34
11-1 หน่วยที11 นโยบายทางอาญา อาจารย์ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย

หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-1

หน่วยที่ 11นโยบายทางอาญา

อาจารย์ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย

Page 2: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-2

11.1.1 ความหมายของนโยบายสาธารณะ

11.1.2 ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะ

11.1.3 บริบทของนโยบายสาธารณะ

11.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายทางอาญา

11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11.2.3 การกำาหนดนโยบายทางอาญาในบริบท

ของกระบวนการยุติธรรมไทย

11.3.1 นโยบายการแก้ปัญหายาเสพติด

แบบบูรณาการ

11.3.2 นโยบายเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรม

ทางเลือกและความยุติธรรมเชิง

สมานฉันท์

11.3.3 นโยบายการนำาหลักยุติธรรมชุมชน

มาใช้ในประเทศไทย

11.3.4 นโยบายการพัฒนาระบบงานตำารวจ

11.3.5 นโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยก

ศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม

แผนผังแนวคิดหน่วยที่ 11

นโยบาย

ทางอาญา

11.1 แนวคิดและความ

สำาคัญของนโยบาย

สาธารณะ

11.2 นโยบายทางอาญา

ในฐานะนโยบาย

สาธารณะ

11.3 กรณีศึกษา: การ

กำาหนดนโยบาย

ทางอาญาใน

ประเทศไทย

Page 3: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-3

หน่วยที่ 11

นโยบายทางอาญา

เค้าโครงเนื้อหาตอนที่ 11.1 แนวคิดและความสำาคัญของนโยบายสาธารณะ

11.1.1 ความหมายของนโยบายสาธารณะ

11.1.2 ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะ

11.1.3 บริบทของนโยบายสาธารณะ

ตอนที่ 11.2 นโยบายทางอาญาในฐานะนโยบายสาธารณะ

11.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายทางอาญา

11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11.2.3 การกำาหนดนโยบายทางอาญาในบริบทของกระบวนการยุติธรรมไทย

ตอนที่ 11.3 กรณีศึกษา: การกำาหนดนโยบายทางอาญาในประเทศไทย

11.3.1 นโยบายการแก้ปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการ

11.3.2 นโยบายเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและความยุติธรรม

เชิงสมานฉันท์

11.3.3 นโยบายการนำาหลักยุติธรรมชุมชนมาใช้ในประเทศไทย

11.3.4 นโยบายการพัฒนาระบบงานตำารวจ

11.3.5 นโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม

แนวคิด1. นโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจขั้นต้นที่จะกำาหนดแนวทางกว้างๆ เพื่อนำาไป

เปน็แนวทางการปฏบิตังิานตา่งๆ ใหเ้ปน็ไปอยา่งถกูตอ้งและบรรลวุตัถปุระสงคท์ีก่ำาหนด

ไว้ การตัดสินใจแสดงออกมาในรูปคำาแถลงการณ์ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำา-

พิพากษา ฯลฯ นโยบายสาธารณะมีความสำาคัญต่อผู้กำาหนดนโยบาย และเป็นเครื่องมือ

ในการบรหิารประเทศทกุดา้นใหม้เีสถยีรภาพมัน่คง หากสามารถนำานโยบายไปปฏบิตัจิน

ประสบความสำาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริบทของนโยบายสาธารณะ

ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน คือ สภาพแวดล้อมของนโยบาย

สาธารณะ รัฐในฐานะผู้กำาหนดนโยบายสาธารณะ ผู้มีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบาย

สาธารณะ และขั้นตอนของการกำาหนดนโยบายสาธารณะ

Page 4: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-4

2. นโยบายทางอาญา คือ นโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับทิศทางและแนวทางปฏิบัติงาน

ราชการของประเทศในการอำานวยความยุติธรรมที่ส่งผลต่อการทำางานของกระบวนการ

ยุติธรรมโดยรวมและประชาชน ซึ่งออกมาในรูปคำาแถลงนโยบาย คำาแนะนำา ระเบียบ

ข้อบังคับ ฯลฯ กระบวนการนโยบายทางอาญาประกอบด้วย ขั้นการก่อตัวของนโยบาย

ขั้นกำาหนดนโยบาย ขั้นการนำานโยบายไปปฏิบัติ และขั้นการประเมินผลนโยบาย โดย

ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการนโยบายทางอาญา ได้แก่ นักการเมือง บุคลากรใน

กระบวนการยุติธรรม และสาธารณชน

3. กรณีศึกษาการกำาหนดนโยบายทางอาญาในประเทศไทยที่น่าสนใจ ได้แก่ กรณีศึกษา

เรื่องความพยายามในการแก้ปัญหายาเสพติดโดยใช้นโยบายแบบบูรณาการ กรณีศึกษา

เรื่องนโยบายในการนำากระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในคดีอาญาในขั้นตอนต่างๆ

ของกระบวนการยุติธรรม กรณีศึกษาเรื่องความพยายามในการนำาแนวคิดเรื่องยุติธรรม

ชุมชนมาใช้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรมของไทย กรณีศึกษา

เรื่องความพยายามของคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจในการนำาเสนอการปฏิรูป

ระบบงานตำารวจ และกรณีศึกษาเรื่องการกำาหนดนโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยก

ศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม

วัตถุประสงค์เมื่อศึกษาหน่วยที่ 11 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายและวิเคราะห์ความหมาย ความสำาคัญ และบริบทของนโยบายสาธารณะได้

2. อธิบายและวิเคราะห์นโยบายทางอาญาในฐานะนโยบายสาธารณะได้

3. อธิบายและวิเคราะห์กรณีศึกษาการกำาหนดนโยบายทางอาญาในประเทศไทยได้

กิจกรรม1. กิจกรรมการเรียน

1) ศึกษาแผนผังแนวคิดหน่วยที่ 11

2) อ่านแผนการสอนประจำาหน่วยที่ 11

3) ทำาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 11

4) ศึกษาเนื้อหาสาระจาก

4.1) แนวการศึกษาหน่วยที่ 11

4.2) ตำาราและเอกสารอ้างอิงที่กำาหนดให้

Page 5: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-5

5) ปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง

6) ตรวจสอบคำาตอบของกิจกรรมแต่ละกิจกรรมจากแนวตอบ

7) ทำาแบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 11

2. งานที่กำาหนดให้ทำา

1) ทำาแบบฝึกหัดทุกข้อที่กำาหนดให้ทำา

2) อ่านเอกสารเพิ่มเติมจากตำาราและเอกสารที่ระบุในบรรณานุกรม

แหล่งวิทยาการ1. สื่อการศึกษา

แนวการศึกษาหน่วยที่ 11

2. หนังสือที่อ้างไว้ตามบรรณานุกรม

1) หนังสือประกอบการสอนชุดวิชากฎหมายอาญาและอาชญาวิทยาชั้นสูง

1.1) กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ (2543) ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษ

ใหม่ กรุงเทพมหานคร สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย หน้า 89-103

1.2) กติตพิงษ ์กติยารกัษ ์(2549) ยทุธศาสตรก์ารปฏริปูกระบวนการยตุธิรรมทาง

อาญาของไทย พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์เดือนตุลา

1.3) มยุรี อนุมานราชธน (2547) นโยบายสาธารณะ แนวความคิดกระบวนการ

และการวิเคราะห์ กรุงเทพมหานคร คนึงนิจการพิมพ์ บทที่ 1-2

1.4) กระทรวงยุติธรรม แผนแม่บทกระบวนการยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.

2547–2549)

1.5) กระทรวงยุติธรรม แผนแม่บทกระบวนการยุติธรรมแห่งชาติ (พ.ศ. 2550–

2551)

1.6) พระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549

2) หนังสืออ่านเพิ่มเติม

2.1) กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ (2552) การคุมประพฤติในประเทศไทย: สามสิบปี

แห่งการ “คืนคนดีสู่สังคม” ใน คุมประพฤติ 30 ปี กรุงเทพมหานคร กรม

คุมประพฤติ

2.2) จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย และคณะ (2553) รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนา

กรอบแนวทางการวิจัยชุดโครงการกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคม

ไทย กรุงเทพมหานคร สำานักงานกิจการยุติธรรม บทที่ 2 และบทที่ 4

Page 6: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-6

2.3) กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ (2545) “ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์: หลักการ

และแนวคิด” ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ บรรณาธิการ ใน กระบวนการ

ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์: ทางเลือกใหม่สำาหรับกระบวนการยุติธรรมไทย

กรุงเทพมหานคร มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา หน้า 5–19

2.4) กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ (2550) “ยุติธรรมชุมชน: นวัตกรรมการอำานวยความ

ยุติธรรมโดยชุมชนเพื่อชุมชน” ใน ยุติธรรมชุมชน: บทบาทการอำานวยความ

ยุติธรรมโดยชุมชนเพื่อชุมชน ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ บรรณาธิการ และ

ดร.จฑุารตัน ์เอือ้อำานวย บรรณาธกิารรว่ม กรงุเทพมหานคร กองทนุสนบัสนนุ

การวิจัย หน้า 20–52

2.5) เนาวรัตน์ พลายน้อย “ข้อเสนอต่อการดำาเนินโครงการพัฒนาระบบงาน

ยุติธรรมชุมชนระดับจังหวัด” ใน ยุติธรรมชุมชน: บทบาทการอำานวยความ

ยุติธรรมโดยชุมชนเพื่อชุมชน ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ บรรณาธิการ และ

ดร.จฑุารตัน ์เอือ้อำานวย บรรณาธกิารรว่ม กรงุเทพมหานคร กองทนุสนบัสนนุ

การวิจัย หน้า 287–314

2.6) คณะกรรมการพฒันาระบบงานตำารวจ (2551) รายงานฉบบัสมบรูณก์ารพฒันา

ระบบงานตำารวจและยทุธศาสตรก์ารพฒันาระบบงานตำารวจ กรงุเทพมหานคร

โรงพิมพ์สำานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

2.7) ร่างพระราชบัญญัติตำารวจแห่งชาติ พ.ศ. ........ ที่ผ่านการเห็นชอบของ

คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2550

2.8) ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์เกี่ยวกับตำารวจ

พ.ศ. ......... ทีผ่า่นการเหน็ชอบของคณะรฐัมนตรเีมือ่วนัที ่3 กรกฎาคม 2550

2.9) จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย “นโยบายประธานศาลฎีกา ผลการนำานโยบายไป

ปฏิบัติ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา: ศึกษาภายหลังแยกศาลยุติธรรมจาก

กระทรวงยุติธรรม (พ.ศ. 2543-2549)” ใน การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และ

รัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 9 (พ.ศ. 2551) วันที่ 2-3 ธันวาคม 2551

ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้า 240–255

2.10) จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย (2550) การประเมินผลนโยบายประธานศาลฎีกา

กรุงเทพมหานคร สำานักงานศาลยุติธรรม บทที่ 2 7 และ 8

Page 7: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-7

การประเมินผลการเรียน1. ประเมินจากการสัมมนาเสริมและงานที่กำาหนดให้ทำาในแผนกิจกรรม

2. ประเมินจากการสอบไล่ประจำาภาคการศึกษา

Page 8: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-8

แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “นโยบายทางอาญา”

คำาแนะนำา อ่านคำาถามต่อไปนี้ แล้วเขียนคำาตอบลงในช่องว่างที่กำาหนดให้ นักศึกษามีเวลาทำา

แบบประเมินผลตนเองชุดนี้ 30 นาที

1. จงอธิบายความหมาย ความสำาคัญ และบริบทของนโยบายสาธารณะ

2. จงอธิบายลักษณะของนโยบายทางอาญาในฐานะนโยบายสาธารณะ

3. จงยกตัวอย่างกรณีศึกษานโยบายทางอาญาในประเทศไทยที่น่าสนใจ

Page 9: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-9

ตอนที่ 11.1

แนวคิดและความสำาคัญของนโยบายสาธารณะ

โปรดอ่านแผนการสอนประจำาตอนที่ 11.1 แล้วจึงศึกษาสาระสังเขป พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง

หัวเรื่องเรื่องที่ 11.1.1 ความหมายของนโยบายสาธารณะ

เรื่องที่ 11.1.2 ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะ

เรื่องที่ 11.1.3 บริบทของนโยบายสาธารณะ

แนวคิด1. นโยบายสาธารณะ หมายถงึ การตดัสนิใจขัน้ตน้ทีจ่ะกำาหนดแนวทางกวา้งๆ เพือ่นำาไปเปน็

แนวทางการปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้

การตัดสินใจอาจออกมาในรูปคำาแถลงการณ์ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำาพิพากษา

เป็นต้น

2. นโยบายสาธารณะมีความสำาคัญต่อผู้กำาหนดนโยบาย และเป็นเครื่องมือในการบริหาร

ประเทศทุกด้านให้มีเสถียรภาพมั่นคง หากสามารถนำานโยบายไปปฏิบัติจนประสบความ

สำาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3. บริบทของนโยบายสาธารณะ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน

ได้แก่ สภาพแวดล้อมของนโยบายสาธารณะ รัฐในฐานะผู้กำาหนดนโยบายสาธารณะ ผู้มี

สว่นรว่มในการกำาหนดนโยบายสาธารณะ และขัน้ตอนของการกำาหนดนโยบายสาธารณะ

วัตถุประสงค์เมื่อศึกษาตอนที่ 11.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายและวิเคราะห์ความหมายของนโยบายสาธารณะได้

2. อธิบายและวิเคราะห์ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะได้

3. อธิบายและวิเคราะห์บริบทของนโยบายสาธารณะได้

Page 10: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-10

เรื่องที่ 11.1.1 ความหมายของนโยบายสาธารณะ

สาระสังเขปเนือ่งจากนโยบายทางอาญา คอื นโยบายสาธารณะประเภทหนึง่ ซึง่เปน็นโยบายสาธารณะทีเ่กีย่วขอ้ง

กับทิศทางและแนวทางปฏิบัติงานราชการของประเทศในการอำานวยความยุติธรรมที่ส่งผลต่อการทำางานของ

กระบวนการยตุธิรรมโดยรวมและประชาชน อยา่งไรกต็าม นโยบายสาธารณะเกดิจากคำา 2 คำามารวมกนั ไดแ้ก ่

คำาว่า นโยบาย และสาธารณะ “นโยบาย” (policy) คือ แนวทางที่มีลักษณะเป็นคำาพูด ลายลักษณ์อักษร หรือ

เปน็นยัทีก่ำาหนดไวเ้พือ่บง่ชีท้ศิทาง และเงือ่นไขหรอืขอ้จำากดัของการกระทำาดา้นการบรหิารจดัการทีจ่ะชว่ยนำา

ไปสู่การบรรลุผลตามที่ต้องการ ส่วนคำาว่า “สาธารณะ” (public) คือ ประเด็นกิจการหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

กับการดำารงอยู่ร่วมกัน และมีความเกี่ยวพันกับคนจำานวนมากหรือมหาชน รวมทั้งอาจกระทบกระเทือน

ตอ่สทิธ ิเสรภีาพ และหนา้ทีข่องบคุคลซึง่จำาเปน็ตอ้งอาศยัอำานาจสว่นรวม หรอืรฐัเขา้มาเกีย่วขอ้งโดยทำาหนา้ที่

แทรกแซง จัดการ จัดระเบียบ หรือดำาเนินการให้เป็นการทั่วไป

นโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจขั้นต้นที่จะกำาหนดแนวทางกว้างๆ เพื่อนำาไปเป็นแนวทาง

การปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้ การตัดสินใจอาจออกมา

ในรูปคำาแถลงการณ์ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำาพิพากษา เป็นต้น

การให้ความหมายของนโยบายสาธารณะ อาจจัดกลุ่มแนวคิดของนักวิชาการออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

1. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง การกระทำาของรัฐ

2. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจของรัฐ

3. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางของรัฐ

4. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ของรัฐกับสังคม

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ นโยบายสาธารณะ แนวความคิดกระบวนการ และ

การวิเคราะห์ มยุรี อนุมานราชธน บทที่ 1)

กิจกรรม 11.1.1

ท่านเข้าใจความหมายของนโยบายสาธารณะอย่างไร โปรดอธิบาย

Page 11: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-11

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.1.1

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.1 กิจกรรม 11.1.1)

Page 12: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-12

เรื่องที่ 11.1.2 ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะ

สาระสังเขปนโยบายสาธารณะมีความสำาคัญทั้งต่อผู้กำาหนดนโยบายและในฐานะเป็นเครื่องมือในการบริหาร

ประเทศ ดังนี้

ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะต่อผู้กำาหนดนโยบาย รัฐบาลที่สามารถกำาหนดนโยบายให้

สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และสามารถนำานโยบายไปปฏิบัติจนประสบความสำาเร็จอย่างมี

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะได้รับความเชื่อถือและความนิยมจากประชาชน ส่งผลให้รัฐบาลดังกล่าวมี

โอกาสในการดำารงอำานาจในการบริหารประเทศได้ยาวนานยิ่งขึ้น

ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะในฐานะเป็นเครื่องมือในการบริหารประเทศ นโยบายสาธารณะ

เปน็เครือ่งมอืสำาคญัในการกำาหนดทศิทางการพฒันาประเทศ เปน็เครือ่งมอืของรฐับาลในการตอบสนองความ

ต้องการของประชาชน แก้ปัญหาที่สำาคัญของประชาชน จัดสรรค่านิยมของสังคม พัฒนาวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของประเทศ เจริญสัมพันธภาพ

ระหว่างประเทศ รักษาผลประโยชน์ของประเทศ ส่งเสริมการลงทุนและการจ้างงานในประเทศ ส่งเสริม

คุณธรรมและจริยธรรมของสังคม ขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนอย่างสมำ่าเสมอและทั่วถึง พัฒนา

ชุมชนเมือง อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มีเสถียรภาพมั่นคง

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ นโยบายสาธารณะ แนวความคิดกระบวนการ และ

การวิเคราะห์ มยุรี อนุมานราชธน บทที่ 1)

กิจกรรม 11.1.2

ท่านเข้าใจหลักการสำาคัญของนโยบายทางอาญาอย่างไร โปรดอธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.1.2

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.1 กิจกรรม 11.1.2)

Page 13: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-13

เรื่องที่ 11.1.3 บริบทของนโยบายสาธารณะ

สาระสังเขปบริบทของนโยบายสาธารณะ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน ดังนี้

1. สภาพแวดล้อมของนโยบายสาธารณะ ได้แก่

1.1 สภาพแวดล้อมภายในรัฐที่มีการกำาหนดนโยบาย เช่น วัฒนธรรมการเมือง สภาพ

แวดล้อมด้านเศรษฐกิจและสังคม

1.2 สภาพแวดล้อมภายนอกรัฐที่มีการกำาหนดนโยบาย เช่น กระแสโลกาภิวัตน์ อิทธิพลของ

ทุนนิยมเสรี

2. รัฐในฐานะผู้กำาหนดนโยบายสาธารณะ รวมถึงสถาบันที่ทำาหน้าที่แทนรัฐ ได้แก่

2.1 ฝ่ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วยรัฐสภา และสถาบันที่ทำาหน้าที่นิติบัญญัติอื่นๆ

2.2 ฝ่ายบริหาร ประกอบด้วยคณะรัฐมนตรี และหน่วยงานของรัฐทุกระดับ ทั้งในส่วนกลาง

ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ซึ่งทำาหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย และอาจออกกฎหมายบางประเภท

2.3 ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วยศาลระดับต่างๆ ที่ทำาหน้าที่ตีความตัวบทกฎหมายและ

รัฐธรรมนูญ รวมทั้งตัดสิน พิพากษาคดี

3. ผู้มีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายสาธารณะ นอกจากสถาบันหลักแล้ว ผู้มีส่วนร่วมในการ

กำาหนดนโยบายสาธารณะ ยังประกอบด้วย

3.1 กลุ่มผลประโยชน์ (interest group) เช่น สภาหอการค้า สมาคมทนายความ

3.2 ประชาชนทั่วไป (individual citizen) เช่น การออกเสียงลงคะแนนในการทำาประชามติ

(referendum)

4. ขั้นตอนของการกำาหนดนโยบายสาธารณะ ขั้นตอนการกำาหนดนโยบายทุกขั้นตอนมีบุคคลหรือ

กลุ่มต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้องโดยตลอด ซึ่งมีอิทธิพลทำาให้การกำาหนดนโยบายและการนำานโยบายไปปฏิบัติมี

การเปลี่ยนแปลงในลักษณะต่างๆ ควรแก่การศึกษาวิเคราะห์ และทำาความเข้าใจ

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ นโยบายสาธารณะ แนวความคิดกระบวนการ และ

การวิเคราะห์ มยุรี อนุมานราชธน บทที่ 2)

กิจกรรม 11.1.3

ท่านเข้าใจบริบทของนโยบายสาธารณะอย่างไร โปรดอธิบาย

Page 14: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-14

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.1.3

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.1 กิจกรรม 11.1.3)

Page 15: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-15

ตอนที่ 11.2

นโยบายทางอาญาในฐานะนโยบายสาธารณะ

โปรดอ่านแผนการสอนประจำาตอนที่ 11.2 แล้วจึงศึกษาสาระสังเขป พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง

หัวเรื่องเรื่องที่ 11.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายทางอาญา

เรื่องที่ 112.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

เรื่องที่ 11.2.3 การกำาหนดนโยบายทางอาญาในบริบทของกระบวนการยุติธรรมไทย

แนวคิด1. นโยบายทางอาญา คือ นโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับทิศทางและแนวทางปฏิบัติงาน

ราชการของประเทศในการอำานวยความยุติธรรมที่ส่งผลต่อการทำางานของกระบวนการ

ยุติธรรมโดยรวมและประชาชน ซึ่งออกมาในรูปคำาแถลงนโยบาย คำาแนะนำา ระเบียบ

ข้อบังคับ ฯลฯ

2. กระบวนการนโยบายทางอาญาในฐานะกระบวนการนโยบายสาธารณะ (public policy

process) ประกอบดว้ย ขัน้การกอ่ตวัของนโยบาย ขัน้กำาหนดนโยบาย ขัน้การนำานโยบาย

ไปปฏิบัติ และขั้นการประเมินผลนโยบาย

3. การกำาหนดนโยบายทางอาญาในบรบิทของกระบวนการยตุธิรรมไทย ควรศกึษาถงึสภาพ

ปัญหาของกระบวนการยุติธรรมไทยและข้อจำากัดที่ทำาให้ไม่สามารถกำาหนดนโยบาย

ทางอาญาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความพยายามในการสร้างกลไกและกระบวนการ

ในการกำาหนดนโยบายทางอาญา การจัดโครงสร้างกระทรวงยุติธรรมใหม่ และการจัดตั้ง

คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ

วัตถุประสงค์เมื่อศึกษาตอนที่ 11.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายและวิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายทางอาญาได้

2. อธิบายและวิเคราะห์กระบวนการนโยบายทางอาญาในฐานะกระบวนการนโยบาย

สาธารณะได้

3. อธิบายและวิเคราะห์การกำาหนดนโยบายทางอาญาในบริบทของกระบวนการยุติธรรม

ไทยได้

Page 16: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-16

เรื่องที่ 11.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายทางอาญา

สาระสังเขปนโยบายทางอาญา คือ นโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับทิศทางและแนวทางปฏิบัติงานราชการของ

ประเทศในการอำานวยความยุติธรรมที่ส่งผลต่อการทำางานของกระบวนการยุติธรรมโดยรวมและประชาชน

ซึ่งออกมาในรูปคำาแถลงนโยบาย คำาแนะนำา ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ กิจกรรมดังกล่าวครอบคลุมประเด็น

สำาคัญๆ 4 ประเด็น ดังนี้

1. กิจกรรมสาธารณะด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมด้านการอำานวยความยุติธรรม

2. กิจกรรมต้องเกี่ยวข้องกับกฎ ข้อบังคับ สำาหรับบุคคลและหน่วยงานในการปฏิบัติการต่างๆ

ในกระบวนการยุติธรรม

3. กิจกรรมต้องเกี่ยวข้องกับการควบคุมกระบวนการกำาหนดนโยบาย หรือการกระทำาทางการเมือง

อื่นๆ ทั้งในองค์กรและที่อาจส่งผลกระทบต่อสังคมหรือประชาชน

4. กิจกรรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ เรื่อง การประเมินผลนโยบายประธานศาลฎีกา โดย

ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย และคณะ บทที่ 2 และบทความเรื่อง “นโยบายประธานศาลฎีกา ผลการนำานโยบาย

ไปปฏิบัติ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา: ศึกษาภายหลังแยกศาลยุติธรรมจากกระทรวงยุติธรรม (พ.ศ. 2543-

2549)” โดย จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย หน้า 240–255)

กิจกรรม 11.2.1

ท่านเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายทางอาญากับนโยบายสาธารณะอย่างไร โปรดอธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.2.1

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.2 กิจกรรม 11.2.1)

Page 17: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-17

เรื่องที่ 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

สาระสังเขปเช่นเดียวกับกระบวนการนโยบายสาธารณะ (public policy process) กระบวนการนโยบายทาง

อาญาประกอบด้วย ขั้นการก่อตัวของนโยบาย ขั้นกำาหนดนโยบาย ขั้นการนำานโยบายไปปฏิบัติ และขั้นการ

ประเมินผลนโยบาย ดังนี้

ขั้นการก่อตัวของนโยบาย (public policy formation) เป็นขั้นตอนการค้นหาหรือระบุประเด็น

ปัญหาที่จะนำามากำาหนดนโยบาย ถือเป็นขั้นตอนแรกของวงจรของนโยบาย กระบวนการกำาหนดนโยบายจะ

มีศักยภาพมากน้อยเพียงใดหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับช่วงเวลาและวิธีการก่อตัวของประเด็นปัญหานโยบาย

ขัน้กำาหนดนโยบาย (public policy decision-making) กระบวนการกำาหนดนโยบายอาจเริม่ตน้ดว้ย

การพจิารณาประเดน็ปญัหาทีเ่ปน็ผลมาจากนโยบายทีไ่ดด้ำาเนนิการไปแลว้ แตย่งัไมส่ามารถจดัการแกไ้ขปญัหา

ได้สำาเร็จในระดับที่น่าพอใจ หรืออาจเริ่มต้นพิจารณาประเด็นปัญหาใหม่ที่ยังไม่มีการกำาหนดนโยบายใดๆ

มารองรับและกำาลังเป็นประเด็นปัญหาที่ได้รับความสนใจก็ได้

ขั้นการนำานโยบายไปปฏิบัติ (public policy implementation) หมายถึง การแปลงวัตถุประสงค์ที่

กำาหนดไว้ในนโยบาย ซึ่งอาจเป็นกฎหมายหรือคำาสั่งของรัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายรัฐบาลที่แถลง

ตอ่รฐัสภา ใหเ้ปน็แนวทาง/แผนงาน/โครงการ/กจิกรรมทีเ่ปน็รปูธรรมประกอบดว้ย การจดัหาทรพัยากรตา่งๆ

เพื่อดำาเนินการให้สำาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด การออกแบบองค์การและการดำาเนินงานให้เป็นไป

ตามแนวทางการดำาเนินงานโครงการที่กำาหนดไว้

ขั้นการประเมินผลนโยบาย (public policy evaluation) เป็นขั้นตอนที่สำาคัญขั้นตอนหนึ่งเพราะการ

ประเมินผลนโยบายจะบอกให้ทราบถึงระดับความสำาเร็จหรือล้มเหลวของการนำานโยบายไปปฏิบัติ และจะ

บอกให้ทราบว่ามีปัญหาอะไรบ้าง เกี่ยวกับเป้าประสงค์ (goals) หรือวัตถุประสงค์ (objectives) ของนโยบาย

ตลอดจนทรัพยากร (input) กระบวนการ (process) หน่วยงานที่รับผิดชอบ (organization) ผลผลิต

(outputs) ผลลัพธ์ (outcomes) ผลกระทบ (impacts) และสิ่งแวดล้อม (environment) ที่เกี่ยวข้องกับ

นโยบายซึ่งเป็นเครื่องมือสำาคัญของผู้ตัดสินใจนโยบาย (policy-decision makers) ว่าจะดำาเนินนโยบายนั้น

ต่อไป หรือต้องทำาการปรับปรุงนโยบายเสียใหม่ หรือจะต้องยกเลิกนโยบายในที่สุด

ทั้งนี้ มีคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ

พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549 เป็นผู้มีส่วนสำาคัญในกระบวนการนโยบาย ซึ่งหน่วยงาน

ในกระบวนการยุติธรรมนำานโยบายทางอาญาไปปฏิบัติผ่านทางแผนแม่บทกระบวนการยุติธรรม และแผน

ยุทธศาสตร์ของแต่ละหน่วยงานเป็นสำาคัญ

Page 18: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-18

(โปรดอา่นเนือ้หาสาระโดยละเอยีดใน 1) หนงัสอื นโยบายสาธารณะ แนวความคดิกระบวนการ และ

การวิเคราะห์ โดย มยุรี อนุมานราชธน ส่วนที่ 2–3 2) แผนแม่บทกระบวนการยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1

(พ.ศ. 2547–2549) ของกระทรวงยุติธรรม 3) แผนแม่บทกระบวนการยุติธรรมแห่งชาติ (พ.ศ. 2550–2551)

ของกระทรวงยุติธรรม และ 4) พระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549)

กิจกรรม 11.2.2

ท่านเข้าใจกระบวนการนโยบายทางอาญาอย่างไร โปรดอธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.2.2

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.2 กิจกรรม 11.2.2)

Page 19: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-19

เรื่องที่ 11.2.3 การกำาหนดนโยบายทางอาญาในบริบทของ

กระบวนการยุติธรรมไทย

สาระสังเขป สภาพปญัหาของกระบวนการยตุธิรรมไทยและขอ้จำากดัทีท่ำาใหไ้มส่ามารถกำาหนดนโยบายทางอาญา

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความพยายามในการสร้างกลไกและกระบวนการในการกำาหนดนโยบายทางอาญา

การจัดโครงสร้างกระทรวงยุติธรรมใหม่ และการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาต ิ

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ ทิศทางกระบวนการยุติธรรมไทยในศตวรรษใหม่

โดย กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ หน้า 89-103 และหนังสือ ยุทธศาสตร์การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

ของไทย โดย กิตติพงษ์ กิตยารักษ์)

กิจกรรม 11.2.3

ท่านเข้าใจการกำาหนดนโยบายทางอาญาในบริบทของกระบวนการยุติธรรมไทยอย่างไร โปรด

อธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.2.3

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.2 กิจกรรม 11.2.3)

Page 20: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-20

ตอนที่ 11.3

กรณีศึกษา: การกำาหนดนโยบายทางอาญาในประเทศไทย

โปรดอ่านแผนการสอนประจำาตอนที่ 11.3 แล้วจึงศึกษาสาระสังเขป พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเรื่อง

หัวเรื่องเรื่องที่ 11.3.1 นโยบายการแก้ปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการ

เรื่องที่ 11.3.2 นโยบายเก่ียวกับกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์

เรื่องที่ 11.3.3 นโยบายการนำาหลักยุติธรรมชุมชนมาใช้ในประเทศไทย

เรื่องที่ 11.3.4 นโยบายการพัฒนาระบบงานตำารวจ

เรื่องที่ 11.3.5 นโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม

แนวคิด1. การแก้ปัญหายาเสพติดโดยใช้นโยบายแบบบูรณาการ ทั้งการลดอุปทาน (supply) และ

อุปสงค์ (demand) ของยาเสพติด การป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงไปติดยาเสพติดเพิ่ม

เติม โดยเฉพาะความพยายามในการนำาเอานโยบาย “ผู้เสพเป็นผู้ป่วย” มาใช้โดยผ่าน

พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติด พ.ศ. 2545

2. นโยบายในการนำากระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในคดีอาญาในขั้นตอนต่างๆ ของ

กระบวนการยตุธิรรม ตัง้แตใ่นขัน้กอ่นเขา้สูก่ระบวนการยตุธิรรม ขัน้ตำารวจ อยัการ และ

ศาล ศึกษาถึงหลักเรื่องความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และการนำาแนวทางดังกล่าวมาใช้

จริงในลักษณะความผิดประเภทต่างๆ และในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการยุติธรรม

ความพยายามในการนำาเสนอกฎหมายการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในชั้นสอบสวน การชะลอ

การฟ้อง และการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในชั้นศาล

3. การนำาแนวคิดเรื่องยุติธรรมชุมชนมาใช้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพของกระบวนการ

ยุติธรรมของไทย โดยศึกษาถึงความหมายของยุติธรรมชุมชนในบริบทของกระบวนการ

ยตุธิรรมของไทย โดยเนน้ถงึการดำาเนนิงานในโครงการนำารอ่งของกระทรวงยตุธิรรมและ

บทเรียนที่ได้รับจากโครงการนี้ รวมทั้งศึกษาถึงปัญหาอุปสรรคของความพยายามที่จะ

ทำาให้นโยบายเรื่องยุติธรรมชุมชนเป็นนโยบายระดับชาติที่นำามาสู่การปรับกระบวนทัศน์

และวิธีการในการทำางานของกระบวนการยุติธรรมไทย

Page 21: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-21

4. คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจได้นำาเสนอการปฏิรูประบบงานตำารวจ โดย

ทำาความเข้าใจถึงสภาพปัญหาของระบบงานตำารวจและข้อเสนอแนะ 10 ประการของ

คณะกรรมการในการพัฒนาระบบงานตำารวจ รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบความพยายาม

ปฏิรูปตำารวจของต่างประเทศ และปัญหาอุปสรรคของความพยายามในการที่จะปฏิรูป

หน่วยงานตำารวจรวมทั้งหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมของไทย

5. นโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม มีลักษณะเป็น

องค์กรอิสระ โดยมีประธานศาลฎีกาเป็นประมุขตุลาการและผู้บริหารสูงสุดขององค์กร

ที่มีอำานาจหน้าที่และความรับผิดชอบต่อประชาชนในการบริหารจัดการองค์กรศาล

ยุติธรรมให้ขับเคลื่อนระบบการอำานวยความยุติธรรมของสังคมไทยไปพร้อมๆ กับการ

พัฒนาระบบและกลไกอื่นๆ ของประเทศ ศึกษากระบวนการนโยบาย การนำานโยบาย

ไปปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบายประธานศาลฎีกา

วัตถุประสงค์เมื่อศึกษาตอนที่ 11.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายและวิเคราะห์ความพยายามในการแก้ปัญหายาเสพติดโดยใช้นโยบายแบบ

บูรณาการได้

2. อธิบายและวิเคราะห์นโยบายในการนำากระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในคดีอาญา

ในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการยุติธรรมได้

3. อธิบายและวิเคราะห์ความพยายามในการนำาแนวคิดเรื่องยุติธรรมชุมชนมาใช้เพื่อ

เสริมสร้างประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรมของไทยได้

4. อธิบายและวิเคราะห์ความพยายามของคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจในการ

นำาเสนอการปฏิรูประบบงานตำารวจได้

5. อธิบายและวิเคราะห์นโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวง

ยุติธรรมได้

Page 22: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-22

เรื่องที่ 11.3.1 นโยบายการแก้ปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการ

สาระสังเขปการแก้ปัญหายาเสพติดโดยใช้นโยบายแบบบูรณาการ ทั้งการลดอุปทาน (supply) และอุปสงค์

(demand) ของยาเสพติด การป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงไปติดยาเสพติดเพิ่มเติม โดยเฉพาะความพยายาม

ในการนำาเอานโยบาย “ผู้เสพเป็นผู้ป่วย” มาใช้โดยผ่านพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติด

พ.ศ. 2545 ซึ่งถือว่าเป็นการนำาเอากระบวนการยุติธรรมทางเลือกในทางอาญาที่มีลักษณะเป็นการเบี่ยงคดี

(diversion) มาใช้เป็นครั้งแรก

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน บทความ การคุมประพฤติในประเทศไทย: สามสิบปีแห่ง

การ “คืนคนดีสู่สังคม” ใน คุมประพฤติ 30 ปี โดย กิตติพงษ์ กิตยารักษ์)

กิจกรรม 11.3.1

ท่านเข้าใจความพยายามในการแก้ปัญหายาเสพติดโดยใช้นโยบายแบบบูรณาการอย่างไร

โปรดอธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.3.1

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.3 กิจกรรม 11.3.1)

Page 23: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-23

เรื่องที่ 11.3.2 นโยบายเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและ

ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์

สาระสังเขปนโยบายในการนำากระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในคดีอาญาในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการ

ยุติธรรม ตั้งแต่ในขั้นก่อนเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ขั้นตำารวจ อัยการ และศาล ศึกษาถึงหลักเรื่อง

ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และการนำาแนวทางดังกล่าวมาใช้จริงในลักษณะความผิดประเภทต่างๆ และ

ในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการยุติธรรม ความพยายามในการนำาเสนอกฎหมายการไกล่เกลี่ยคดีอาญา

ในชั้นสอบสวน การชะลอการฟ้อง และการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในชั้นศาล โดยในการศึกษาจะเน้นให้เห็นถึง

ความแตกตา่งในแนวคดิซึง่มทีีม่าจากหลกั Legality Principle และ Opportunity Principle ประเดน็ความ

แตกตา่งเชงินโยบายระหวา่งหนว่ยงานในกระบวนการยตุธิรรมทีม่ตีอ่แนวคดิและวธิกีารเกีย่วกบักระบวนการ

ยุติธรรมทางเลือก โดยเฉพาะในการผลักดันกฎหมายเรื่องชะลอการฟ้อง ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาและอุปสรรค

ในการกำาหนดนโยบายในทางอาญาเกี่ยวกับเรื่องนี้ และแนวทางภายหลังจากที่แนวคิดเรื่องความยุติธรรม

เชิงสมานฉันท์เริ่มได้รับการยอมรับและโอกาสใหม่ในการผลักดันนโยบายกระบวนการยุติธรรมทางเลือก

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน “ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์: หลักการและแนวคิด”

หนงัสอื กระบวนการยตุธิรรมเชงิสมานฉนัท:์ ทางเลอืกใหมส่ำาหรบักระบวนการยตุธิรรมไทย โดย กติตพิงษ ์

กิตยารักษ์ หน้า 5-19 และ “อัยการกับกระบวนการยุติธรรม” ใน กระบวนการยุติธรรมบนเส้นทางแห่ง

การเปลี่ยนแปลง โดย กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ หน้า 147–155 และรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การพัฒนากรอบ

แนวทางการวิจัยชุดโครงการกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคมไทย โดย ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย และ

คณะ บทที่ 2 และบทที่ 4)

กิจกรรม 11.3.2

ท่านเข้าใจนโยบายในการนำากระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในคดีอาญาในขั้นตอนต่างๆ

ของกระบวนการยุติธรรมอย่างไร โปรดอธิบาย

Page 24: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-24

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.3.2

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.3 กิจกรรม 11.3.2)

Page 25: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-25

เรือ่งที ่11.3.3 นโยบายการนำาหลกัยตุธิรรมชมุชนมาใชใ้นประเทศไทย

สาระสังเขปความพยายามในการนำาแนวคิดเรื่องยุติธรรมชุมชนมาใช้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพของ

กระบวนการยตุธิรรมของไทย โดยศกึษาถงึความหมายของยตุธิรรมชมุชนในบรบิทของกระบวนการยตุธิรรม

ของไทย โดยเนน้ถงึการดำาเนนิงานในโครงการนำารอ่งของกระทรวงยตุธิรรมและบทเรยีนทีไ่ดร้บัจากโครงการ

นี้ รวมทั้งศึกษาถึงปัญหาอุปสรรคของความพยายามที่จะทำาให้นโยบายเรื่องยุติธรรมชุมชนเป็นนโยบาย

ระดับชาติที่นำามาสู่การปรับกระบวนทัศน์และวิธีการในการทำางานของกระบวนการยุติธรรมไทย

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ ค้นเส้นทาง สร้างความรู้ ก้าวสู่ยุติธรรมชุมชน

กรมคมุประพฤต ิกระทรวงยตุธิรรม หนงัสอื ยตุธิรรมชมุชน: การเปดิพืน้ทีก่ารมสีว่นรว่มของชมุชนในการ

อำานวยความยุติธรรม โดย ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย บทที่ 2 7 และ 8 หนังสือ “การพัฒนาระบบยุติธรรม

ชุมชนในสังคมไทย” ใน ยุติธรรมชุมชน: บทบาทการอำานวยความยุติธรรมโดยชุมชนเพื่อชุมชน โดย

กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ หน้า 20–52 และ “ข้อเสนอต่อการดำาเนินโครงการพัฒนาระบบงานยุติธรรมชุมชน

ระดบัจงัหวดั” ใน ยตุธิรรมชมุชน: บทบาทการอำานวยความยตุธิรรมโดยชมุชนเพือ่ชมุชน โดย ดร.เนาวรตัน ์

พลายน้อย หน้า 287–314)

กิจกรรม 11.3.3

ท่านเข้าใจความพยายามในการนำาแนวคิดเรื่องยุติธรรมชุมชนมาใช้เพื่อเสริมสร้าง

ประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรมของไทยอย่างไร โปรดอธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.3.3

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.3 กิจกรรม 11.3.3)

Page 26: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-26

เรื่องที่ 11.3.4 นโยบายการพัฒนาระบบงานตำารวจ

สาระสังเขปคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจได้นำาเสนอการปฏิรูประบบงานตำารวจ โดยทำาความเข้าใจถึง

สภาพปัญหาของระบบงานตำารวจและข้อเสนอแนะ 10 ประการของคณะกรรมการในการพัฒนาระบบงาน

ตำารวจ รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบความพยายามปฏิรูปตำารวจของต่างประเทศ และปัญหาอุปสรรคของความ

พยายามในการที่จะปฏิรูปหน่วยงานตำารวจรวมทั้งหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมของไทย

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ รายงานฉบับสมบูรณ์การพัฒนาระบบงานตำารวจ

และยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบงานตำารวจ โดย คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจกรุงเทพมหานคร

หนังสือข้อเสนอเบื้องต้นในการพัฒนาระบบงานตำารวจ คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจ ร่าง

พระราชบัญญัติตำารวจแห่งชาติ พ.ศ. ....... ที่ผ่านการเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม

2550 และร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์เกี่ยวกับตำารวจ พ.ศ. ...... ที่ผ่านการ

เห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2550)

กิจกรรม 11.3.4

ท่านเข้าศึกษาถึงความพยายามของคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจในการนำาเสนอการ

ปฏิรูประบบงานตำารวจอย่างไร โปรดอธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.3.4

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.3 กิจกรรม 11.3.4)

Page 27: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-27

เรื่องที่ 11.3.5 นโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจาก

กระทรวงยุติธรรม

สาระสังเขปนโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม มีลักษณะเป็นองค์กรอิสระ

โดยมปีระธานศาลฎกีาเปน็ประมขุตลุาการและผูบ้รหิารสงูสดุขององคก์รทีม่อีำานาจหนา้ทีแ่ละความรบัผดิชอบ

ต่อประชาชนในการบริหารจัดการองค์กรศาลยุติธรรมให้ขับเคลื่อนระบบการอำานวยความยุติธรรมของสังคม

ไทยไปพร้อมๆ กับการพัฒนาระบบและกลไกอื่นๆ ของประเทศ ศึกษากระบวนการนโยบาย การนำานโยบาย

ไปปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบายประธานศาลฎีกา ซึ่งนโยบายประธานศาลฎีกามีสถานภาพเป็นนโยบาย

สาธารณะทีม่ผีลกระทบตอ่การปฏบิตังิานขององคก์รศาลยตุธิรรม กระบวนการยตุธิรรม และทกุภาคสว่นของ

สังคมไปพร้อมๆ กัน และศึกษาอำานาจฝ่ายตุลาการกับกระบวนการนโยบายสาธารณะของประเทศ ตลอดจน

ผลการประเมินนโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดใน หนังสือ การประเมินผลนโยบายประธานศาลฎีกา โดย

ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย บทที่ 4 และบทที่ 9 และบทความ “นโยบายประธานศาลฎีกา ผลการนำานโยบาย

ไปปฏิบัติ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา: ศึกษาภายหลังแยกศาลยุติธรรมจากกระทรวงยุติธรรม (พ.ศ. 2543-

2549)” ใน การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 9 (พ.ศ. 2551) โดย

ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำานวย หน้า 240–255)

กิจกรรม 11.3.5

ท่านเข้าใจนโยบายประธานศาลฎีกาห้าสมัยภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม

อย่างไร โปรดอธิบาย

บันทึกคำาตอบกิจกรรม 11.3.5

(โปรดตรวจคำาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 11 ตอนที่ 11.3 กิจกรรม 11.3.5)

Page 28: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-28

แนวตอบกิจกรรมหน่วยที่ 11

นโยบายทางอาญา

ตอนที่ 11.1 แนวคิด และความสำาคัญของนโยบายสาธารณะ

แนวตอบกิจกรรม 11.1.1

นโยบายสาธารณะเกิดจากคำา 2 คำามารวมกัน ได้แก่ คำาว่า นโยบาย และสาธารณะ “นโยบาย”

(policy) คือ แนวทางที่มีลักษณะเป็นคำาพูด ลายลักษณ์อักษร หรือเป็นนัยที่กำาหนดไว้เพื่อบ่งชี้ทิศทาง และ

เงื่อนไขหรือข้อจำากัดของการกระทำาด้านการบริหารจัดการที่จะช่วยนำาไปสู่การบรรลุผลตามที่ต้องการ ส่วน

คำาว่า “สาธารณะ” (public) คือ ประเด็นกิจการหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำารงอยู่ร่วมกัน และมีความ

เกี่ยวพันกับคนจำานวนมากหรือมหาชน รวมทั้งอาจกระทบกระเทือนต่อสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของบุคคล

ซึ่งจำาเป็นต้องอาศัยอำานาจส่วนรวม หรือรัฐเข้ามาเกี่ยวข้องโดยทำาหน้าที่แทรกแซง จัดการ จัดระเบียบ หรือ

ดำาเนินการให้เป็นการทั่วไป

นโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจขั้นต้นที่จะกำาหนดแนวทางกว้างๆ เพื่อนำาไปเป็นแนวทาง

การปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้ การตัดสินใจอาจออกมาใน

รูปคำาแถลงการณ์ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำาพิพากษา เป็นต้น

การให้ความหมายของนโยบายสาธารณะ อาจจัดกลุ่มแนวคิดของนักวิชาการออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

1. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง การกระทำาของรัฐ

2. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจของรัฐ

3. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางของรัฐ

4. กลุ่มที่อธิบายว่า ความหมายของนโยบายสาธารณะ หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ของรัฐกับสังคม

แนวตอบกิจกรรม 11.1.2

นโยบายสาธารณะมีความสำาคัญทั้งต่อผู้กำาหนดนโยบายและในฐานะเป็นเครื่องมือในการบริหาร

ประเทศ ดังนี้

ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะต่อผู้กำาหนดนโยบาย รัฐบาลที่สามารถกำาหนดนโยบายให้

สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและสามารถนำานโยบายไปปฏิบัติจนประสบความสำาเร็จอย่างมี

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะได้รับความเชื่อถือและความนิยมจากประชาชน ส่งผลให้รัฐบาลดังกล่าว

มีโอกาสในการดำารงอำานาจในการบริหารประเทศได้ยาวนานยิ่งขึ้น

Page 29: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-29

ความสำาคัญของนโยบายสาธารณะในฐานะเป็นเครื่องมือในการบริหารประเทศ นโยบายสาธารณะ

เปน็เครือ่งมอืสำาคญัในการกำาหนดทศิทางการพฒันาประเทศ เปน็เครือ่งมอืของรฐับาลในการตอบสนองความ

ต้องการของประชาชน แก้ปัญหาที่สำาคัญของประชาชน จัดสรรค่านิยมของสังคม พัฒนาวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของประเทศ เจริญสัมพันธภาพ

ระหว่างประเทศ รักษาผลประโยชน์ของประเทศ ส่งเสริมการลงทุนและการจ้างงานในประเทศ ส่งเสริม

คุณธรรมและจริยธรรมของสังคม ขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนอย่างสมำ่าเสมอและทั่วถึง พัฒนา

ชุมชนเมือง อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มีเสถียรภาพมั่นคง

แนวตอบกิจกรรม 11.1.3

บริบทของนโยบายสาธารณะ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน ดังนี้

1. สภาพแวดล้อมของนโยบายสาธารณะ ได้แก่

1.1 สภาพแวดล้อมภายในรัฐที่มีการกำาหนดนโยบาย เช่น วัฒนธรรมการเมือง สภาพ

แวดล้อมด้านเศรษฐกิจและสังคม

1.2 สภาพแวดล้อมภายนอกรัฐที่มีการกำาหนดนโยบาย เช่น กระแสโลกาภิวัตน์ อิทธิพลของ

ทุนนิยมเสรี

2. รัฐในฐานะผู้กำาหนดนโยบายสาธารณะ รวมถึงสถาบันที่ทำาหน้าที่แทนรัฐ ได้แก่

2.1 ฝ่ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วยรัฐสภา และสถาบันที่ทำาหน้าที่นิติบัญญัติอื่นๆ

2.2 ฝ่ายบริหาร ประกอบด้วย คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานของรัฐทุกระดับ ทั้งในส่วนกลาง

ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ซึ่งทำาหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย และอาจออกกฎหมายบางประเภท

2.3 ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วยศาลระดับต่างๆ ที่ทำาหน้าที่ตีความตัวบทกฎหมายและ

รัฐธรรมนูญ รวมทั้งตัดสิน พิพากษาคดี

3. ผู้มีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายสาธารณะ นอกจากสถาบันหลักแล้ว ผู้มีส่วนร่วมในการ

กำาหนดนโยบายสาธารณะ ยังประกอบด้วย

3.1 กลุ่มผลประโยชน์ (interest group) เช่น สภาหอการค้า สมาคมทนายความ

3.2 ประชาชนทั่วไป (individual citizen) เช่น การออกเสียงลงคะแนนในการทำาประชามติ

(referendum)

4. ขั้นตอนของการกำาหนดนโยบายสาธารณะ ขั้นตอนการกำาหนดนโยบายทุกขั้นตอนมีบุคคลหรือ

กลุ่มต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้องโดยตลอด ซึ่งมีอิทธิพลทำาให้การกำาหนดนโยบายและการนำานโยบายไปปฏิบัติมี

การเปลี่ยนแปลงในลักษณะต่างๆ ควรแก่การศึกษาวิเคราะห์ และทำาความเข้าใจ

Page 30: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-30

ตอนที่ 11.2 นโยบายทางอาญาในฐานะนโยบายสาธารณะ

แนวตอบกิจกรรม 11.2.1

นโยบายทางอาญา คือ นโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับทิศทางและแนวทางปฏิบัติงานราชการของ

ประเทศในการอำานวยความยุติธรรมที่ส่งผลต่อการทำางานของกระบวนการยุติธรรมโดยรวมและประชาชน

ซึ่งออกมาในรูปคำาแถลงนโยบาย คำาแนะนำา ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ กิจกรรมดังกล่าวครอบคลุมประเด็น

สำาคัญๆ 4 ประเด็น ดังนี้

1. กิจกรรมสาธารณะด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมด้านการอำานวยความยุติธรรม

2. กิจกรรมต้องเกี่ยวข้องกับกฎ ข้อบังคับ สำาหรับบุคคลและหน่วยงานในการปฏิบัติการต่างๆ ใน

กระบวนการยุติธรรม

3. กิจกรรมต้องเกี่ยวข้องกับการควบคุมกระบวนการกำาหนดนโยบาย หรือการกระทำาทางการเมือง

อื่นๆ ทั้งในองค์กรและที่อาจส่งผลกระทบต่อสังคมหรือประชาชน

4. กิจกรรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน

แนวตอบกิจกรรม 11.2.2

เช่นเดียวกับกระบวนการนโยบายสาธารณะ (public policy process) กระบวนการนโยบายทาง

อาญาประกอบด้วย ขั้นการก่อตัวของนโยบาย ขั้นกำาหนดนโยบาย ขั้นการนำานโยบายไปปฏิบัติ และขั้นการ

ประเมินผลนโยบาย ดังนี้

ขั้นการก่อตัวของนโยบาย (public policy formation) เป็นขั้นตอนการค้นหาหรือระบุประเด็น

ปัญหาที่จะนำามากำาหนดนโยบาย ถือเป็นขั้นตอนแรกของวงจรของนโยบาย กระบวนการกำาหนดนโยบายจะ

มีศักยภาพมากน้อยเพียงใดหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับช่วงเวลาและวิธีการก่อตัวของประเด็นปัญหานโยบาย

ขั้นกำาหนดนโยบาย (public policy decision-making) กระบวนการกำาหนดนโยบายอาจเริ่มต้น

ด้วยการพิจารณาประเด็นปัญหาที่เป็นผลมาจากนโยบายที่ได้ดำาเนินการไปแล้ว แต่ยังไม่สามารถจัดการ

แก้ไขปัญหาได้สำาเร็จในระดับที่น่าพอใจ หรืออาจเริ่มต้นพิจารณาประเด็นปัญหาใหม่ที่ยังไม่มีการกำาหนด

นโยบายใดๆ มารองรับและกำาลังเป็นประเด็นปัญหาที่ได้รับความสนใจก็ได้

ขั้นการนำานโยบายไปปฏิบัติ (public policy implementation) หมายถึง การแปลงวัตถุประสงค์ที่

กำาหนดไว้ในนโยบาย ซึ่งอาจเป็นกฎหมายหรือคำาสั่งของรัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายรัฐบาลที่แถลง

ตอ่รฐัสภา ใหเ้ปน็แนวทาง/แผนงาน/โครงการ กจิกรรมทีเ่ปน็รปูธรรมประกอบดว้ย การจดัหาทรพัยากรตา่งๆ

เพื่อดำาเนินการให้สำาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด การออกแบบองค์การและการดำาเนินงานให้เป็นไป

ตามแนวทางการดำาเนินงานโครงการที่กำาหนดไว้

ขั้นการประเมินผลนโยบาย (public policy evaluation) เป็นขั้นตอนที่สำาคัญขั้นตอนหนึ่งเพราะ

การประเมินผลนโยบายจะบอกให้ทราบถึงระดับความสำาเร็จ หรือล้มเหลวของการนำานโยบายไปปฏิบัติ และ

จะบอกให้ทราบว่ามีปัญหาอะไรบ้าง เกี่ยวกับเป้าประสงค์ (goals) หรือวัตถุประสงค์ (objectives) ของ

Page 31: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-31

นโยบาย ตลอดจนทรัพยากร (input) กระบวนการ (process) หน่วยงานที่รับผิดชอบ (organization)

ผลผลิต (outputs) ผลลัพธ์ (outcomes) ผลกระทบ (impacts) และสิ่งแวดล้อม (environment) ที่

เกีย่วขอ้งกบันโยบาย ซึง่เปน็เครือ่งมอืสำาคญัของผูต้ดัสนิใจนโยบาย (policy-decision makers) วา่จะดำาเนนิ

นโยบายนั้นต่อไป หรือต้องทำาการปรับปรุงนโยบายเสียใหม่ หรือจะต้องยกเลิกนโยบายในที่สุด

ทั้งนี้ มีคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ

พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549 เป็นผู้มีส่วนสำาคัญในกระบวนการนโยบาย ซึ่งหน่วยงาน

ในกระบวนการยุติธรรมนำานโยบายทางอาญาไปปฏิบัติผ่านทางแผนแม่บทกระบวนการยุติธรรม และแผน

ยุทธศาสตร์ของแต่ละหน่วยงานเป็นสำาคัญ

แนวตอบกิจกรรม 11.2.3

สภาพปญัหาของกระบวนการยตุธิรรมไทยและขอ้จำากดัทีท่ำาใหไ้มส่ามารถกำาหนดนโยบายทางอาญา

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความพยายามในการสร้างกลไกและกระบวนการในการกำาหนดนโยบายทางอาญา

การจัดโครงสร้างกระทรวงยุติธรรมใหม่ และการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาต ิ

ตอนที่ 11.3 กรณีศึกษากระบวนการนโยบายทางอาญาในประเทศไทย

แนวตอบกิจกรรม 11.3.1

การแก้ปัญหายาเสพติดโดยใช้นโยบายแบบบูรณาการ ทั้งการลดอุปทาน (supply) และอุปสงค์

(demand) ของยาเสพติด การป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงไปติดยาเสพติดเพิ่มเติม โดยเฉพาะความพยายาม

ในการนำาเอานโยบาย “ผู้เสพเป็นผู้ป่วย” มาใช้โดยผ่านพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติด

พ.ศ. 2545 ซึ่งถือว่าเป็นการนำาเอากระบวนการยุติธรรมทางเลือกในทางอาญาที่มีลักษณะเป็นการเบี่ยงคดี

(diversion) มาใช้เป็นครั้งแรก

แนวตอบกิจกรรม 11.3.2

นโยบายในการนำากระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในคดีอาญาในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการ

ยุติธรรม ตั้งแต่ในขั้นก่อนเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ขั้นตำารวจ อัยการ และศาล ศึกษาถึงหลักเรื่อง

ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และการนำาแนวทางดังกล่าวมาใช้จริงในลักษณะความผิดประเภทต่างๆ และ

ในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการยุติธรรม ความพยายามในการนำาเสนอกฎหมายการไกล่เกลี่ยคดีอาญา

ในชั้นสอบสวน การชะลอการฟ้อง และการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในชั้นศาล โดยในการศึกษาจะเน้นให้เห็นถึง

ความแตกตา่งในแนวคดิซึง่มทีีม่าจากหลกั Legality Principle และ Opportunity Principle ประเดน็ความ

แตกตา่งเชงินโยบายระหวา่งหนว่ยงานในกระบวนการยตุธิรรมทีม่ตีอ่แนวคดิและวธิกีารเกีย่วกบักระบวนการ

ยุติธรรมทางเลือก โดยเฉพาะในการผลักดันกฎหมายเรื่องชะลอการฟ้อง ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาและอุปสรรค

Page 32: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-32

ในการกำาหนดนโยบายในทางอาญาเกี่ยวกับเรื่องนี้ และแนวทางภายหลังจากที่แนวคิดเรื่องความยุติธรรม

เชิงสมานฉันท์เริ่มได้รับการยอมรับและโอกาสใหม่ในการผลักดันนโยบายกระบวนการยุติธรรมทางเลือก

แนวตอบกิจกรรม 11.3.3

การนำาแนวคิดเรื่องยุติธรรมชุมชนมาใช้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรมของ

ไทย โดยศึกษาถึงความหมายของยุติธรรมชุมชนในบริบทของกระบวนการยุติธรรมของไทย โดยเน้นถึง

การดำาเนินงานในโครงการนำาร่องของกระทรวงยุติธรรมและบทเรียนที่ได้รับจากโครงการนี้ รวมทั้งศึกษาถึง

ปัญหาอุปสรรคของความพยายามที่จะทำาให้นโยบายเรื่องยุติธรรมชุมชนเป็นนโยบายระดับชาติที่นำามาสู่การ

ปรับกระบวนทัศน์และวิธีการในการทำางานของกระบวนการยุติธรรมไทย

แนวตอบกิจกรรม 11.3.4

คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจได้นำาเสนอการปฏิรูประบบงานตำารวจ โดยทำาความเข้าใจถึง

สภาพปัญหาของระบบงานตำารวจและข้อเสนอแนะ 10 ประการของคณะกรรมการในการพัฒนาระบบงาน

ตำารวจ รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบความพยายามปฏิรูปตำารวจของต่างประเทศ และปัญหาอุปสรรคของความ

พยายามในการที่จะปฏิรูปหน่วยงานตำารวจ รวมทั้งหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมของไทย

แนวตอบกิจกรรม 11.3.5

นโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม มีลักษณะเป็นองค์กรอิสระ

โดยมีประธานศาลฎีกาเป็นประมุขตุลาการและผู้บริหารสูงสุดขององค์กรที่มีอำานาจหน้าที่และความรับผิด

ชอบต่อประชาชนในการบริหารจัดการองค์กรศาลยุติธรรมให้ขับเคลื่อนระบบการอำานวยความยุติธรรมของ

สังคมไทยไปพร้อมๆ กับการพัฒนาระบบและกลไกอื่นๆ ของประเทศ ศึกษากระบวนการนโยบาย การนำา

นโยบายไปปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบายประธานศาลฎีกา ซึ่งนโยบายประธานศาลฎีกามีสถานภาพ

เป็นนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานขององค์กรศาลยุติธรรม กระบวนการยุติธรรม และ

ทุกภาคส่วนของสังคมไปพร้อมๆ กัน และศึกษาอำานาจฝ่ายตุลาการกับกระบวนการนโยบายสาธารณะของ

ประเทศ ตลอดจนผลการประเมินนโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออกจากกระทรวงยุติธรรม

Page 33: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-33

แบบประเมินผลตนเองหลังเรียน

วัตถุประสงค ์ เพื่อประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “นโยบายทางอาญา”

คำาแนะนำา อ่านคำาถามต่อไปนี้ แล้วเขียนคำาตอบลงในช่องว่างที่กำาหนดให้ นักศึกษามีเวลาทำาแบบ

ประเมินผลตนเองชุดนี้ 30 นาที

1. จงอธิบายความหมาย ความสำาคัญ และองค์ประกอบของนโยบายทางอาญา

2. จงอธิบายลักษณะของนโยบายทางอาญากับนโยบายสาธารณะ

3. จงยกตัวอย่างกรณีศึกษานโยบายทางอาญาในประเทศไทยที่น่าสนใจ

Page 34: หน่วยที่ นโยบายทางอาญาlaw.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41716-11.pdf · 11.2.2 กระบวนการนโยบายทางอาญา

11-34

เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 11

ก่อนเรียนและหลังเรียน1. นโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจขั้นต้นที่จะกำาหนดแนวทางกว้างๆ เพื่อนำาไปเป็น

แนวทางการปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้ การตัดสินใจอาจออก

มาในรูปคำาแถลงการณ์ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำาพิพากษา เป็นต้น นโยบายสาธารณะมีความสำาคัญ

ต่อผู้กำาหนดนโยบาย และเป็นเครื่องมือในการบริหารประเทศทุกด้านให้มีเสถียรภาพมั่นคง หากสามารถนำา

นโยบายไปปฏิบัติจนประสบความสำาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริบทของนโยบายสาธารณะ

ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน คือ สภาพแวดล้อมของนโยบายสาธารณะ รัฐในฐานะ

ผู้กำาหนดนโยบายสาธารณะ ผู้มีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายสาธารณะ และขั้นตอนของการกำาหนด

นโยบายสาธารณะ

2. นโยบายทางอาญา คอื นโยบายสาธารณะทีเ่กีย่วขอ้งกบัทศิทางและแนวทางปฏบิตังิานราชการของ

ประเทศในการอำานวยความยตุธิรรมทีส่ง่ผลตอ่การทำางานของกระบวนการยตุธิรรมโดยรวมและประชาชน ซึง่

ออกมาในรปูคำาแถลงนโยบาย คำาแนะนำา ระเบยีบ ขอ้บงัคบั ฯลฯ กระบวนการนโยบายทางอาญาประกอบดว้ย

ขั้นการก่อตัวของนโยบาย ขั้นกำาหนดนโยบาย ขั้นการนำานโยบายไปปฏิบัติ และขั้นการประเมินผลนโยบาย

โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการนโยบายทางอาญา ได้แก่ นักการเมือง บุคลากรในกระบวนการยุติธรรม

และสาธารณชน

3. กรณีศึกษาการกำาหนดนโยบายทางอาญาในประเทศไทยที่น่าสนใจ ได้แก่ กรณีศึกษาเรื่อง

ความพยายามในการแก้ปัญหายาเสพติดโดยใช้นโยบายแบบบูรณาการ กรณีศึกษาเรื่องนโยบายในการนำา

กระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในคดีอาญาในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการยุติธรรม กรณีศึกษา

เรื่องความพยายามในการนำาแนวคิดเรื่องยุติธรรมชุมชนมาใช้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพของกระบวนการ

ยุติธรรมของไทย กรณีศึกษาเรื่องความพยายามของคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำารวจในการนำาเสนอ

การปฏิรูประบบงานตำารวจ และ กรณีศึกษาเรื่องการกำาหนดนโยบายประธานศาลฎีกาภายหลังแยกศาลออก

จากกระทรวงยุติธรรม