของประชาชนในปฏิญญาริโอฯ

2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2550ได้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการมีส่วน

ร่วมของประชาชนไว้ในมาตราใดและสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช

2540อย่างไรหรือไม่

บันทึก คำ ตอบ กิจกรรม 1.2.6

Page 29: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-29

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

(โปรด ตรวจ คำ ตอบ จาก แนว ตอบ ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 1 ตอน ที่ 1.2 กิจกรรม 1.2.6)

Page 30: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-30

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

แนว ตอบ กิจกรรม หน่วย ที่ 1

แนวคิด พื้น ฐาน ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

ตอน ที่ 1.1 ความ หมาย ขอบเขต และ ลักษณะ ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

แนว ตอบ กิจกรรม1.1.1

สหภาพยุโรป(EU)ได้ให้คำนิยามว่า“สิ่งแวดล้อม”ดังนี้

สิ่งแวดล้อมหมายถึงองค์รวมของภาวะปัจจัยทั้งหมดที่มีสหสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างสลับซับซ้อน

ก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมและสภาวะชีวิตของปัจเจกบุคคลและสังคมตามสภาพที่เป็นอยู่หรือตามที่ได้รู้สึก

ว่าเป็นเช่นนั้น (Thecombinationofelementswhosecomplex interrelationshipsmakeupthe

setting,thesurroundingsandtheconditionsoflifeoftheindividualandofsociety;asthey

areorastheyarefeltและTheenvironmentthusincludesthebuiltenvironment,thenatural

environmentandallnaturalresource,includingairlandandwater.italsoincludesthesur-

roundingsoftheworkplace)8

ขอบเขตของกฎหมายสิ่งแวดล้อมมีทั้งการกำหนดนโยบายอำนาจหน้าที่ของรัฐ รับรองการมีส่วน

ร่วมของประชาชนกำหนดระบบการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติระบบการบริหารจัดการมลพิษและ

หลักกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยืน

แนว ตอบ กิจกรรม 1.1.2

ลักษณะของกฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นทั้งกฎหมายภายในและกฎหมายระหว่างประเทศกฎหมาย

ภายในจะมีลักษณะเป็นกฎหมายมหาชนเพราะเป็นกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชนและ

ความสัมพันธ์ในระหว่างองค์กรหรือหน่วยงานของรัฐด้วยกันเองและยังมีลักษณะเป็นทั้งกฎหมายแพ่งและ

กฎหมายอาญาดว้ยและนอกจากนี้ยงัมีลกัษณะเปน็กฎหมายระหวา่งประเทศเพราะมีขอ้ตกลงระหวา่งประเทศ

เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นจำนวนมาก

ส่วนสภาพบังคับของกฎหมายคือเป็นข้อบังคับของรัฐที่กำหนดความประพฤติของมนุษย์ผู้ใดฝ่าฝืน

จะต้องได้รับผลร้ายหรือถูกลงโทษสำหรับปัญหาการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมในอดีตต่อรัฐบาลหรือ

8TerminologyReferenceSystemUS.EnvironmentalProtectionAgency(http;//iaspub.epa.gov/trs_proc_

qry.navigate_team_id=10011&p_team_cd=TERMDIS)

Page 31: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-31

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

หน่วยงานของรัฐให้ต้องปฏิบัติตามกฎหมายมีหลายประการแต่ภายหลังเมื่อมีประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราช

อาณาจักรไทยพุทธศักราช2540ได้คุ้มครองการใช้สิทธิดังกล่าวกับบุคคลทั่วไป

ตอน ที่ 1.2 ขบวนการ ทาง ความ คิด เกี่ยว กับ สิ่ง แวดล้อม และ หลัก การ ของ กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม

แนว ตอบ กิจกรรม 1.2.1

กิจกรรมหลักของขบวนการสิ่งแวดล้อมจะรณรงค์ให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะและ

พฤติกรรมในทางสังคมในเรื่องต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดย

สนับสนุนให้มีการจัดการและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างยั่งยืนรักษาความสมดุลระหว่างระบบนิเวศ

จากจุดเน้นของการรณรงค์ในเรื่องระบบนิเวศต่อมาจึงเรียกชื่อขบวนการสิ่งแวดล้อมนี้ว่า“ขบวนการนิเวศ”

(EcologyMovement)

แนว ตอบ กิจกรรม 1.2.2

หลักการว่าด้วยขบวนการสิ่งแวดล้อมอยู่ในหลักการที่1ว่าด้วยเรื่องPrinciple1:Humanbeings

areattheCenterofconcernsforsustainabledevelopment.theyareentitledtoahealthyand

productivelifeinharmonywithnature.(มนุษย์เป็นศูนย์กลางพัฒนาที่ยั่งยืนมนุษย์ทุกคนมีสิทธิใน

ชีวิตที่มีสุขภาวะที่ดีและมีผลงานที่สอดคล้องกลมกลืนธรรมชาติ)

กิจกรรมหลักของขบวนการสิ่งแวดล้อมจะรณรงค์ให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะและ

พฤติกรรมในทางสังคมในเรื่องต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดย

สนับสนุนให้มีการจัดการและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างยั่งยืนรักษาความสมดุลระหว่างระบบนิเวศ

จากจุดเน้นของการรณรงค์ในเรื่องระบบนิเวศต่อมาจึงเรียกชื่อขบวนการสิ่งแวดล้อมนี้ว่า“ขบวนการนิเวศ”

(EcologyMovement)

แนว ตอบ กิจกรรม 1.2.3

หลักทรัพยสิทธิหรือสิทธิอธิปไตย มีหลักการที่สำคัญคือรัฐมีอำนาจเด็ดขาดในการบริหารจัดการ

และควบคมุดแูลทรพัยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอ้มที่มีไว้เพือ่สาธารณประโยชน์หรอืเปน็สาธารณสมบตัิของ

แผ่นดินรวมทั้งมีอำนาจจัดการทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นที่ดินแหล่งน้ำป่าไม้ทรัพยากร

ประมงทรัพยากรธรณี ทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ อำนาจของรัฐนี้ตามหลักกฎหมายระหว่าง

ประเทศเรียกว่า“สิทธิอธิปไตย”

แนว ตอบ กิจกรรม 1.2.4

1. หลักการป้องกันล่วงหน้าเป็นหลักการพิจารณาในกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาสิ่ง

แวดล้อมว่าการใดมีภยันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมไม่ว่าเกิดขึ้นจริงหรือไม่ให้หลีกเลี่ยงความเสี่ยงต่อ

Page 32: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-32

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

การเกิดภยันตรายและความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นได้ ด้วยการวางมาตรการป้องกันที่เห็นว่าน่าจะเหมาะสม

และจำเป็นตามสถานการณ์ไว้ก่อนโดยไม่จำเป็นต้องรอผลพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์โดยสมบูรณ์เสียก่อน

2. หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (PolluterPayPrinciple)คือการกำหนดให้ผู้ก่อให้เกิดมลพิษมีหน้า

ที่แบกรับภาระการลงทุนและออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด(Internationalizationofenvironmentcosts)ในการ

ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นจากการประกอบการหรือดำเนินกิจกรรมของตน รวมทั้งมีหน้าท้อง

ชดใช้ค่าใช้จ่ายในการขจัดมลพิษทั้งหมดที่รัฐต้องดำเนินการไปเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและหากเกิดความ

เสียหายต่อชีวิตสุขภาพอนามัยหรือทรัพย์สินของผู้ใดผู้ก่อมลพิษมีหน้าที่ชดเชยความเสียหายดังกล่าวให้

แก่ผู้ได้รับความเสียหาย

แนว ตอบ กิจกรรม 1.2.5

หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง (strictCivilliability)เป็นหลักกฎหมายที่กำหนดให้ผู้ที่ก่อให้

เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นมีหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายถึงแม้ว่าผู้กระทำให้เกิดความเสียหายจะมิได้

กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อก็ตามผู้ที่ก่อให้เกิดความเสียหายจะได้รับการยกเว้นความรับผิดเมื่อ

การกระทำของผู้ก่อให้เกิดความเสียหายเข้าข้อยกเว้นตามกฎหมายว่าไม่ต้องรับผิดทั้งนี้ผู้ที่ได้รับความเสีย

หายมีหน้าที่พิสูจน์แต่เพียงว่าตนได้รับความเสียหายอย่างไรและเสียหายแค่ไหนเพียงใด

หลักการดังกล่าวได้ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทย ในมาตรา 437 และต่อมาได้

บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมพ.ศ.2535ในมาตรา96เกี่ยวกับความ

รับผิดในความเสียหายที่เกิดจากแหล่งกำเนิดมลพิษ

แนว ตอบ กิจกรรม 1.2.6

หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) ที่ปรากฏอยู่ในปฏิญญาริโอหลักการที่

10และหลักการที่27ได้ยืนยันว่าการมีส่วนร่วมของประชาชนมีความสำคัญและความจำเป็นต่อการคุ้มครอง

สิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งรัฐกับประชาชนต้องร่วมมือกันโดยสุจริตและมีจิต

วญิญาณของการเปน็ภาคีกนัและควรตอ้งมีการรบัรองสทิธิของประชาชนดงันี้1)การมีสว่นรว่มของประชาชน

ในการตัดสินใจของรัฐ2)การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการ3)การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและวิธี

พิจารณาทางปกครองเพื่อให้มีสิทธิได้รับการชดเชยความเสียหายอย่างมีประสิทธิภาพและความร่วมมือกัน

ระหว่างรัฐกับประชาชน

2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540มาตรา 290 และรัฐธรรมนูญแห่งราช

อาณาจักรไทยพุทธศักราช2550มาตรา290ซึ่งมีสาระสำคัญเช่นเดียวกันทั้ง2ฉบับแต่ฉบับ2550มีส่วน

เพิ่มในข้อ4คือได้มีการเพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นด้วย

Page 33: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-33

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

แบบ ประเมิน ผล ตนเอง หลัง เรียน

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “แนวคิดพื้นฐานของ

กฎหมายสิ่งแวดล้อม”

คำ แนะนำ อ่านคำถามต่อไปนี้ แล้วเขียนคำตอบลงในช่องว่างที่กำหนดให้ นักศึกษามีเวลาทำแบบ

ประเมินผลชุดนี้30นาที

1. จงบอกถึงความหมายของ“สิ่งแวดล้อม”ในทางชีววิทยานิเวศวิทยาและวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2.เมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครองได้กำหนดให้บุคคลอาจฟ้องคดีสิ่งแวดล้อมต่อศาลปกครองได้อย่างไร

3.วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาที่ยั่งยืนมีอะไรบ้างที่เป็นหลักการสำคัญ

Page 34: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-34

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

เฉลย แบบ ประเมิน ผล ตนเอง หน่วย ที่ 1

ก่อน เรียน1. หลักการของกฎหมายสิ่งแวดล้อม มีพื้นฐานจากหลักทรัพยสิทธิตามกฎหมายแพ่ง คือหลัก

สาธารณสมบัติของแผ่นดินตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 และหลัก

เหตุเดือดร้อนรำคาญตามมาตรา 1337หรือเหตุรำคาญตามพระราชบัญญัติสาธารณะสุขพ.ศ. 2535 โดย

ในส่วนของกฎหมายสิ่งแวดล้อมได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่ง

ชาติพ.ศ.2535ซึ่งกำหนดให้มีการตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.2518ซึ่งมีบทบัญญัติสำคัญ

ในการกำหนดให้มีการก่อตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของรัฐบาลเกี่ยว

กับการกำหนดนโยบายและการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมในทำนองเดียวกับ NEPA ของสหรัฐอเมริกา

โดยมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการกำหนดให้มีมาตรการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและต่อมาได้มีการตรา

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.2535ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมใน

หลายเรื่องทั้งการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม การป้องกันมลพิษ และเมื่อมีการตรารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร

ไทยพุทธศักราช2540และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2550ได้มีบทบัญญัติรับรองสิทธิ

ของประชาชนในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนและการรับรอง

สิทธิของชุมชนรวมทั้งกำหนดแนวนโยบายของรัฐเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติด้านที่ดินและป่าไม้

2. สภาพบังคับของกฎหมายพิจารณาได้จากสภาพบังคับทางอาญาคือโทษหรือผลร้ายที่ผู้กระทำ

ผิดกฎหมายจะพึงได้รับ สภาพบังคับทางแพ่งคือการชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนหรือให้ทำการ

ชำระหนี้ตามสัญญาและสภาพบังคับทางปกครอง

ความสัมพันธ์ของกฎหมายทั้ง 3ลักษณะอาจแบ่งออกเป็นการใช้อำนาจรัฐบังคับให้บุคคลซึ่งมิใช่

หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลของรัฐต้องปฏิบัติตามกฎหมายคือคำสั่งห้ามหรือให้หยุดกระทำการอย่างใดอย่าง

หนึ่งซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งรวมถึงคำสั่งไม่อนุญาตให้พักใช้ใบอนุญาตให้เพิกถอนใบ

อนุญาตประกอบกิจการต่างๆนอกจากนั้นยังมีโทษทางปกครองที่ไม่ใช่โทษปรับทางอาญาซึ่งเจ้าพนักงานของ

รัฐมีอำนาจสั่งปรับผู้กระทำผิดกฎหมายได้ทันที เช่นอำนาจตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ

สิ่งแวดล้อมพ.ศ.2535มาตรา90และมาตรา92

3.หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน (SustainableDevelopment) คือการพัฒนาที่ตอบสนองความจำเป็น

ของคนไทยในยุคปัจจุบันโดยไม่ทำให้ความสามารถของชนรุ่นต่อไปในอนาคตที่จะตอบสนองความจำเป็น

ของเขาต้องเสื่อมถอยหรือลดน้อยถอยลงไปทั้งนี้การประชุมใหญ่สหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการ

พัฒนา (UNConferenceonEnvironmentandDevelopment:UNCED)หรือEarthSummitเมื่อ

ค.ศ.1992ที่กรุงริโอเดอจาเนโรประเทศบราซิลที่ประชุมได้ประกาศหลักการเรียกว่าปริญญาริโอว่าด้วย

Page 35: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

1-35

มสธ มสธ ม

สธมสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

เรื่องสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (RioDeclarationonEnvironmentandDevelopment)ยืนยันหลักการ

พัฒนาที่ยั่งยืนตามที่ประกาศไว้ในปฏิญญากรุงสตอกโฮลม์ฯตามนัยของบทนิยามที่WECDเสนอไว้คือ

1. มนุษย์เป็นศูนย์กลางพัฒนาที่ยั่งยืน มนุษย์ทุกคนมีสิทธิในชีวิตที่มีสุขภาวะที่ดีและมีผลงานที่

สอดคล้องกลมกลืนธรรมชาติ

2. มนุษย์มีสิทธิเพื่อการพัฒนาต้องสามารถตอบสนองต่อความจำเป็นของการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

ของคนรุ่นปัจจุบันและในอนาคตได้อย่างเป็นธรรม

หลักทรัพยสิทธิ (Property Right) ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศเรียกว่า หลัก “สิทธิ

อธิปไตย” หลักสิทธิอธิปไตยประกอบด้วยหลักที่รัฐมีอำนาจเด็ดขาดในการบริหารจัดการและควบคุมดูแล

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทุกประเภทที่มีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

เช่นที่ดินทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์รวมทั้งสิทธิชุมชนและชุมชนนิยม

หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluter Pay Principle) เป็นหลักเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมซึ่ง

องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for EconomicCo-Operation and

Development:OECD) เสนอให้นำมาใช้เป็นหลักการพื้นฐานสำหรับการป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษ โดย

มีสาระสำคัญคือการกำหนดให้ผู้ก่อให้เกิดมลพิษมีหน้าที่แบกรับภาระการลงทุนและออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด

(Internationalization of environment costs) ในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นจากการ

ประกอบการหรือดำเนินกิจกรรมของตน รวมทั้งมีหน้าท้องชดใช้ค่าใช้จ่ายในการขจัดมลพิษทั้งหมดที่รัฐ

ต้องดำเนินการไปเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและหากเกิดความเสียหายต่อชีวิตสุขภาพอนามัยหรือทรัพย์สิน

ของผู้ใดผู้ก่อมลพิษมีหน้าที่ชดเชยความเสียหายดังกล่าวให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายตามปฏิญญาริโอฯใน

หลักการที่16

หลักความรับผิดเด็ดขาดทางแพ่ง (strictCivil liability) เป็นหลักกฎหมายที่กำหนดให้ผู้ที่ก่อให้

เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นมีหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายถึงแม้ว่าผู้กระทำให้เกิดความเสียหายจะมิได้

กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อก็ตามผู้ที่ก่อให้เกิดความเสียหายจะได้รับการยกเว้นความรับผิดเมื่อ

การกระทำของผู้ก่อให้เกิดความเสียหายเข้าข้อยกเว้นตามกฎหมายว่าไม่ต้องรับผิดทั้งนี้ผู้ที่ได้รับความเสีย

หายมีหน้าที่พิสูจน์แต่เพียงว่าตนได้รับความเสียหายอย่างไรและเสียหายแค่ไหนเพียงใด

หลัง เรียน1. ความหมายในทางชีววิทยา นิเวศวิทยา และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ได้ให้ความหมาย “สิ่ง

แวดล้อม” ว่าหมายถึง “องค์รวมปัจจัยของภาวะปัจจัยทางกายภาพ เคมีและชีวภาพที่อยู่โดยรอบและมี

ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตหรือระบบนิเวศ”(Inbiology,ecology,andenvironmentalscience,anenvi-

ronmentisthecomplexofphysical,chemical,andbioticfactorsthatsurroundandactupon

anorganismorecosystem)

Page 36: หน่วยที่ แนวคิดพื้นฐานของ กฎหมายสิ่งแวดล้อมlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41706-1.pdf · แวดล้อมหน่วย

1-36

มสธ มสธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ ม

สธ

มสธ มสธ

ความหมายของ “สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ” หมายความถึงสภาวะของสิ่งแวดล้อมที่เกือบจะไม่ได้รับ

ผลกระทบใดๆจากกิจกรรมของมนุษย์ (Thethenaturalenvironment issuchan environmentthat

isrelativelyunaffectedbyhumanactivity)

2. เมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครอง ได้กำหนดให้บุคคลอาจฟ้องคดีสิ่งแวดล้อมต่อศาลปกครองได้

กล่าวคือให้ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาคดีที่อาจจะมีผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการกระทำ

หรือละเว้นการกระทำของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ

วิธีพิจารณาคดีปกครองพ.ศ.2542มาตรา42ซึ่งบัญญัติว่า“ผู้ใดได้รับความเดือนร้อนหรือเสียหายหรืออาจ

จะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้อันเนื่องมาจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของหน่วย

งานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองหรือกรณีอื่นใดที่อยู่ใน

เขตอำนาจศาลปกครองดังที่ได้บัญญัติไว้ในมาตรา9และในการแก้ไขหรือบรรเทาความเดือดร้อนหรือความ

เสยีหายหรอืยตุิขอ้โต้แยง้นัน้ตอ้งมีคำบงัคบัตามที่กำหนดในมาตรา72ผู้นัน้มีสทิธิฟอ้งคดีตอ่ศาลปกครองได”้

3. วัตถุประสงค์หลักและเงื่อนไขที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน (OverarchingObjectives

andEssentialRequirementsforSustainable development)ได้แก่

1)การพัฒนาเศรษฐกิจการพัฒนาสังคมและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

2)การขจัดความยากจน การเปลี่ยนแบบแผนของการผลิตและการบริโภค การคุ้มครอง

และจัดการทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมการพัฒนาที่ยั่งยืนในกระแส

โลกาภิวัฒน์การสาธารณสุขกับการพัฒนาที่ยั่งยืน

3) การพัฒนาที่ยั่งยืนจะบรรลุผลสำเร็จได้ ต้องประกอบด้วย การร่วมกันของทุกฝ่ายที่

เกี่ยวข้องในลักษณะของการเป็นหุ้นส่วนหรือภาคีทั้งในระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาลและระหว่างรัฐบาลกับกลุ่ม

ประชาสังคมการเสริมสร้างให้เกิดธรรมาภิบาลทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติการเสริมสร้างสันติภาพ

ความมั่นคงเสถียรภาพและความเคารพในสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานรวมทั้งสิทธิต่อการพัฒนา